วิธีสร้างสติอัตโนมัติ

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย MindSoul1, 10 ตุลาคม 2012.

  1. นิวรณ์

    นิวรณ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2008
    โพสต์:
    9,051
    ค่าพลัง:
    +3,456

    กลุ้มใจจริงๆ

    ตอนผมยกตัวอย่าง เอาที่ ตัวอย่างนะครับ อย่าไป พิจารณา เพ้อ ไปเรื่องอื่น

    ตอนคุณพิจารณา อ่านพระไตรปิฏก ศีลคุณมีปรกติไหม หรือว่า อ่านไปกิน
    ตับ ซดน้ำเมา คอยปิดบังอำพรางอากัปกริยา ฆ่าหนอนตำรา ลักขโมยสัทธรรม
    อยู่ตลอดเวลา

    ถ้าไม่มี เอ้า นั่นๆ ไม่ใช่ บุคคลมีศีลเหรอ

    ( มีศีลบริบูรณ์ ยกไว้ )
     
  2. chottana

    chottana เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 มีนาคม 2012
    โพสต์:
    176
    ค่าพลัง:
    +337
    พระองค์ก็ให้ เพียรเผ่ากิเลส นำอภิชฌา เเละ โทมนัส ออกด้วย

    การสำรวมอินทรีย์ เพราะงั้นถ้าเอาเเต่รักษา ทาง กาย กับ ทาง วาจา

    ทางจิตยังไม่ได้ทำเเล้วจะไหล่ไปสู่ธรรมได้ยังไง เเบบนี้ก็จะลอยคอติดกับผักบุ้ง หรือ ขึ้นเกาะเท่านั้นละ ไม่ได้ไปไหนหรอก
     
  3. นิวรณ์

    นิวรณ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2008
    โพสต์:
    9,051
    ค่าพลัง:
    +3,456
    อันนี้ คือสิ่งที่คุณกล่าว คุณกล่าว ปฏิเสธ ปราโมทย์ว่าไม่ได้เนื่องอะไรกับกาย

    แต่

    อันนี้ คือ ธรรมะของพระพุทธองค์อันควรไตร่ตรองให้เข้าใจด้วยปัญญา

    ถ้าไม่เข้าใจแล้ว ไปปฏิเสธว่า ปราโมทย์ไม่ใช่ลำดับเหตุผลของการ
    สงบกายใจ แล้วละก้อ ก็จะเรียกพวก เรียนแต่ไม่เข้าใจว่า ".............." ( ไม่ได้พูดหน่า )
     
  4. paetrix

    paetrix เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 เมษายน 2011
    โพสต์:
    2,478
    ค่าพลัง:
    +1,878
    พระวจนะ" ภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจงเจริญสมาธิมีคุณอันไม่มีประมาณ เป็นผู้มีปัญญารักษาตัว มีสติเฉพาะหน้าอยู่เถิด เมื่อเธอเจริญสมาธิมีคุณอันไม่ประมาณ เป็นผู้มีปัญญารักษาตัว มีสติเฉพาะหน้าอยู่ ญาน 5ประการย่อมเกิดขึ้นเฉพาะตนนั่นเทียว ห้าประการอย่างไรเล่า ห้าประการคือ .................ญานย่อมเกิดขึ้นเฉพาะตนนั่นเทียวดังนี้ว่า สมาธินี้ให้เกิดสุขในปัจจุบันด้วย มีสุขเป็นวิบากต่อไปด้วย..................ญานย่อมเกิดขึ้นเฉพาะตนนั่นเทียวดังนี้ว่า สมาธินี้ เป็นธรรมอันประเสริฐ ปราศจากอามิส........................ญานย่อมเกิดขึ้นเฉพาะตนนั่นเทียว ดังนี้ว่า สมาธินี้ คนชั่วถ่อยเสพไม่ได้................ญานย่อมเกิดขึ้นเฉพาะตนนั่นเทียว ดังนี้ว่าสมาธินี้ รำงับประณีต ได้แล้วด้วยปฎิปัสสัทธิ ถึงทับแล้วด้วยเอโกธิภาวะ(ความที่จิตมีธรรมอันเอก)ไม่ใช่บรรลุได้ด้วยเพราะการข่มขี่และการห้ามด้วยสสังขารธรรม.........ญานย่อมเกิดขึ้นเฉพาะตนนั่นเทียวดังนี้ว่า เรามีสติเข้าถึงสมาธินี้มีสติออกจากสมาธินี้.................ภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจงเจริญสมาธิมีคุณอันไม่ประมาณ เป็นผู้มีสติเฉพาะหน้า เมื่อเธอเจริญสมาธิอันไม่มีประมาณ เป้นผู้มีปัญญารักษาตัว มีสติเฉพาะหน้าอยู่ ญานห้าประการเหล่านี้ ย่อมเกิดขึ้นเฉพาะตนนั่นเทียว อย่างนี้แล:cool:
     
