พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    เป็นไงครับเซียนจิกซอยังถอยเลยครับ5555(eek)
     
  2. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    เกือบลืมท่านปา-ทานวันนี้ผมจาได้หินมาแล้วครับ เจอกันคราวหน้าผมจามอบให้พร้อมวิธีดูเบื้องต้นครับ(*)
     
  3. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    การเปรียบเทียบ พ.ศ. ร.ศ. ค.ศ.

    การนับเวลาทางประวัติศาสตร์
    http://www.pramot.com/stuweb/m4_249/dee/home.htm

    การนับเวลาและการแบ่งช่วงเวลาทางประวัติศาสตร
    ประวัติศาสตร์ คือ การศึกษาเรื่องราวต่างๆ ในอดีตโดยมีความสัมพันธ์ก่อให้เกิดความง่ายต่อการทำความเข้าใจในเหตุการณ์ต่างๆ โดยมีระยะเวลาเป็นตัวกำหนดในการศึกษาเรื่องราว
    การนับเวลาและการเปรียบเทียบศักราช
    ในการศึกษาเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ มักนิยมใช้การระบุช่วงเวลาเพื่อให้ทราบถึงเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น โดยจะแบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ การนับเวลาแบบไทย และการนับเวลาแบบสากล

    การนับเวลาแบบไทย
    ในประวัติศาสตร์ไทย จะมีการบันทึกเรื่องราวต่างๆ โดยมีการอ้างอิงถึงการนับช่วงเวลาแตกต่างกันไป ตามแต่ละท้องถิ่นมีดังนี้
    1.พุทธศักราช(พ.ศ.)
    เป็นการนับเวลาทางศักราชในกลุ่มผู้นับถือพระพุทธศาสนา โโยเริ่มนับตั้งแต่พระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธ์ปรินิพพาน ให้นับเป็นพุทธศักราชที่1 ทั้งนี้ประเทศไทยจะนิยมใช้การนับเวลาแบบนี้ โดยเริ่มใช้ตั้งแต่ครั้งสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช จนมาเป็ฯที่แพร่หลายและระบุใช้กันอย่างเป็นทางการในสมัยพระบาท สมเด็จพระมงกฎเกล้าเจ้าอยู่หัว(รัชกาลที่ 6) ในปีพุทธศักราช 2455
    2. มหาศักราช(ม.ศ.) การนับศักราชนี้จะพบในหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในสมัยสุโขทัย และอยุธยาตอนต้นโดยคิดขึ้นจากกษัตริย์ของอินเดีย (พระเจ้ากนิษกะ) ซึ่งพ่อค้าอินเดียและพวกพราหมณ์นำเข้ามาเผยแพร่ในเวลาติดต่อการค้ากับไทยในสมัยโบราณ จะมีปรากฎในศิลาจาลึกเพื่อบันทึกเรื่องราวเหตุกาณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น ซึ่งถือว่าปีมหาศักราชที่1 จะตรงกับปีพุทธศักราช 621
    3.จุลศักราช ( จ.ศ.)
    จัดตั้งขึ้นโดยสังฆราชมนุโสรหัน แห่งอาณาจักรพุกาม เมื่อปีพุทธศักราช 1181โดยไทยรับเอาวิธ๊การนับเวลานี้มาใช้ในสมัยอยุธยา เพื่อการคำนวณทาง โหราศาสตร์ ใช้บอกเวลาในจารึก ตานาน พระราชพงศาวดาร จดหมายเหตุ ต่างๆ จนมาถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว(รัชกาลที่5 ) จึงเลิกใช
    4.รัตนโกสินทร์ศก (ร.ศ) การนับเวลาแบบนี้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว(รัชกาลที่5)ทรงตั้งขึ้น
    ในปีพุทธศักราช2432
    โดยกำหนดให้กำหนดให้นับปีที่พระบาทสมเด็จพระพุทะยอดฟ้าจฬาโลกมหาราช สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อปีพุทธศักราช 2325 เป็นรัตนโกสินทร์ศกที่1 และให้เริ่มใช้ศักราชนี้ในทางราชการตั้งแต่วันที่1 เมษายน ร.ศ.108 (พ.ศ.2432) เป็นต้นมา

    การนับเวลาแบบสากล
    1. คริสต์ศักราช (ค.ศ. )
    เป็นการนับเวลาทางศักราชของผู้นับถือศาสนาคริสต์ ซึ่งถือเป็นการนับเวลาที่นิยมใช้กันมาทั่วโลก โดยคริสต์ศักราชที่1 เริ่มนับตั้งแต่ปีที่พระเยซูคริสต์ประสูต(ตรงกับ พ.ศ.543)และถือระยะเวลาที่อยู่ก่อนคริสต์ศักราชลงไป จะเรียกว่าสมัยก่อนคริสต์ศักราชหรือก่อนคริสต์กาล
    2. ฮิจเราะห์ศักราช (ฮ.ศ.) เป็นการนับเวลาทางศักราชของผู้นับถือศาสนาอิสลามโดยอาศัยปีที่
    ท่านนบีมูฮัมหมัดได้อพยพจากเมืองเมกกะไปยังเมืองมาดินา เป็นปีเริ่มต้นของศักราชอิสลามซึ่งตรงกับวันที่ 6 กรกฏาคม ค.ศ. 622

    อย่างไรก็ตาม การนับศักราชแบบต่างๆ ในบางครั้งบางเหตุการณ์ก็ไม่ได้ระบุความชัดเจนไว้ แต่อาจกล่าวการนับเวลาอย่างกว้างๆ ไว้ ซึ่งนิยมเรียกกันใน 3 รูปแบบ ดังนี้

    ทศวรรษ (decade) คือ รอบ 10 ปี นับจากศักราชที่ลงท้ายด้วย 1 ไปจนถึงศักราชที่ลงท้ายด้วย 0 เช่น ทศวรรษที่ 1990 ตามคริสต์ศักราช หมายถึง ค.ศ.1991-2000

    ศตวรรษ (century) คือ รอบ 100ปี นับจากศักราชที่ลงท้าย 1 ไปจนครบ 100ปีในศักราชที่ลงท้สยด้วย00 เช่น พุทธศตวรรษที่26 คือ พ.ศ.2501-2600

    สหัสวรรษ (millenium) คือ รอบ 1000 ปี ศักราชที่ครบแต่ละสหัสวรรษจะลงท้ายด้วย000 เช่น สหัสวรรษที่ 2 นับตามพุทธศักราช คือ พ.ศ. 1001-2000

    หลักเกณฑ์การเรียบเทียบศักราชในระบบต่างๆ
    การนับศักราชที่แตกต่างกัน จะทำให้เกิดความสับสนและไม่ชัดเจนในการศึกษาเรื่องราวประวัติศาสตร์ ดั้งนั้น การเปรียบเทียบศักราชให้เป็นแบบเดียวกัน จะช่วยให้สามารถศึกษาเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ได้เข้าใจมากขึ้น รวมทั้งทำให้ทราบว่าในช่วงศักราช หรือช่วงเวลาเดียวกันในแต่ละภาคของโลก เกิดเหตุการณณ์ สำคัญๆ ทางประวัติศาสตร์ อะไรบ้าง ซึ่งการเปรียบเทียบศักราชสามารถกระทำได้ง่ายๆ โดยนำตัวเลขผลต่าง ของอายุศักราชแต่ศักราชมาบวกหรือลบกับศักราชที่เราต้องการตามหลักเกณฑ์ดังนี้
    <TABLE borderColor=#ff5f55 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=600 align=center bgColor=#ffccff border=3><TBODY><TR bgColor=#ffbfff><TH class=style70 scope=row width=235>ม.ศ.+621=พ.ศ.

    </TH><TD width=245>พ.ศ.-621=ม.ศ.</TD></TR><TR bgColor=#ffbfff><TH class=style72 scope=row>
    จ.ศ.+1181=พ.ศ.


    </TH><TD>พ.ศ.-1181=จ.ศ.</TD></TR><TR bgColor=#ffbfff><TH class=style74 scope=row>
    ร.ศ.+2325=พ.ศ.


    </TH><TD>พ.ศ.-2325=ร.ศ.</TD></TR><TR bgColor=#ffbfff><TH class=style76 scope=row>
    ค.ศ.+543=พ.ศ.


    </TH><TD>พ.ศ.-543=ค.ศ.</TD></TR><TR bgColor=#ffbfff><TH class=style78 scope=row>
    ฮ.ศ.+621=ค.ศ


    </TH><TD>ค.ศ.-621=ฮ.ศ.</TD></TR><TR bgColor=#ffbfff><TH class=style80 scope=row>
    ฮ.ศ.+1164=พ.ศ.