  5. 12345*

    12345* เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มิถุนายน 2006
    โพสต์:
    53
    ค่าพลัง:
    +332
    ไม่เอาดีกว่า เชิญสนทนากันต่อเถิด
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 13 ตุลาคม 2012
  6. paetrix

    paetrix เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 เมษายน 2011
    โพสต์:
    2,478
    ค่าพลัง:
    +1,878
    ......................ผมว่าคุณไปสรุป คำว่า นั่งคิดให้มันเป็นสิ่งที่ เลวไปหน่อย(หมายถึงทื่อทื่อ)...คนเราผู้ภาวนา ก็ต้องมี ศรัทธา โยนิโสมนสิการ ศิล สติสัมปชัญญะเป็นฐานอยู่แล้ว........ส่วนการไม่มีนิวรณ์5มารบกวนในเวลานั้น จิตย่อมกำลังดำเนินเข้าสู่ สิ่งที่เรียกว่า "สมาธิ"เพราะฉนั้น มันจึงเป็น สภาวะธรรมที่เกิดกับผู้ภาวนา....อย่างพระสูตรเรื่อง ญาน5(ความรู้ห้าอย่าง)ข้างบนนั้น...คือการตระหนัก คือการรู้ว่า มันเป็นอย่างนั้นอย่างนั้น...ไม่ใช่สภาวะแห่งการดำรงสมาธิอะไร คือความรู้นี้ยังคงอยู่ แม้คุณจะออกจากสมาธิ(หรือสิ่งที่คุณคิดว่าคุณออกมาจาก ณานอะไรก็แล้วแต่ ไม่ว่าจะ 3 2 1 ก็ตาม)เท่านั้น:cool:
     
  7. paetrix

    paetrix เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 เมษายน 2011
    โพสต์:
    2,478
    ค่าพลัง:
    +1,878
    ....................เพราะอย่างนั้น ญานห้าข้อนั้น ความรู้ห้าข้อนั้น เป็นฐานให้ผู้ภาวนา เห็นรส ของ ความมี ศิล สติ สมาธิ ถึงน้อมใจโยนิโสมนสิการในการ ภาวนา....ไม่งั้นก็ต้องกล่าวว่า...เมื่อวาน ซัดเหล้าเคล้านารี ฆ่าสัตว์ตะบัน..แต่วันนี้มานั่งเข้า ปฐมฌาน เสร็จแล้วออกจาก ฌาน ไป ตะลุยต่อ แล้วค่อยกลับมาทำใหม่อีกดีกว่า....คุณว่า ไง:cool:
     
  8. chottana

    chottana เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 มีนาคม 2012
    โพสต์:
    176
    ค่าพลัง:
    +337
    เออนี่นาย ที่นายว่ามา มันหมายถึง? คือ การที่รักษาศิล เเล้วการคิดๆ หลุดพ้นได้ อย่าพึงฟุ้งไปไหน การที่จะทำให้ปราโมทย์เกิดนั้นพระองค์ตรัสไว้สูตรอื่นอยู่เเล้ว เเต่นายมาสรุปเอามั่วๆเเบบนี้ ผู้เกียจคลาดเเบบคุณก็ได้ใจสิ ใช่มั้ย ไม่ต้องทำอะไรก็หลุดพ้นได้?
     
  9. chottana

    chottana เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 มีนาคม 2012
    โพสต์:
    176
    ค่าพลัง:
    +337


    ไอเรื่องนี้มันอยู่ที่ ไม่รู้เเล้วมาอวดรู้ไงครับ มันก้เลยเป็นอย่างนี้ มันก็ข่มใจอดใจที่จะเเสดงไม่ได้ อดใจที่จะอวดรู้ไม่ได้ไง

    พูดถึงญาณ5 เเต่ว่า ผมพูดกับ จขกท อย่างไหน คุณก็ทำต้องไปดูเอา ไม่ใช่อ ยากจะพูดอะไรก็พูด นึกอะไรได้ก็นึก
     
  10. chottana

    chottana เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 มีนาคม 2012
    โพสต์:
    176
    ค่าพลัง:
    +337

    ญาณ5

    เเล้วธรรมฐิติญาณ ที่เกิดก่อน ญานในนิพพาน หรือ อริยญายธรรม ญานในการรู้ ปฏจสมุปบาท คืออะไรละครับ?

    เพราะงั้นถึงพระองค์จะตรัสไว้ เเต่ก็ไม่ใช่เราจะเห็นด้วยญาณอะไร เป็นผู้วิเศษมีญาณเหาะเหินเดินอากาศได้ เพราะเป็นเพียงสุมมติบัญญัติ เกียวกับหลักธรรมที่เรารู้นั้นๆ ตอนนี่ผมยังก็ไม่เห็นญาณที่พระองค์ได้ตรัสไว้ เเต่เห็นเเค่ ความรู้ที่พระองค์ให้เท่านั้น เพราะงั้นคำว่าญาณก็อาจ จะเกียวกับนามธรรมที่มองไม่เห็นที่พระองค์ตรัส หรือ ความรู้ ที่เห็นด้วยปัญญาอันชอบตามจริง สภาวะธรรมที่เกิดขึ้นเเล้วนั้นๆ ก็เรียกว่าคือญาณ ความรู้ เเต่เรื่องฌาน ก็น่าไปสนใจศึกษาองค์ของฌานสะดีกว่า รู้ในสิ่งที่ควรรู้ การที่จะสิ้นอาสวะก็ต้องรู้เเก่นครับ รู้สัจจะ ไม่ใช่นำมาเป้นเพื่อความสุขส่วนตัวนะ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 13 ตุลาคม 2012
  11. chottana

    chottana เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 มีนาคม 2012
    โพสต์:
    176
    ค่าพลัง:
    +337
    ญาณ มันก็มีหลายเเบบนั่นละครับ

    บางพวกก็มีญาณเหมือนกันว่า ตอนนี้เราอยู่ ขณิกสมาธิ อุปจารสมาธิ

    ญาณที่รู้ว่า ฌาน1วิปัสสนาไม่ได้บ้าง มันก็หลายเเบบละครับ ความรู้มันไม่เหมือนกัน
    บางคนก็รู้ช่วงนี้ บางคนก็รู้ช่วงนี้ มันก็ทำให้เข้าใจกันได้คนละเเบบ
    ไม่งั้นปุถุชนก็หลุดพ้นกันหมดเเล้วใช่มั้ยละ ถ้าเข้าใจได้เหมือนกันหมด
     
  12. chottana

    chottana เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 มีนาคม 2012
    โพสต์:
    176
    ค่าพลัง:
    +337
    ญานย่อมเกิดขึ้นเฉพาะตนนั่นเทียว ดังนี้ว่าสมาธินี้ รำงับประณีต ได้แล้วด้วยปฎิปัสสัทธิ ถึงทับแล้วด้วยเอโกธิภาวะ(ความที่จิตมีธรรมอันเอก)ไม่ใช่บรรลุได้ด้วยเพราะการข่มขี่และการห้ามด้วยสสังขารธรรม

    ^

    ก็อยู่ที่จะเข้าใจยังไงกับ ฌาน5 ก็ไม่ใช่ว่าพระสูตรเดียวอยู่มัด
    ในกรณีของ ระงับด้วยปฎิปัสสัทธิ ถึงทับด้วย จิต มีธรรมอันเอก
    ไม่ใช่ด้วยการข่ม
    ประเด็นที่เค้าพูดเกียวกับอะไร?
    กระทู้นี้เค้าพูดถึงถึงปฐมฌาน เเล้วผมก็บอกเเล้วว่าอยู่ปฐมฌาน ใช่มั้ย
    งั้นผมก็มั่วตั้งเเต่เเรกใช้หรือไม่

    คำถามนี้จึงต้องไปถามผู้ยกมา ไม่ใช่มาลงกับผม ว่ามันเกียวอะไรกับกระทู้นี้?
     