    </TH><TD>พ.ศ.-1164=ฮ.ศ.</TD></TR></TBODY></TABLE>​
     
  4. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    คลังปัญญาไทย
    http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/ศักราช

    ศักราช ช่วงเวลาที่จัดตั้งขึ้นตามการอ้างอิงของช่วงเวลานั้น โดยแบ่งได้ตามการอ้างอิงหรือการเรียก


    <TABLE class=toc id=toc summary=สารบัญ><TBODY><TR><TD>สารบัญ

    [ซ่อนสารบัญ]
    </TD></TR></TBODY></TABLE><SCRIPT type=text/javascript> if (window.showTocToggle) { var tocShowText = "แสดงสารบัญ"; var tocHideText = "ซ่อนสารบัญ"; showTocToggle(); } </SCRIPT>
    [แก้ไข] ความหมายของศักราช

    ศักราช หมายถึง ปีที่กำหนดเอาเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่งซึ่งสำคัญมาก สำหรับจดจารึกไว้ ศักราชที่กำหนดไว้ มี พุทธศักราช รัตนโกสินทร์ศักราช (รัตนโกสินทร์ศก) จุลศักราช และคริสต์ศักราช ศักราชเหล่านี้เริ่มต้นนับแตกต่างกัน จึงต้องมีการเทียบศักราช
    [แก้ไข] ความเป็นมาของศักราช

    หนังสือไทยโบราณทั้งหลาย เช่น หนังสือพงศาวดาร ประกาศกฏหมายเก่า หรือ ตำราต่างๆ ฯลฯ มักลงศักราช ไว้ต่างๆ กัน สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น เมื่อจะลงศักราชบอกเวลาเป็นปี นิยมใช้ "จุลศักราช" หนังสือที่ตึพิมพ์ตั้งแต่พุทธศักราช 2431 หรือในตอนกลางรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เช่น หนังสือราชการ ตำราและ แบบเรียน ฯลฯ ใช้ " รัตนโกสินทรศก " แทน "จุลศักราช" ทั้งสิ้น แต่การลงศักราชเป็น"รัตนโกสินทรศก" นั้น กระทำอยู่ได้ไม่นานนัก เพราะปรากฏว่าตั้งแต่พุทธศักราช 2455 เป็นต้นมา หนังสือราชการและสิ่งพิมพ์ต่างๆ หันมาใช้ "พุทธศักราช" แทน "รัตนโกสินทรศก" ตราบจนทุกวันนี้ ประโยชน์ของการเปรียบเทียบศักราชเป็นสิ่งควรจำสำหรับใช้ประโยชน์ในการศึกษาค้นคว้าตำราเก่า
    [แก้ไข] ศักราชตามชื่อเรียก

    [แก้ไข] พุทธศักราช (พ.ศ.)

    ประเทศไทยเริ่มใช้พุทธศักราชในหมู่พระสงฆ์ ก่อนที่รัชกาล 6 จะเกล้าให้นำมาใช้แทน ร.ศ. ปีพุทธศักราชของไทย ถือกำเนิดโดยให้วันปรินิพพานเป็นปี พ.ศ. 0 แต่ ศรีลังกา พม่า ลาว และเขมร นับมากกว่าเรา 1 ปี คือนับเอาวันปรินิพพานเป็นปีที่ 1 ในปัจจุบันมีค้นพบว่าพุทธศักราช มีความคลาดเคลื่อนไปจากความเข้าใจข้างต้น 60 ปี นั่นคือ เขาเชื่อกันว่า พระพุทธเจ้าปรินิพพานปี พ.ศ. 60 มิใช่ พ.ศ. 0
    พุทธศักราชและคริสต์ศักราช
    ในสมัยก่อน ปฏิทินสุริยคติไทยและปฏิทินสุริยคติสากล นับเดือนที่เปลี่ยนศักราชไม่เหมือนกัน กล่าวคือ ไทยจะเปลี่ยนศักราชในวันที่ 1 เมษายน ในขณะที่สากลจะเปลี่ยนในวันที่ 1 มกราคม ทำให้พุทธศักราชและคริสต์ศักราชคาบเกี่ยวกัน โดยที่สามเดือนแรกในคริสต์ศักราช (มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม) จะตรงกับพุทธศักราชก่อนหน้า เช่น ค.ศ. 1900 สามเดือนแรกจะตรงกับ พ.ศ. 2442 และเดือนอื่นๆ จะตรงกับ พ.ศ. 2443
    ในสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี ได้ประกาศเปลี่ยนวันขึ้นปีใหม่ไปเป็น 1 มกราคม ให้เทียบเท่ากับสากล โดยเริ่มใช้ตั้งแต่ พ.ศ. 2484 เป็นต้นไป จึงทำให้ พ.ศ. 2483 เหลือเพียงแค่ 9 เดือน (เมษายน - ธันวาคม)
    [แก้ไข] คริสตศักราช (ค.ศ.)

    เริ่มนับเอาตั้งแต่ปีที่พระเยซูคริสต์เกิดเป็น ค.ศ. 1 ซึ่งเวลานั้น พ.ศ. มีมาแล้วนับได้ 543 ปี ดังนั้นวันคริสตมาสในปี 2001 จึงครบรอบวันประสูติ 2000 ปี โดยมีวันที่ 1 มกราคมของทุกปี เป็นวันขึ้นปีใหม่
    การหาว่าวันปีใหม่เป็นวันอะไร
    หากต้องการทราบว่าวันขึ้นปีใหม่ตรงกับวันอะไร คำนวณได้ด้วยการเอาปี ค.ศ. ทีต้องการมาลบด้วย 1 แล้วหารด้วย 28 หากเหลือเศษ
    • 1, 7, 18, 24 เป็น อาทิตย์
    • 2, 8, 13, 19 เป็น จันทร์
    • 3, 14, 20, 25 เป็น อังคาร
    • 4, 9, 15, 26 เป็น พุธ
    • 5, 11, 22, 0 เป็น ศุกร์
    • 6, 12, 17, 23 เป็น เสาร์
    พุทธศักราชและคริสต์ศักราช
    หากต้องการทราบว่า พ.ศ. หนึ่งเป็น ค.ศ. ใดให้เอา 543 มาลบจาก พ.ศ. ก็จะเป็น ค.ศ. ในตรงกันข้ามหากต้องการทราบว่า ค.ศ. หนึ่งเป็น พ.ศ. ใดให้เอา 543 มาบวก
    [แก้ไข] มหาศักราช (ม.ศ.)

    หรือที่ชาวอินเดียเรียกว่า ศกาพทะ หรือ ศาลิวาหนกาล แปลว่า ปีของชาวศกะ (Scythian) เริ่มนับตั้งแต่ปีที่พระเจ้าศาลิวาหนะ หรือบางตำนานเรียกว่า พระเจ้ากนิษกะ แห่งศกราชวงศ์ ทรงมีชัยชนะเหนือแคว้นโดยรอบ เป็นมหาศักราชที่ 1 มีวิธีการนับวันเดือนปีจะเป็นไปตามสุริยคติ โดยวันขึ้นปีใหม่ วันที่ 1 เมษายนของทุกปี เกิดก่อนพุทธศักราช 621 ปี
    [แก้ไข] จุลศักราช (จ.ศ.)

    เป็นการนับเดือนปีเป็นแบบทางจันทรคติ เริ่มนับ จ.ศ. 1 เมื่อปี พ.ศ. 1182 โดยนับเอาวันที่พระบุพโสระหัน สึกออกจากการเป็นพระมาเพื่อชิงราชบัลลังก์เป็นวันแรกของศักราช ในสมัยโบราณถือตามสุริยคติ (คัมภีร์สุริยยาตร) ใช้วันเถลิงศก (ปัจจุบันตกราว 16 เมษายน) เป็นวันปีใหม่ แต่ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ โปรดเกล้าให้ถือตามจันทรคติ คือใช้วันแรม 15 ค่ำ เดือน 4 ของทุกปีเป็นวันสิ้นปี
    ในเอกสารโบราณของไทยจำนวนไม่น้อย นิยมอ้างเวลา โดยใช้จุลศักราช โดยใช้ควบคู่กับปีนักษัตร หรือ ระบุเฉพาะเลขตัวท้ายของจุลศักราช และปีนักษัตร ทำให้สามารถระบุปี ได้ในช่วงกว้างถึงรอบละ 60 ปีเลยทีเดียว
    การเรียกศกตามเลขท้ายปี
    ในระบบการเรียกศกตามเลขท้ายปีจุลศักราช นิยมเรียกด้วยศัพท์บาลี ดังนี้
    • ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข 1 เรียก "เอกศก"
    • ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข 2 เรียก "โทศก"
    • ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข 3 เรียก "ตรีศก"
    • ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข 4 เรียก "จัตวาศก"
    • ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข 5 เรียก "เบญจศก"
    • ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข 6 เรียก "ฉศก"
    • ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข 7 เรียก "สัปตศก"
    • ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข 8 เรียก "อัฐศก"
    • ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข 9 เรียก "นพศก"
    • ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข 0 เรียก "สัมฤทธิศก"
    [แก้ไข] รัตนโกสินทร์ศก (ร.ศ.)