  13. chottana

    chottana เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 มีนาคม 2012
    โพสต์:
    176
    ค่าพลัง:
    +337
    เพราะผมเข้าใจว่าเค้าพูดอยู่ในปฐมฌาน มันก็เป็นเหตุสุดวิสัยได้
    เเต่ก็ไม่น่าจะเป็นปัญหา ถ้าคนยกมาดูก่อนว่า เค้าพูดไปปฐมฌานเเล้ว
    หลังๆพึ้งจะเข้าใจว่ายังละเมอ ถึง ฌานจิตอยู่ เพราะงั้น เรื่องมันผ่านไปเเล้วก็ผ่านไปไม่ต้องขุดคุ้ยอะไรอีก
     
  14. นิวรณ์

    นิวรณ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2008
    โพสต์:
    9,051
    ค่าพลัง:
    +3,456
    เฮ้ย อย่าไปพิจารณา ที่อื่นสิคร้าบ

    ที่ผมยกหนะ คือ เอา สิ่งที่เกิดขึ้นกับคุณ สิคร้าบ

    ผมยก พระไตรปิฏกมา ก็ ทดลองให้คุณอ่าน

    ตอนคุณอ่าน จิตคุณมีศีล หรือไม่มี เนี่ยะ คุณก็ตอบมา

    จิตคุณมี ความเร่าร้อน "วิปฏิสาร" หรือเปล่า ถ้า สงบรำงับ
    คุณก็แค่ ทวนกลับไปว่า ที่สงบรำงับ เพราะ เกิดความความ
    ปราโมทย์ที่ได้อ่านสัทธรรม แล้ว เข้าใจ หรือเปล่า

    ถ้าไม่เข้าใจ ก็แน่นอนหละ จะต้องเกิดสิ่งที่เรียกว่า "..........." ( ไม่ได้พูดนะ )

    เนี่ยะๆ ผมเอาสิ่งที่เกิดขึ้นกับคุณนั่นแหละ ไม่ได้ไปกล่าว อะไรที่ไปไกล
    กว่านี้เลย ถ้าไกลกว่านี้ มันก็เป็นเรื่อง "เพ้อเจ้อ" สิคร้าบ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 13 ตุลาคม 2012
  15. นิวรณ์

    นิวรณ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2008
    โพสต์:
    9,051
    ค่าพลัง:
    +3,456
    อ้อ อีกอย่างนะ ผมยังไม่ได้กล่าวสักคำเลยน๊า ว่า ใช้คิดบรรลุธรรม เอา

    เนี่ยะ ไม่พิจารณาให้ดีๆ ของมันมี อาหาร ไม่ใช่ไม่มีอาหาร

    ของมันมี ปัจจัยการ ไม่ใช่ไม่มี ปัจจัยการ

    การยกการเห็น เขายกที่การเห็น ปัจจัยการมันเกิดดับ ไปตามธรรมดา

    จนเป็น สิ่งนี้มี สิ่งนี้จึงมี อิทัปปจัยยตา

    เนี่ยะ ....มันต้องพิจารณาไปที่ สิ่งที่เกิดขึ้นตามความเป็นจริง ด้วยจิตตั้ง
    มั่นเป็นกลาง ....

    ไม่ใช่มานั่ง พิสูจน์ ตัวคำพูด หรือ ตัวอักษร ที่สื่อสารกันแจ้วๆ นี้ นะ

    คนละเรื่องนะคุณ หากเสวนาธรรมไม่เป็น ฟังธรรมไม่เป็น ก็ไม่แปลก
    หละ เดี๋ยวก็ เอะนั่นขาดหรือเปล่า นู้นขาดหรือเปล่า ลืม หรือ ไม่รอบ
    ครอบเรื่องนั้นเรื่องนี้อะเป่า

    โถ่ ป่านนี้แล้ว ยังเห็น มรรคเป็นหนึ่งเดียวไม่ได้ ก็อย่ารีบร้อนมาเสวนา
    เลยครับ รับรองว่า มันมีแต่ มั่ว เอะ เอ๊อะ อะ ไปเรื่อย ไม่จบ

    แต่ถ้าเห็น มรรคมีหนึ่งเดียวได้ จบเลย ไอ้ที่ เอะ เอ๊อะ อะ ลืมนั่น ลืมนี่
    ประมาทนั่น ประมาทนี่ หรือเปล่า มันจะรู้เลยว่า ทำครบหมดแล้ว

    อย่างกรณีแผ่เมตตาเพื่อวัตถุประสงค์บางประเภท หากเห็น มรรคมีหนึ่งเดียว
    เขาใช้จิตที่ถึงไตรสรณะคม กระทำไว้ในจิต เห็นว่ามีอยู่ เท่านั้น จบ !!!
     
  16. MindSoul1

    MindSoul1 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กันยายน 2012
    โพสต์:
    295
    ค่าพลัง:
    +496
    กระจายซึ่งผัสสะ

    ภิกษุทั้งหลาย ! วิญญาณย่อมมีขึ้น เพราะอาศัยธรรมสองอย่าง.
    สองอย่างอะไรเล่า ? สองอย่างคือ,

    ภิกษุทั้งหลาย !
    เพราะอาศัยซึ่งจักษุด้วย ซึ่งรูปทั้งหลายด้วย จักขุวิญญาณ จึงเกิดขึ้น.
    จักษุ เป็นสิ่งที่ไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นไปโดยประการอื่น;
    รูปทั้งหลาย เป็นสิ่งที่ไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นไปโดยประการอื่น :
    ธรรมทั้งสองอย่างนี้แล เป็นสิ่งที่หวั่นไหวด้วย อาพาธด้วย
    ไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นไปโดยประการอื่น;
    จักขุวิญญาณ เป็นสิ่งที่ไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นไปโดยประการอื่น;
    เหตุอันใดก็ตาม ปัจจัยอันใดก็ตาม เพื่อความเกิดขึ้นแห่งจักขุวิญญาณ,
    แม้เหตุอันนั้น แม้ปัจจัยอันนั้น ก็ล้วนเป็นสิ่งที่ไม่เที่ยง มีความแปรปรวน
    มีความเป็นไปโดยประการอื่น.

    ภิกษุทั้งหลาย ! จักขุวิญญาณเกิดขึ้นแล้ว
    เพราะอาศัยปัจจัยที่ไม่เที่ยงดังนี้ จักขุวิญญาณเป็นของเที่ยงมาแต่ไหน.


    ภิกษุทั้งหลาย ! ความประจวบพร้อม ความประชุมพร้อม ความมาพร้อมกัน
    แห่งธรรมทั้งหลาย (จักษุ+รูป+จักขุวิญญาณ) ๓ อย่างเหล่านี้ อันใดแล;
    ภิกษุทั้งหลาย ! อันนี้เราเรียกว่าจักขุสัมผัส.

    ภิกษุทั้งหลาย ! แม้จักขุสัมผัสก็เป็นสิ่งที่ไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นไปโดยประการอื่น.
    เหตุอันใดก็ตาม ปัจจัยอันใดก็ตาม เพื่อความเกิดขึ้นแห่งจักขุสัมผัส,
    แม้เหตุอันนั้น แม้ปัจจัยอันนั้น ก็ล้วนเป็นสิ่งที่ไม่เที่ยง มีความแปรปรวน
    มีความเป็นไปโดยประการอื่น.

    ภิกษุทั้งหลาย ! จักขุสัมผัสเกิดขึ้นแล้ว เพราะอาศัยปัจจัยที่ไม่เที่ยงดังนี้
    จักขุสัมผัสจักเป็นของเที่ยงมาแต่ไหน.

    (ในกรณีแห่งโสตวิญญาณ, ฆานวิญญาณ, ชิวหาวิญญาณ, กายวิญญาณ, ก็มีนัยเดียวกัน).