    เริ่มใช้ในสมัยรัชกาลที่ 5 ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2432 เป็นวันที่ 1 เมษายน ร.ศ. 108 โดยถือเอาปีที่ตั้งกรุงเทพฯ เป็นเมืองหลวง เป็นปีรัตนโกสินทร์ศกที่ 1 และใช้อยู่จนถึง ร.ศ. 131 เป็น ร.ศ. สุดท้าย หรือเพียง 23 ปี ก็เลิกใช้ไป เพราะเห็นว่าไม่สะดวกในการอ้างอิงปีในประวัติศาสตร์ เช่น กล่าวว่า ไทยเสียกรุงครั้งที่ 2 ในปีที่ 15 ก่อน ร.ศ. เป็นต้น
    [แก้ไข] กลียุคศักราช หรือกลียุคกาล (ก.ศ.)

    เป็นศักราชจากชมพูทวีป และเป็นศักราชที่เก่าที่สุดที่ปรากฏในบันทึกของไทย เกิดก่อนพุทธศักราชถึง 2558ปี
    [แก้ไข] วิกรมาทิตย์ศักราช (ว.ศ.)

    หรือวิกรมสังวัตเป็นศักราชจากชมพูทวีป แต่ไม่มีปรากฏในบันทึกของไทย เกิดหลังพุทธศักราช 486 ปี
    [แก้ไข] ศักราชพระเจ้าเหลือง (ล.ศ.)

    เป็นศักราชที่ถือกำเกิดโดยพระเจ้าเหลืองมหาราช ของดินแดนที่เป็นประเทศจีนในปัจจุบัน เกิดก่อนพุทธศักราช 2154 ปี ในปัจจุบันมีข้อถกเถียงว่า ตัวเลขของศักราชนี้อาจมีค่ามากเกินไป 60 ปี เช่นเดียวกับ พ.ศ. และหรืออาจนับเอา ล.ศ. 0 เป็นปีตั้งศักราชด้วยก็ได้

    *** ศักราชทุกชนิดไม่มีศักราช 0 เช่นก่อนค.ศ. 1 คือ 1 ปีก่อนคริสตกาล เป็นต้น


    ขอขอบคุณข้อมูลจาก
    - สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
    - วิกิพีเดีย
    - SchoolNet Thaniland
    ภาพประกอบทางอินเทอร์เน็ต
    <!-- Saved in parser cache with key panyathai_wiki:pcache:idhash:3444-0!1!0!!th!2 and timestamp 20080425023327 -->Retrieved from "http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/ศักราช"
    ประเภทของหน้า: ความรู้ทั่วไป
     
  5. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    อ่า คืนนี้คงนั่งมึน นั่งงงงงงงงอีกรอบ

    ต้องรีบเคลียร์ให้เรียบร้อย งานใหญ่จริงๆ

    .
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ nongnooo [​IMG]
    เป็นไงครับเซียนจิกซอยังถอยเลยครับ5555(eek)
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    เมื่อคืนนั่งพิมพ์ นั่งหัวเราะไปครับ ครั้งหลังเรียกมาให้ช่วย ไม่มาเลยครับ บอกผมว่า ไม่ดูแล้ว เวียนหัว ดูหนังดีกว่า เมื่อคืนเซียนถอนกรูดเลยครับ หุหุหุ

    ผมก็เลยไปนั่งมึนอยู่คนเดียว แต่ได้เจอสิ่งที่ผมคิดว่า น่าจะเป็นสิ่งที่พิเศษครับ

    วันเสาร์นี้รอพี่โทร.มาแจ้งอีกครั้ง ว่าจะทำกันอย่างไรครับ

    .
    <!-- / message --><!-- sig -->
     
  6. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    .
    <TABLE class=tborder id=threadslist cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY id=threadbits_forum_15><TR><TD class=alt1 id=td_threadtitle_22445 title="พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร ถ้าต้องการที่จะได้......................<O:p</O:p<O:p</O:pพระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้..... (16 คน กำลังดูอยู่) ([​IMG] 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 ... หน้าสุดท้าย)
    [​IMG] sithiphong


    </TD><TD class=alt2 title="จำนวนตอบ: 15,878, จำนวนอ่าน: 360,960">วันนี้ 10:51 AM
    โดย sithiphong [​IMG]


    </TD><TD class=alt1 align=middle>15,878</TD><TD class=alt2 align=middle>360,960</TD></TR></TBODY></TABLE>

    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=thead>ขณะนี้มีคนกำลังดูกระทู้นี้อยู่ : 16 คน ( เป็นสมาชิก 1 คน และ บุคคลทั่วไป 15 คน ) </TD><TD class=thead width="14%">



    </TD></TR><TR><TD class=alt1 width="100%" colSpan=2>sithiphong </TD></TR></TBODY></TABLE>

    งานนี้ มีเอี่ยวกันหลายฝ่าย หลายเรื่อง ทั้งที่เป็นเรื่องของกรรมดี และกรรมไม่ดี

    เท่าที่ผ่านตาผมมา เท่าที่ได้ยินจากหูผมมา เท่าที่ได้รับทราบข้อมุลที่เป็นหลักฐานมา ทำให้เกิดความทึ่ง ความศรัทธาต่อบรรพบุรุธของคนไทยเราว่า ช่างมีจินตนาการเรื่องของการช่วยดำรงพระศาสนาเป็นอย่างมาก เรื่องของความคิดการช่วยเหลือของบรรพบุรุธที่ต้องการช่วยเหลือคนในยุคหลังที่ยังมีความศรัทธาต่อบรรพบุรธของคนไทยที่ต้องเผชิญกับภัยอันตรายต่างๆ รวมทั้งการทำมาหากิน ซึ่งสิ่งนี้เป็นสิ่งที่มีพระคุณกับคนในยุคหลังๆ

    แต่ก็ยังมีคนยุคหลังที่ขาดความกตัญญูต่อบรรพบุรุธ ซึ่งสิ่งเหล่านี้ ตนเองเป็นผู้กระทำเอง ก็ต้องรับผลกรรมนั้นไปเอง บางครั้งคนเหล่านี้รับเงินมาเพื่อมาป่วนก็มี (คนพวกนี้ต้องให้ไปดูพระหลังปี 2500 แต่ถ้าก่อนนั้นดูไม่เป็นจริงๆ) เหตุผลก็ไม่มีอะไรมาก เพียงแต่ต้องการรักษาผลประโยชน์ในการค้าขาย คนพวกนี้ต้องปล่อยให้เผชิญชตากรรม(หนัก)ไปเอง ไม่ต้องไปทำอะไรเลย คนพวกนี้เดินไปกันเอง ไปไหนพอทราบกันไหม ถ้าไม่ทราบผมจะบอกให้ว่า ไปนรก หลวงพ่อจรัญ วัดอัมพวัน ท่านก็บอกมาอยู่แล้วว่า คนที่ค้าขายพระ ต้องไปนรก

    ท่านผู้อ่านลองไปคิด ลองไปตรึกตรองดูเอง ว่าจะเลือกหนทางเดินไปในทางไหน ในชีวิตประจำวันก็ลำบากอยู่พอสมควรแล้ว ไฉนเลยจะจ้องเพิ่มกรรมไม่ดีอีก
    แต่ในส่วนของเบื้องบน ท่านผู้ที่มีหน้าที่ หรือองค์พยามัจจุราชเจ้า ท่านก็ต้องทำหน้าที่ของท่าน กรรมเหล่านี้หลบเลี่ยงไม่ได้

    ผมได้บอก ได้เตือนแล้ว แล้วแต่ท่านผู้อ่านจะเป็นผู้ที่เลือกเดินทางของตนเอง

    โชคดีนะครับ

    .
    <!-- / message --><!-- sig -->
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 25 เมษายน 2008
  7. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อนุสาสนีปาฏิหาริย์ (หลวงพ่อจรัญ ฐิตธมฺโม)
    โดย พระธรรมสิงหบุราจารย์
    (หลวงพ่อจรัญ ฐิตธมฺโม)

    คัดลอกจาก...
    http://www.jarun.org/v5/th/lgeneralmain06.html
    ชินวัฒก์ รัตนเสถียร
    ผู้รวบรวมและเรียบเรียง
    ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๔


    ผู้โพส ลูกโป่ง

    :: หมวดที่ ๑ ครูบาอาจารย์ ::


    ๑.๑ หลวงพ่อดำหรือหลวงพ่อในป่า

    หลังจากที่คิดจะสึกแล้วไม่ได้สึกจนได้ของดีจากหลวงพ่อเดิมติดตัวมา อยู่ต่อมาทราบว่ามีพระเก่งสามารถยึดเหรียญได้ก็ดั้นด้นไปหาถึงขอนแก่น ให้ผู้ใหญ่บ้านแถวนั้นพาไปพบพระธุดงค์รูปหนึ่ง ซึ่งแขวนกลดอยู่ใต้ต้นไทร ไม่ทราบอายุอานามท่าน เพียงแต่คุณลุงผู้ใหญ่บ้านเล่าให้หลวงพ่อฟังว่า ท่านเห็นหลวงพ่อในป่ามาปักกลดที่นี่ทุกปีๆ ละครั้งๆ ละประมาณเดือน แล้วก็ไป ตั้งแต่คุณลุงผู้ใหญ่ยังเป็นเด็กแก้ผ้า จนถึงวันนี้ (วันที่เล่า) คุณลุงผู้ใหญ่อายุแปดสิบกว่า หน้าตาผิวพรรณของหลวงพ่อดำก็ยังเหมือนเดิม เมื่อหลวงพ่อจรัญเข้าไปนมัสการแนะนำตัวเองว่าอยากเรียนวิชายืดเหรียญ หลวงพ่อดำท่านก็นิ่ง ไม่ลืมตา จนกระทั่งหลวงพ่อจรัญเปลี่ยนคำแนะนำตัวใหม่ หลวงพ่อดำจึงเริ่มพูด...............

    เมื่อหลวงพ่อจรัญได้ตอบคำถาม หลวงพ่อในป่าแล้ว หลวงพ่อดำก็พูดต่อว่า

    "อย่าลืมนะเรียนหมดเลย เรียนเลยไปหมด รู้มากไป คุณรู้มากคงใช้ไม่ได้เลย !"

    "เธออย่าลืมนะว่าพระพุทธเจ้าสอนอะไร สอนทุกข์และวิธีดับทุกข์"

    "ท่านสอนอะไรอีกรู้ไหมคุณ" ไม่ทราบครับ

    "เอาละจะบอกให้ สอนไม่ให้เบียดเบียนตน สอนไม่ให้เบียดเบียนคนอื่น พร้อมกับไม่ทำให้คนอื่น เดือดร้อนด้วย..... หาที่มาของทุกข์ให้ได้ ศึกษาข้อนี้ในตัวเรา มีอะไร มีทุกข์ หาที่มาของทุกข์แล้วปฏิบัติ วิธีปฏิบัติอย่างไรหรือ ศีล สมาธิ ปัญญา"

    ขณะที่ฟังหลวงพ่อดำสอน หลวงพ่อจรัญก็นึกไปด้วย และคิดว่าเพียงแค่นี้เองหรือนึกว่าจะมีอภิหารมากกว่านี้ ก็เลยโดนหลวงพ่อในป่าชี้หน้า แล้วกล่าวต่อว่า

    "คุณมันอย่างนี้เรียนเลยไปหมด ไอ้ที่จะทำไม่ทำ เสือกผ่าไปเอาที่ไม่ได้ความ ไอ้ที่ได้ไม่เอา ไปเอาที่ไม่ได้ ไอ้ที่จริงไม่ชอบ ไปชอบเอาที่ไม่จริง" หลวงพ่อจรัญบอกว่าอยากฝากตัวเป็นลูกศิษย์ หลวงพ่อดำก็ลืมตา ชี้หน้าว่า "ความขลังของพระอาจารย์ แต่ย้อนกลับเป็นความคลั่งของศิษย์คือเธอ " แล้วหลวงพ่อจรัญก็ขอฝากตัวเป็นศิษย์ติดตามหลวงพ่อดำไป หลวงพ่อดำท่านนั่งนิ่งสักครู่ แล้วลืมตาพูดว่า" คุณ รอให้คุณอายุ ๔๕ ก่อนนะ แล้วค่อยมาพบเราอีกครั้ง (ขณะนั้นราวปี พ.ศ. ๒๔๙๒ - ๓ อายุ ๒๒ พรรษา) อายุเธอยังน้อยนัก ยังไม่แน่นอน ยังหละหลวมอยู่อย่างนี้จะรับได้อย่างไร รับได้ต้องเป็นคนประเภท หนึ่งไม่ใช่สอง มีสัจจะ มีเมตตาสามัคคีแล้วหรือยัง สัจจะก็ไม่มี จะเกิดเมตตาได้อย่างไร แล้วเมตตาไม่มี จะเกิดความสามัคคีได้ทั้งใจทั้งจิตหรือ จะเกิดรูปนามได้หรือ"

    ในการไปพบหลวงพ่อดำอีกครั้ง ต้องปฏิบัติได้และแก้ปริศนาธรรมได้ ส่วนการไปพบนั้น เป็นสัจจะและความลับ ที่ไม่สามารถเปิดเผยได้ เมื่อครบกำหนด จึงได้ไปพบหลวงพ่อดำที่ เขาภูคา จังหวัดน่าน

    ปริศนาธรรมของหลวงพ่อในป่า

    อยาก เรียนรู้ ถามหญิงคันหูกถูก
    อยาก ทำถูก ถามเด็กเลี้ยงควาย
    คนสามบ้าน กินน้ำบ่อเดียว
    เดินทางเดียว ไม่เหยียบรอยกัน
    "นะ" อยู่หัว สามตัวอย่าละ
    "นะ" อยู่ที่ไหน ตามเอามาเป็นของเรา ให้เข้ามาอยู่ที่ตัวเรา ฯ


    ๑.๒ หลวงพ่อเดิม แห่งวัดหนองโพธิ์

    เมื่อหลวงพ่อจรัญ อยู่ปรนนิบัติรับใช้หลวงพ่อเดิมแห่งวัดหนองโพธิ์ เป็นเวลา ๖ เดือน ตราบจนหลวงพ่อเดิมท่านละสังขาร คติธรรมคำคมที่หลวงพ่อจรัญจดจำไม่เคยลืมคือ

    ๑. รู้ไว้ใช่ว่า ใส่บ่าแบกหาม
    ๒. รู้อะไรไม่สู้รู้วิชา รู้รักษาตัวรอดเป็นยอดดี
    ๓. ผู้ใหญ่ให้อะไรรับไว้ก่อนอย่าจองหอง
    ๔. มีเสื้อสิบตัวกับมีเสื้อตัวเดียวอย่างไหนจะดีกว่ากัน
    ๕. หนึ่งอย่าเป็นสอง (พูดจริงทำจริง)

    หลวงพ่อจรัญ เป็นศิษย์องค์เดียวและเป็นองค์สุดท้าย ที่ได้รับการถ่ายทอดวิชาคชสาร !!! ซึ่งจะเริ่มต้นด้วยการฝึกกสิณเป็นพื้นฐานก่อน (พ.ศ. ๒๔๙๒) และได้ใช้ประโยชน์ในการสยบช้างป่าระหว่างการเดินธุดงค์กับหลวงพ่อในป่านาน ๒ เดือน (พ.ศ. ๒๕๑๖ อายุ ๔๕ พรรษา ตามที่หลวงพ่อในป่ากำหนดไว้ให้) และครั้งที่สำคัญที่สุดคือ ระหว่างเดินทางกลับจากการปฏิบัติศาสนกิจ กับคณะสงฆ์ที่ทวีปยุโรป (พ.ศ. ๒๕๓๖) เครื่องบินที่โดยสารมาเกิดน้ำรั่วจากเพดานห้องโดยสารที่มีปริมาณมากขึ้นเรื่อยๆ อาจเป็นเหตุให้ไฟฟ้ารัดวงจรและเครื่องระเบิดได้ ซึ่งหลวงพ่อจรัญก็ได้ใช้วิชากสิณของหลวงพ่อเดิมแก้ไข (ใช้กสิณดินอุดน้ำ) จนเป็นปกติ เป็นเหตุให้ หลวงพ่อต้องป่วยกระเซาะกระแซะตลอดปี พ.ศ. ๒๕๓๖ ต่อเนื่องปี ๒๕๓๗ (ท่านที่สนใจเรื่องอิทธิฤทธิ์พึงสังเกต จากปีที่หลวงพ่อศึกษา จนถึงนำมาใช้ ห่างกันถึง ๒๔ ปี และ ๔๔ ปี ตามลำดับ แต่ภาพของหลวงพ่อที่ท่านเห็นเป็นประจำ ก็คือ สอนกรรมฐาน กับ บรรยายธรรม ไม่เน้นอิทธิฤทธิ์หรือเครื่องลางของขลังเลย นอกจากให้พร บอกให้ไปทานข้าว และแจกหนังสือ กลับปรากฏว่า ความศักดิ์สิทธิ์ยังเข้มขลังไม่เสื่อมคลาย ทั้งนี้เพราะหลวงพ่อ เจริญสติกรรมฐานอยู่ตลอดเวลา : ผู้รวบรวม)


    ๑.๓ หลวงพ่อสด (หลวงพ่อวัดปากน้ำ)

    เมื่อหลวงพ่อจรัญ ไปฝึกวิชาธรรมกาย กับหลวงพ่อสด (หลวงพ่อวัดปากน้ำ) ปี พ.ศ. ๒๔๙๓ ได้นำความรู้จากหลวงพ่อสดมาใช้ดังนี้