    ภิกษุทั้งหลาย !
    เพราะอาศัยซึ่งมโนด้วย ซึ่งธรรมารมณ์ทั้งหลายด้วย มโนวิญญาณจึงเกิดขึ้น.
    มโนเป็นสิ่งที่ไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นไปโดยประการอื่น;
    ธรรมารมณ์ทั้งหลายเป็นสิ่งที่ไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นไปโดยประการอื่น :
    ธรรมทั้งสองอย่างนี้แล เป็นสิ่งที่หวั่นไหวด้วย อาพาธด้วย
    ไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นไปโดยประการอื่น;

    มโนวิญญาณ เป็นสิ่งที่ไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นไปโดยประการอื่น;
    เหตุอันใดก็ตาม ปัจจัยอันใดก็ตาม เพื่อความเกิดขึ้นแห่งมโนวิญญาณ,
    แม้เหตุอันนั้น แม้ปัจจัยอันนั้น ก็ล้วนเป็นสิ่งที่ไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มี
    ความเป็นไปโดยประการอื่น. ภิกษุทั้งหลาย ! มโนวิญญาณเกิดขึ้นแล้ว
    เพราะอาศัยปัจจัยที่ไม่เที่ยงดังนี้ มโนวิญญาณเป็นของเที่ยงมาแต่ไหน.

    ภิกษุทั้งหลาย ! ความประจวบพร้อม ความประชุมพร้อม ความมาพร้อมกัน
    แห่งธรรมทั้งหลาย (มโน+ธรรมารมณ์+มโนวิญญาณ) ๓ อย่างเหล่านี้อันใดแล;

    ภิกษุทั้งหลาย ! อันนี้เราเรียกว่า มโนสัมผัส.

    ภิกษุทั้งหลาย !
    แม้มโนสัมผัส ก็เป็นสิ่งที่ไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นไปโดยประการอื่น.
    เหตุอันใดก็ตาม ปัจจัยอันใดก็ตาม เพื่อความเกิดขึ้นแห่งมโนสัมผัส,
    แม้เหตุอันนั้น แม้ปัจจัยอันนั้น ก็ล้วนเป็นสิ่งที่ไม่เที่ยง มีความแปรปรวน
    มีความเป็นไปโดยประการอื่น.

    ภิกษุทั้งหลาย ! มโนสัมผัสเกิดขึ้นแล้ว
    เพราะอาศัยปัจจัยที่ไม่เที่ยงดังนี้ มโนสัมผัสจักเป็นของเที่ยงมาแต่ไหน.

    ภิกษุทั้งหลาย !
    บุคคลที่ผัสสะกระทบแล้วย่อมรู้สึก (เวเทติ),
    ผัสสะกระทบแล้วย่อมคิด (เจเตติ),
    ผัสสะกระทบแล้วย่อมจำได้หมายรู้ (สญฺชานาติ) :
    แม้ธรรมทั้งหลายอย่างนี้เหล่านี้ ก็ล้วนเป็นสิ่งที่หวั่นไหวด้วย อาพาธด้วย
    ไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นไปโดยประการอื่น.

    สฬา. สํ. ๑๘/๘๕/๑๒๔-๗.
     
  17. Tboon

    Tboon เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    2,094
    ค่าพลัง:
    +3,424
    ....................................... อภัยทาน
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 15 ตุลาคม 2012
  18. MindSoul1

    MindSoul1 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กันยายน 2012
    โพสต์:
    295
    ค่าพลัง:
    +496
    หมดตัวตน ก็หมดเรื่องผูกพัน

    ภิกษุ ท.! สาวกของพระอริยเจ้าผู้ได้สดับแล้ว ได้เห็นบรรดาพระอริยเจ้า
    เป็นผู้ฉลาดในธรรมของพระอริยเจ้า ได้ถูกแนะนำ ในธรรมของพระอริยเจ้า.
    ได้เห็นหมู่สัตบุรุษ เป็นผู้แลาดในธรรมของสัตบุรุษ โดยถูกแนะนำในธรรม
    ของสัตบุรุษ :

    (๑) ท่านย่อม ไม่ตามเห็นรูป โดยความเป็นตัวตน
    ทั้งไม่ตามเห็นว่าตนมีรูปด้วย ไม่ตามเห็นว่ารูป มีอยู่ในตนด้วย
    ไม่ตามเห็นว่าตน มีอยู่ในรูปด้วย;

    (๒) ท่านย่อม ไม่ตามเห็นเวทนา โดยความเป็นตัวตน
    ทั้งไม่ตามเห็นว่าตนมีเวทนาด้วย ไม่ตามเห็นว่าเวทนา มีอยู่ในตนด้วย
    ไม่ตามเห็นว่าตน มีอยู่ในเวทนาด้วย;