    ๑. การแจกพระ ให้องค์เดียวไม่มีการขอเอาไปฝากคนอื่น เพราะมีข้อได้ ข้อเสีย กล่าวคือ

    ข้อได้ คือได้เงินมาทำบุญ

    ข้อเสีย คือเขาไม่รู้จักเรา เอาไปทิ้งหรือ เอาไปขายกิน เป็นบาปเป็นกรรมกับเขา (ข้อนี้หลวงพ่อเคยบอกกับผมไว้นานแล้ว ขอฝากท่านที่มีอาชีพขายพระไว้ด้วย : ผู้รวบรวม)

    ๒. การแผ่เมตตาช่วยเหลือญาติโยม ยกจิตให้เป็นกุศล มีเมตตาไม่อิจฉาริษยาใคร แผ่ออกไปตามชื่อนั้นๆ ถ้าเขามีกุศลพอ ก็ช่วยได้ ถ้าไม่มีกุศล ก็ช่วยไม่ได้ และที่สำคัญจะช่วยคนไหนก็ให้เขาช่วยตัวเองได้ ถ้าเขาช่วยตัวเองไม่ได้ ไปช่วยเขาก็เสียเวลาเปล่า คนช่วยตัวเองไม่ได้ไม่ต้องสนใจ แผ่อย่างไรก็ออกไม่ได้ (ข้อนี้หลวงพ่อมักจะพูดว่า เราส่งสถานีกรมประชาสัมพันธ์ ผ่าไปเปิดยานเกราะ เราส่งช่อง ๓ ก็ไปเปิดช่อง ๗ หรือ เราแผ่เมตตาไปไม่เคยเปิดประตูรับเราเลย หรือหม้อแบตเตอรี่ แผ่นธาตุเสีย ชาร์จไฟไม่เข้า นั่นคือท่านต้องหมั่นสวดมนตร์ และทำกรรมฐาน เป็นความหมายของคำว่ามีกุศลและช่วยตัวเองได้ : ผู้รวบรวม)

    ๓. ทำใจให้งอกหมั่นทำบุญทำทาน ก็คือ ยิ่งให้ ยิ่งได้ ยิ่งหวง ยิ่งอด หมดไม่มา เราไม่หวงกัน เราไม่อด หมดก็มา เรื่อยๆ (เป็นความรู้ที่ได้หลังจากที่หลวงพ่อจรัญบอกกับหลวงพ่อสดว่า ข้าวสารหมด มะพร้าวหมด ซึ่งหลวงพ่อสด ก็ไม่ได้ตอบอะไร นอกจาก อือๆ รับรู้เท่านั้น ปรากฏว่า รุ่งขึ้นก็มีผู้ขนข้าวสาร มะพร้าว ใส่เรือเอี้ยมจุ๊น เต็มลำนำมาถวาย : ผู้รวบรวม) ฯ


    ๑.๔ ท่านเจ้าคุณอาจารย์พระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก ญาณสิทธิ)

    หลวงพ่อได้มาฝึกปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานที่วัดมหาธาตุกับท่านเจ้าคุณอาจารย์ ฯ ราวปี พ.ศ. ๒๔๙๕ เป็นเวลาหลายเดือนจนได้รับ ฟังเทศน์ลำดับญาณ และประสบการณ์ การสอบอารมณ์ นอกจากนั้น หลวงพ่อยังจดจำคำสอนมาเผยแพร่อีกหลายอย่าง อาทิเช่น

    ๑. บูชาวงศ์ตระกูล บูชาทรัพย์ บูชาชื่อเสียง บูชาความรัก
    ๒. พี่น้องอย่าทะเลาะกัน อย่าแย่งสมบัติกัน ต้องเคารพพ่อแม่
    ๓. เคารพผู้ใหญ่เคารพครูอุปัชฌาย์อาจารย์
    ๔. สามีภรรยาอย่าทะเลาะกัน บ้านไหนสามีภรรยาทะเลาะกัน บ้านนั้นเป็นบ้านอัปมงคลสร้างกุศลไม่ได้
    ๕. คุณหนูมั่นจำ มั่นจด สิ่งใดงามอย่าได้งด คุณหนูมั่นจด มั่นจำ
    ๖. พวกที่มาบวชน่ะ ถ้าเขาไม่มีศรัทธาอย่าบวชให้นะ ถ้าเขามีศรัทธาบวชให้เลย
    ๗. นี่เจ้าคุณเอาตำราใช้ให้ถูกต้องนะ จะมีความรู้มากน้อยไม่สำคัญปฏิบัติและสอนตามที่รู้มาก็แล้วกัน
    ๘. เราทั้งหลายเจริญวัยชันษามาได้ เพราะ พ่อแม่ชุบเลี้ยงเรามา เราได้รับ เรือน ๓ น้ำ ๔ ของพ่อแม่มาทุกคน

    เรือน ๓ คือ เรือนครรภ์ เรือนตักที่แม่อุ้มใส่ตักและเรือนที่อยู่อาศัยที่พ่อแม่หาไว้ให้ น้ำ ๔ คือ น้ำนม น้ำคำลูกจ๋าแม่ให้พร น้ำพักน้ำแรงที่พ่อแม่หาเลี้ยงเรา และน้ำใจที่ไม่มีอะไรเทียบได้เลย

    ๙. ความเป็นระเบียบเรียบร้อย ของวัดและศาสนพิธี

    หมายเหตุ : ในยุคแรกๆ หลวงพ่อยังเกี่ยวข้องกับอิทธิปาฏิหาริย์ และก่อนจะข้ามพ้นจุดนี้มาได้นั้น หลวงพ่อท่านพบครูบาอาจารย์มากมาย เช่นหลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก (หุงน้ำมันมนตร์) หลวงพ่ออินทร์ (เข้าใจว่าคงเป็นวัดเกาะหงส์ นครสวรรค์ องค์นี้ผมรู้จักท่านเก่งเรื่องน้ำมันรักษากระดูก พี่สาวผมตกสะพานแขนหักก็ได้ท่านรักษา) หลวงพ่อเรือง (เข้าใจว่าคงเป็นพระอธิการเรืองวัดปากคลองบางคู้ เพราะผมมีเหรียญเก่าท่าน) หลวงพ่อจาดจังหวัดปราจีนบุรี หลวงพ่อลี วัดอโศการาม (เรียนวิชา สะเดาะกุญแจ) นอกจากนั้นท่านยังเอ๋ยถึง หลวงพ่อ ศุขวัดปากคลองมะขามเฒ่าเรื่องเสกใบมะขามเป็นตัวต่อ (หลวงพ่อท่านเสกผ้าอาบเป็นกระต่ายวิ่งได้) ท่านเจ้าคุณอุบาลีสิริจันโท วัดบรมนิวาส เรื่องการฝากโรคภัยไข้เจ็บไว้ก่อน หลวงพ่อเองก็เคยเล่าไว้ เมื่อคราวท่านรับนิมนต์ไปเทศน์ที่ค่ายจิรประวัติ นครสวรรค์ ท่านอาพาธเมื่อถึงเวลานัดจำเป็นต้องไป (หลวงพ่อไม่เคยเสียสัจจะ) ท่านก็ฝากไข้ไว้ ท่านครูบาศรีวิชัย เรื่องปืนยิงไม่ออก พลุยิงไม่ได้

    ทุกวันนี้ แม้เราท่านจะไม่ค่อยได้ยินได้ฟังเรื่องเหล่านี้ ก็มิได้หมายความว่าท่านลืม เพียงแต่ท่านวางไว้และจะใช้เมื่อจำเป็นเท่านั้น ก็ขนาดท่านเน้นเฉพาะกรรมฐานและสอนญาติโยม คนก็ยังล้นวัด จนแทบไม่มีเวลาพักผ่อน ถ้าไปเน้นเครื่องรางของขลังอีก วันหนึ่ง ๒๔ ชั่วโมงคงไม่พอ : ผู้รวบรวม

    ที่มา http://www.dhammajak.net/board/viewtopic.php?p=18531&sid=8b201d58616c63a3bda8fcc20baa55b3
     
  8. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    งานบุญ ขอเชิญร่วมสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้ง ณ สำนักสงฆ์ผาผึ้ง อ.บ้านเขว้า จ.ชัยภูมิ บมจ.ธนาคารกรุงไทย สาขาลาดพร้าว102 บช.ออมทรัพย์เลขที่ 1890-13128-8 ชื่อบัญชี นางพิชญ์สินี ชาญปารีชญา ,นายอุเทน งามศิริ ,นายสิรเชษฏ์ ลีละสุนทเลิศ


    ชุดพิเศษ 2

    1.ครั้งแรกในเดือน มกราคม 2550
    ผมนำเข้าพิธีพุทธาภิเษก การอาราธนาพระบารมี พระสิวลีเถระเจ้า ,พระอนุรุทเถระเจ้า ,พระอุปคุตเถระเจ้า และหลวงปู่พระอุตรเถระเจ้า
    ซึ่งผมเรียกพระพิมพ์ที่เข้าพิธีพุทธาภิเษกในครั้งนี้ว่า พระพิมพ์ชุดพิเศษ 2


    2.ครั้งที่สองในเดือนกุมภาพันธ์ 2550
    ผมนำพระพิมพ์เข้าพิธีพุทธาภิเษก การอาราธนาพระบารมี พระสิวลีเถระเจ้า ,พระอนุรุทเถระเจ้า ,พระอุปคุตเถระเจ้า และหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรทั้ง 5 พระองค์
    ซึ่งผมเรียกพระพิมพ์ที่นำเข้าพิธีพุทธาภิเษกในครั้งที่สองว่า พระพิมพ์ชุดพิเศษ 2


    [​IMG]
    พระปิดตาวังหน้า(หลังแบบ)
    ร่วมทำบุญ 700 บาท/1องค์ จำนวน 2 องค์
    (พี่ท่านนึง จอง 1 องค์) คงเหลือ 1 องค์
    (คุณชวภณ จอง 1 องค์) หมดแล้ว

    [​IMG]
    พระสมเด็จวังหน้า
    ร่วมทำบุญ 700 บาท/1องค์ จำนวน 5 องค์
    (พี่ท่านนึง จอง 1 องค์) คงเหลือ 4 องค์
    (คุณชวภณ จอง 1 องค์) คงเหลือ 3 องค์
    (คุณnarin96 จอง 1 องค์) คงเหลือ 2 องค์ (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)

    [​IMG]
    พระสมเด็จวังหน้า
    ร่วมทำบุญ 700 บาท/1องค์ จำนวน 5 องค์
    (พี่ท่านนึง จอง 1 องค์) คงเหลือ 4 องค์
    (คุณชวภณ จอง 1 องค์) คงเหลือ 3 องค์
    (คุณnarin96 จอง 1 องค์) คงเหลือ 2 องค์ (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)

    [​IMG]
    พระสมเด็จหลังเบี้ย
    ร่วมทำบุญ 500 บาท/1องค์ จำนวน 5 องค์
    (พี่ท่านนึง จอง 1 องค์) คงเหลือ 4 องค์
    (คุณชวภณ จอง 1 องค์) คงเหลือ 3 องค์

    [​IMG]
    พระสมเด็จไกเซอร์
    ร่วมทำบุญ 500 บาท/1องค์ จำนวน 5 องค์
    (พี่ท่านนึง จอง 1 องค์) คงเหลือ 4 องค์
    (คุณชวภณ จอง 1 องค์) คงเหลือ 3 องค์ (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)
    (คุณnarin96 จอง 1 องค์) คงเหลือ 2 องค์ (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)
    (คุณpucca2101 จอง 1 องค์) คงเหลือ 1 องค์ (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)

    [​IMG]
    พระเก๋งจีนไตรโลกอุดร(เนื้อกรมท่า)
    ร่วมทำบุญ 500 บาท/1องค์ จำนวน 5 องค์
    (พี่ท่านนึง จอง 1 องค์) คงเหลือ 4 องค์
    (คุณชวภณ จอง 1 องค์) คงเหลือ 3 องค์ (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)
    (คุณnarin96 จอง 1 องค์) คงเหลือ 2 องค์ (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)
    (คุณเชน จอง 1 องค์) คงเหลือ 1 องค์

    [​IMG]
    พระเก๋งจีนไตรโลกอุดร(เนื้อปัญจสิริ)
    ร่วมทำบุญ 500 บาท/1องค์ จำนวน 5 องค์
    (พี่ท่านนึง จอง 1 องค์) คงเหลือ 4 องค์
    (คุณชวภณ จอง 1 องค์) คงเหลือ 3 องค์ (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)
    (คุณkwok จอง 1 องค์) คงเหลือ 2 องค์
    (คุณพรสว่าง 2008 จอง 1 องค์) คงเหลือ 1 องค์ (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)
    (คุณpucca 2101 จอง 1 องค์) หมดแล้ว (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)

    [​IMG]
    พระสมเด็จ(เนื้อปัญจสิริ)
    ร่วมทำบุญ 500 บาท/1องค์ จำนวน 7 องค์
    (พี่ท่านนึง จอง 1 องค์) คงเหลือ 6 องค์
    (คุณชวภณ จอง 1 องค์) คงเหลือ 5 องค์ (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)
    (คุณnarin96 จอง 1 องค์) คงเหลือ 4 องค์ (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)

    [​IMG]
    พระปิดตาวังหน้า(สองหน้า)
    พระปิดตาวังหน้า สีดำ/1องค์ ร่วมทำบุญ 500 บาท จำนวน 5 องค์
    (คุณชวภณ จอง 1 องค์) คงเหลือ 4 องค์ (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)

    พระปิดตาวังหน้า สีขาว/1องค์ ร่วมทำบุญ 500 บาท จำนวน 5 องค์
    (คุณชวภณ จอง 1 องค์) คงเหลือ 4 องค์
    (คุณpucca 2101 จอง 1 องค์) คงเหลือ 3 องค์ (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)

    [​IMG]
    พระปิดตาสี่กร (เนื้อปัญจสิริและเนื้อกรมท่า)
    พระปิดตาสี่กร เนื้อปัญจสิริ/1องค์ ร่วมทำบุญ 500 บาท จำนวน 5 องค์
    (พี่ท่านนึง จอง 1 องค์) คงเหลือ 4 องค์
    (คุณชวภณ จอง 1 องค์) คงเหลือ 3 องค์
    (คุณkwok จอง 1 องค์) คงเหลือ 2 องค์
    (คุณเทพารักษ์ จอง 1 องค์) คงเหลือ 1 องค์

    พระปิดตาสี่กร เนื้อกรมท่า/1องค์ ร่วมทำบุญ 500 บาท จำนวน 5 องค์
    (พี่ท่านนึง จอง 1 องค์) คงเหลือ 4 องค์
    (คุณชวภณ จอง 1 องค์) คงเหลือ 3 องค์
    (คุณเทพารักษ์ จอง 1 องค์) คงเหลือ 2 องค์
    (คุณเชน จอง 1 องค์) คงเหลือ 1 องค์

    [​IMG]
    พระสมเด็จเจ้าคุณกรมท่า (รักแดงหรือชาด)
    ร่วมทำบุญ 500 บาท/1องค์ จำนวน 10 องค์
    (พี่ท่านนึง จอง 1 องค์) คงเหลือ 9 องค์
    (คุณชวภณ จอง 1 องค์) คงเหลือ 8 องค์
    (คุณเชน จอง 1 องค์) คงเหลือ 7 องค์
    (คุณonlyboon จอง 1 องค์) คงเหลือ 6 องค์ (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)


    โมทนาทุกบุญกับทุกๆท่านครับ

    .
    <!-- / message --><!-- sig -->
     
  9. ตั้งจิต

    ตั้งจิต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2005
    โพสต์:
    1,574
    ค่าพลัง:
    +5,485
    <DD>อัน<WBR>ความ<WBR>รู้ มัน<WBR>มี<WBR>อยู่<WBR>สอง<WBR>อย่าง<WBR>คือ ความ<WBR>รู้<WBR>จำ กับ<WBR>ความ<WBR>รู้<WBR>จริง อัน<WBR>ความ<WBR>รู้<WBR>จำ<WBR>นั้น เกิด<WBR>ขึ้น<WBR>จาก<WBR>การ<WBR>เรียน เรียน<WBR>จาก<WBR>ครู จาก<WBR>ตำรา รู้<WBR>มา<WBR>เรียน<WBR>มา<WBR>ไม่<WBR>ถึง<WBR>ใจ เพราะ<WBR>ไม่<WBR>รู้<WBR>ว่า รส<WBR>ชาติ<WBR>ธาตุ<WBR>แท้<WBR>ของ<WBR>ชีวิต<WBR>นั้น มัน<WBR>เป็น<WBR>อย่าง<WBR>ไร แต่<WBR>ความ<WBR>รู้<WBR>จริง<WBR>นั้น คือ<WBR>รู้<WBR>จาก<WBR>ประสบการณ์ ที่<WBR>เกิด<WBR>จาก<WBR>ชีวิต<WBR>จริง<WBR>ของ<WBR>เรา<WBR>เอง มัน<WBR>มี<WBR>รส<WBR>ชาติ<WBR>ธาตุ<WBR>แท้<WBR>แห่ง<WBR>ความ<WBR>ทรง<WBR>จำ ไป<WBR>อีก<WBR>นาน<WBR>เท่า นาน<WBR>เชียว<WBR>ล่ะ และ<WBR>เป็น<WBR>ราก<WBR>ฐาน ใน<WBR>การ<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>ได้<WBR>ปรับ<WBR>ปรุง<WBR>วิถี<WBR>ชีวิต<WBR>ของ<WBR>ตน<WBR>เอง ให้<WBR>เข้ม<WBR>แข็ง<WBR>ขึ้น<WBR>อีก </DD><DD>



    <DD><DD>[​IMG]