    (๓) ท่านย่อม ไม่ตามเห็นสัญญา โดยความเป็นตัวตน
    ทั้งไม่ตามเห็นว่าตนมีสัญญาด้วย ไม่ตามเห็นว่าสัญญา มีอยู่ในตนด้วย
    ไม่ตามเห็นว่าตน มีอยู่ในสัญญาด้วย;

    (๔) ท่านย่อม ไม่ตามเห็นสังขาร โดยความเป็นตัวตน
    ทั้งไม่ตามเห็นว่าตนมีสังขารด้วย ไม่ตามเห็นว่าสังขาร มีอยู่ในตนด้วย
    ไม่ตามเห็นว่าตนมีอยู่ในสังขารด้วย;

    (๕) ท่านย่อม ไม่ตามเห็นวิญญาณ โดยความเป็นตัวตน
    ทั้งไม่ตามเห็นว่าตนมีวิญญาณด้วย ไม่ตามเห็นว่าวิญญาณ มีอยู่ในตนด้วย
    ไม่ตามเห็นว่าตน มีอยู่ในวิญญาณด้วย;

    ภิกษุ ท .! สาวกของพระอริยเจ้า ผู้ได้สดับ แล้วเช่นนี้ นี่แล
    เราตถาคตย่อมเรียกผู้นักนั้นว่า

    ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกคือ รูป
    ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกคือ เวทนา
    ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกคือ สัญญา
    ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกคือ สังขาร
    ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกคือ วิญญาณ
    ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกใด ๆ ทั้งภายในภายนอก,
    เป็นผู้มีปรกติมองเห็นฝั่งนี้ (คือวัฏฏสงสาร)
    เป็นผู้มีปรกติมองเห็นฝั่งโน้น (คือนิพพาน) ;

    เราตถาคตจึงกล่าวว่า สาวกของพระอริยเจ้าผู้นั้น
    เป็นผู้หลุดพ้นแล้วจากทุกข์ ดังนี้แล.

    - ขนฺธ. สํ.๑๗/๒๐๑/๓๐๕.
     
  19. deemonster

    deemonster เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 มกราคม 2007
    โพสต์:
    0
    ค่าพลัง:
    +805
    พี่ที ผมสงสัยว่า ในองค์ภาวนา เราสามารถไปรู้ว่านี่คือโลภะ ราคะ โทสะ ได้เหรอครับ
    ไม่ค่อยเข้าใจที่พีทีกล่าวครับ
    ระลึกได้ หมายถึงมีสติ ไหมครับ
    แล้ว สติรู้อยู่กับปัจจุบันขณะตามความเป็นจริง กับ ช่วงต้นที่กล่าว เวลาภาวนาจริง ๆ (ทุกเวลาที่ระลึกได้นั่นแหละ) เหมือนหรือต่างกันอย่างไรครับ
     
  20. นิวรณ์

    นิวรณ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2008
    โพสต์:
    9,051
    ค่าพลัง:
    +3,456
    ไม่ต้องไป คุยหรอก จิตตีนนท์

    พ่อแก ลากออกไปเรื่องของใครก็ไม่รู้

    ไม่สนใจประโยชน์ที่จะเกิด ตามความเป็นจริง แก่ เจ้าของกระทู้

    ถ้าไปเสวนากับ พวกเลวๆ แบบนี้ มันก็ ลากไปได้เรื่อยๆ แหละ

    กระทู้นี้ ไม่ใช่ว่า อยู่ดีๆ จขกท มาตั้งลอยๆ

    มันมีการปรารภ การภาวนา ก่อนหน้า แล้ว พอหยอดให้เห็น ก้าวข้างหน้า

    แล้วเขา เข้าใจ เกิดความปราโมทย์ในธรรม จึงได้เกิดกระทู้นี้

    เนี่ยะ คนมี่เขาใส่ใจ เขาก็จะพิจารณาตามๆกันมา อย่าง สหายร่วมทุกข์

    มาใช่ มาทำหล่อ กล่าวนั้นกล่าวนี้ สะเปะ สะปะ

    มะอึง กล่าวถูก แล้วมันมี ประโยชน์กับ ใคร !! ไม่ทราบ ไหนหละ

    กาลสมัยที่สมควรกล่าว .... ไอ้พวก ศึกษาธรรมเตรียมไปเปิด
    คอสสอนลอยๆ เนี่ยะ เหลวไหล !!
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 13 ตุลาคม 2012

แชร์หน้านี้

Loading...