    <DD>อัน<WBR>การ<WBR>ที่<WBR>ข้าพเจ้า ถูก<WBR>อ้าย<WBR>หม่อง<WBR>เล่น<WBR>งาน<WBR>คราว<WBR>นั้น มัน<WBR>เป็น<WBR>ผล<WBR>ดี<WBR>ที่<WBR>ทำ<WBR>ให้<WBR>ข้าพเจ้า ได้<WBR>เข้า<WBR>ถึง<WBR>และ<WBR>เข้า<WBR>ใจ ใน<WBR>ชีวิต<WBR>ของ<WBR>ตัว<WBR>เอง<WBR>อย่าง<WBR>ถ่อง<WBR>แท้ วิธี<WBR>แก้<WBR>ของ<WBR>เรา<WBR>ก็<WBR>คือ สอน<WBR>และ<WBR>เตือน<WBR>ตัว<WBR>เอง<WBR>ว่า ผู้<WBR>ฉลาด มี<WBR>ปัญญา ย่อม<WBR>ไม่<WBR>สร้าง<WBR>ความ<WBR>ทุกข์<WBR>ให้<WBR>แก่<WBR>ใจ ใน<WBR>สิ่ง<WBR>ที่<WBR>สุด<WBR>ทาง<WBR>แก้ จึง<WBR>ตั้ง<WBR>อธิษฐาน<WBR>จิต ทำ<WBR>ความ<WBR>เพียร<WBR>ทาง<WBR>จิต แบบ<WBR>เอา<WBR>ชีวิต<WBR>เป็น<WBR>เดิม<WBR>พัน ตาย<WBR>เป็น<WBR>ตาย จิต<WBR>วิญญาณ<WBR>หลัง<WBR>ตาย สบาย<WBR>กว่า<WBR>มี<WBR>ชีวิต<WBR>อยู่ จะ<WBR>อยู่<WBR>ไป<WBR>ทำไม ตาย<WBR>ดี<WBR>กว่า<WBR>จะ<WBR>ได้<WBR>สบาย จึง<WBR>ค้น<WBR>คิด<WBR>ว่า<WBR>ความ<WBR>ตาย<WBR>คือ<WBR>อะไร แล้ว<WBR>ตอบ<WBR>เอง<WBR>ว่า<WBR>ความ<WBR>ตาย<WBR>คือ การ<WBR>หมด<WBR>ความ<WBR>รู้<WBR>สึก<WBR>นึก<WBR>คิด ชีวิต<WBR>อินทรีย์<WBR>ขาด<WBR>จาก<WBR>กัน หัว<WBR>ใจ<WBR>หยุด<WBR>เต้น มัน<WBR>สมอง<WBR>หยุด<WBR>สั่ง<WBR>งาน จิต<WBR>วิญญาณ<WBR>ออก<WBR>จาก<WBR>ร่าง อยู่<WBR>ที่<WBR>ความ<WBR>ว่าง<WBR>เปล่า สัก<WBR>ครู่<WBR>จิต<WBR>วิญญาณ<WBR>ก็<WBR>ลอย<WBR>ละ<WBR>ล่อง<WBR>ไป<WBR>สู่<WBR>ภพ<WBR>ใหม่ นั่น<WBR>แหละ<WBR>คือ<WBR>ความ<WBR>ตาย<WBR>ที่<WBR>รู้<WBR>กัน<WBR>ทั่ว<WBR>ไป จึง<WBR>สน<WBR>ใจ<WBR>ขึ้น<WBR>มา<WBR>ว่า อัน<WBR>ภาวะ<WBR>เช่น<WBR>นั้น มัน<WBR>เป็น<WBR>อย่าง<WBR>ไร<WBR>กัน<WBR>แน่ จึง<WBR>อยาก<WBR>ตั้ง<WBR>หน้า<WBR>ฝึก<WBR>จิต ฝึก<WBR>ใจ<WBR>ให้<WBR>รู้<WBR>จัก<WBR>วิธี<WBR>ตาย<WBR>ก่อน<WBR>ตาย <DD><DD><DD><DD><DD><DD>อัน<WBR>ภาวะ<WBR>ของ<WBR>ความ<WBR>ตาย<WBR>นั้น ตาม<WBR>หลัก<WBR>ของ<WBR>กายวิภาค<WBR>วิทยา<WBR>ว่า หัว<WBR>ใจ<WBR>หยุด<WBR>เต้น ลม<WBR>หาย<WBR>ใจ<WBR>ไม่<WBR>มี<WBR>คือ<WBR>ตาย แต่<WBR>เรา<WBR>จะ<WBR>ยัง<WBR>ไม่<WBR>ตาย<WBR>อย่าง<WBR>นั้น เรา<WBR>ไม่<WBR>ต้อง<WBR>ไป<WBR>ยุ่ง<WBR>กับ<WBR>มัน มัน<WBR>จะ<WBR>เต้น<WBR>หรือ<WBR>ไม่<WBR>เต้น ก็<WBR>เป็น<WBR>เรื่อง<WBR>ของ<WBR>มัน เรา<WBR>มา<WBR>จับ<WBR>จด<WBR>อยู่<WBR>ที่<WBR>ลม<WBR>หาย<WBR>ใจ<WBR>ดี<WBR>กว่า เที่ยวทัวร์<WBR>ทาง<WBR>ลม เอา<WBR>ลม<WBR>เป็น<WBR>ไกด์ ลม<WBR>หาย<WBR>ใจ<WBR>เข้า หาย<WBR>ใจ<WBR>ออก<WBR>นี้<WBR>เอง เป็น<WBR>เครื่อง<WBR>จูง<WBR>จิต เอา<WBR>ความ<WBR>วิกฤต<WBR>ของ<WBR>ชีวิต ที่<WBR>กำลัง<WBR>ประสบ<WBR>อยู่ มา<WBR>เป็น<WBR>ผู้<WBR>สอน สอน<WBR>ว่า ตาย ตาย ตาย ลม<WBR>หาย<WBR>ใจ<WBR>เข้า<WBR>ก็<WBR>ว่า<WBR>ตาย ลม<WBR>ออก<WBR>ก็<WBR>ว่า<WBR>ตาย เป็น<WBR>อุบาย<WBR>สกด<WBR>จิต<WBR>ตัว<WBR>เอง ให้<WBR>เข้า<WBR>สู่<WBR>สภาวะ<WBR>แห่ง<WBR>ความ<WBR>หลับ (หลับ<WBR>ทาง<WBR>จิต) จับ<WBR>เอา<WBR>ตัว<WBR>นิมิต คือ<WBR>ตัว<WBR>ฝัน<WBR>นั่น<WBR>เอง มาส<WBR>ร้าง<WBR>เป็น<WBR>ตัว<WBR>แฝง พลัง<WBR>แฝง<WBR>ขึ้น<WBR>ตาม<WBR>คำ<WBR>แนะ<WBR>นำ ของ<WBR>พระ<WBR>ผู้<WBR>เฒ่า<WBR>หลวง<WBR>ปู่<WBR>โลก<WBR>อุดร สอน<WBR>ให้<WBR>สมัย<WBR>ที่<WBR>ถูก<WBR>ฝัง<WBR>ตัว<WBR>อยู่<WBR>ใน<WBR>หิมะ เพราะ<WBR>มัน<WBR>ถล่ม<WBR>มา<WBR>ทับ ที่<WBR>ภู<WBR>เขา<WBR>หิมาลัย<WBR>โน้น <DD><DD><DD><DD><DD><DD>ท่าน<WBR>สอน<WBR>เตือน<WBR>ว่า ตัว<WBR>เรา<WBR>มัน<WBR>มี<WBR>อยู่ 3 ตัว<WBR>คือ ตัว<WBR>จริง ตัว<WBR>เป็น และตัว<WBR>แฝง ทั้ง<WBR>สอง<WBR>ตัว<WBR>แรก<WBR>นั้น อย่า<WBR>ยึด<WBR>มั่น<WBR>ใน<WBR>มัน รีบ<WBR>สละ<WBR>ละ<WBR>ทิ้ง<WBR>ให้<WBR>หมด กำหนด<WBR>เอา<WBR>ตัว<WBR>แฝง คือ<WBR>ตัว<WBR>พลัง<WBR>ภาย<WBR>ใน<WBR>จิต<WBR>ใจ<WBR>เท่า<WBR>นั้น เพราะ<WBR>ตัว<WBR>จริง<WBR>ยิ่ง<WBR>ใช้<WBR>ยิ่ง<WBR>โทรม ส่วน<WBR>ตัว<WBR>เป็น<WBR>ยิ่ง<WBR>ใช้<WBR>ยิ่ง<WBR>ยุ่ง<WBR>ยิ่ง<WBR>ทุกข์ แต่<WBR>ตัว<WBR>แฝง พลัง<WBR>แฝง<WBR>นั้น<WBR>ยิ่ง<WBR>ใช้<WBR>ยิ่ง<WBR>ดี มี<WBR>พลัง<WBR>จะ<WBR>กำบัง<WBR>ความ<WBR>ทุกข์ ให้<WBR>เกิด<WBR>ความ<WBR>ปิติ<WBR>สุข<WBR>ที่<WBR>ใจ เรา<WBR>จำ<WBR>คำ<WBR>สอน<WBR>ของ<WBR>ท่าน<WBR>คำ<WBR>นี้<WBR>ไว้<WBR>แล้ว เอา<WBR>สติ<WBR>เป็น<WBR>นาย<WBR>เวร คอย<WBR>จ้อง<WBR>ดู<WBR>ลม<WBR>เข้า<WBR>ลม<WBR>ออก อย่าง<WBR>ไม่<WBR>ลด<WBR>ละ ที<WBR>แรก<WBR>จะ<WBR>รู้<WBR>สึก<WBR>ว่า อัน<WBR>เจ้า<WBR>ลม<WBR>ที่<WBR>เข้าๆ ออกๆ นั้น<WBR>มัน<WBR>หยาบ แล้ว<WBR>มัน<WBR>จะ<WBR>ค่อย<WBR>ละเอียด<WBR>ลงๆ แผ่ว<WBR>เบา<WBR>ลง ละเอียด<WBR>ลงๆ จน<WBR>เกิด<WBR>ความ<WBR>รู้<WBR>สึก<WBR>ว่า<WBR>ไม่<WBR>มี<WBR>อะไร ไม่<WBR>รู้<WBR>สึก<WBR>อะไร<WBR>อีก<WBR>แล้ว ดวง<WBR>จิต<WBR>มัน<WBR>จะ<WBR>ผ่อง<WBR>แผ้ว<WBR>สงบ<WBR>เย็น ใน<WBR>ดวง<WBR>จิต<WBR>มัน<WBR>จะ<WBR>เข้า<WBR>สู่<WBR>มิติ<WBR>หนึ่ง อีก<WBR>โลกห<WBR>นี่ง<WBR>เป็น<WBR>สภาวะ<WBR>ที่<WBR>มี<WBR>ความ<WBR>สงบ<WBR>ที่<WBR>สุด ที่<WBR>เรียก<WBR>ว่า<WBR>ปิติ ความ<WBR>สุข<WBR>ทาง<WBR>ใจ<WBR>ละเอียด<WBR>ที่<WBR>สุด <DD><DD><DD><DD><DD></DD>อัน<WBR>สภาวะ<WBR>อย่าง<WBR>นี้ ไม่<WBR>สามารถ<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>สรร<WBR>หา<WBR>ภาษา<WBR>มนุษย์ มา<WBR>อธิบาย<WBR>ให้<WBR>คน<WBR>อื่น<WBR>เข้า<WBR>ใจ<WBR>ได้<WBR>เลย มัน<WBR>เป็น<WBR>ภาษา<WBR>ของ<WBR>จิต<WBR>วิญญาณ ภาษา<WBR>ของ<WBR>โลก<WBR>ทิพย์ แบบ<WBR>รู้<WBR>เอง<WBR>เห็น<WBR>เอง เป็นปัจจัต<WBR>ตัง รู้<WBR>เฉพาะ<WBR>ตน<WBR>เท่า<WBR>นั้น อัน<WBR>การ<WBR>ที่<WBR>ถูก<WBR>เจ้า<WBR>หม่อง<WBR>เล่น<WBR>งาน อย่าง<WBR>สาหัส<WBR>สากรรจ์ แบบ<WBR>ข้าว<WBR>ไม่<WBR>ให้<WBR>ฉัน น้ำ<WBR>ไม่<WBR>ให้<WBR>ดื่ม ใน<WBR>ครั้ง<WBR>กระ<WBR>นั้น<WBR>เอง ที่<WBR>ทำ<WBR>ให้<WBR>ข้าพเจ้า ต้อง<WBR>ตัด<WBR>สิน<WBR>ใจ<WBR>อย่าง<WBR>เด็ด<WBR>เดี่ยว ก็<WBR>จะ<WBR>สมัคร<WBR>เข้า<WBR>สำมะโนครัว ร่วม<WBR>เป็น<WBR>สมาชิก<WBR>ของ<WBR>ยม<WBR>บาล โดย<WBR>ไม่<WBR>คาด<WBR>ฝัน นึก<WBR>ภาวนา<WBR>เสมอ ทุก<WBR>ลม<WBR>หาย<WBR>ใจ<WBR>เข้า<WBR>ออก<WBR>ว่า ตาย ตาย


    ตัดตอนจาก
    "ย้อนรอยกรรม ตำนานพระสุพรรณกัลยา" โดย หลวงปู่โง่น โสรโย
    (http://www.agalico.com/board/showthread.php?t=2510)
     
  10. ตั้งจิต

    ตั้งจิต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2005
    โพสต์:
    1,574
    ค่าพลัง:
    +5,485
    ....แล้ว<WBR>เดิน<WBR>ทาง<WBR>ต่อ ไป<WBR>นมัสการ<WBR>สถาน<WBR>ที่<WBR>ศักดิ์<WBR>สิทธิ์ ใน<WBR>เมือง<WBR>นั้น<WBR>ประเทศ<WBR>นั้น ตอน<WBR>ขึ้น<WBR>ไป<WBR>ทาง<WBR>เหนือ<WBR>ติด<WBR>แดน<WBR>จีน คือ<WBR>เมือง<WBR>ยาลัม และอเวเลสต์ เชิง<WBR>เขา<WBR>หิมาลัย<WBR>นั้น ตรง<WBR>นั้น<WBR>เขา<WBR>เล่า<WBR>ว่า เป็น<WBR>เวียง<WBR>วัง<WBR>บ้าน<WBR>เกิด ให้<WBR>กำเนิด<WBR>ของ หลวง<WBR>ปู่<WBR>พระ<WBR>ครู<WBR>โลก<WBR>อุดร ชื่อ<WBR>จริง<WBR>ของ<WBR>ท่าน<WBR>คือ พระ<WBR>อุ<WBR>ตระ น้อง<WBR>ชาย<WBR>ชื่อ<WBR>พระโส<WBR>ณะ ที่<WBR>มี<WBR>กล่าว<WBR>ใน<WBR>อนุ<WBR>พุทธ<WBR>ประวัติ ที่<WBR>ท่าน<WBR>ถูก<WBR>ส่ง<WBR>เป็น<WBR>สมณะฑูต<WBR>ไทย เดิน<WBR>ทาง<WBR>มา<WBR>ให้<WBR>กำเนิด<WBR>พุทธ<WBR>ศาสนา เผย<WBR>แพร่<WBR>ใน<WBR>แดน<WBR>สุวรรณ<WBR>ภูมิ คือ<WBR>แดน<WBR>ทอง ได้<WBR>แก่ พม่า ไทย ลาว และ<WBR>เขมร โดย<WBR>เฉพาะ<WBR>คน<WBR>ไทย<WBR>หลงใ<WBR>หล<WBR>กัน<WBR>มาก จึง<WBR>มี<WBR>หลวง<WBR>พ่อ<WBR>โลก<WBR>อุดร<WBR>ปลอม ที่<WBR>คน<WBR>ผู้<WBR>ละโมบ<WBR>โลภ<WBR>หลง เอา<WBR>ชื่อ<WBR>ท่าน<WBR>มา<WBR>ขาย<WBR>กิน<WBR>กัน ใน<WBR>สังคม<WBR>ไทย<WBR>หา<WBR>รู้<WBR>ไม่<WBR>ว่า หลวง<WBR>ปู่<WBR>โลก<WBR>อุดร<WBR>เกิด<WBR>ที่<WBR>ไหน จะ<WBR>สัมผัส<WBR>ได้<WBR>อย่าง<WBR>ไร เห็น<WBR>ก็<WBR>แต่<WBR>หลอก<WBR>ลวง<WBR>กัน<WBR>ทั่ว<WBR>ไป


    ใน<WBR>คราว<WBR>นั้น เรา<WBR>ไป<WBR>กัน<WBR>หลาย<WBR>คน เพื่อ<WBR>นมัสการ<WBR>โบราณ<WBR>สถาน<WBR>ที่<WBR>นั่น และ<WBR>ทั่ว<WBR>หิมาลัย<WBR>ประเทศ จึง<WBR>ขอบ<WBR>อก<WBR>ตรง ๆ ว่า หลวง<WBR>พ่อ<WBR>โลก<WBR>อุดร คือ<WBR>พระอภิ<WBR>สมาน<WBR>กาย มี<WBR>กาย<WBR>ทิพย์ จะ<WBR>เกิด<WBR>จะ<WBR>ดับ<WBR>เมื่อ<WBR>ไร<WBR>ก็<WBR>ได้ ท่าน<WBR>จะ<WBR>เสด็จ<WBR>โปรด<WBR>ทุก<WBR>แห่ง แต่<WBR>แห่ง<WBR>ใด<WBR>มี<WBR>จิต<WBR>ใจ<WBR>เป็น<WBR>พระ<WBR>นัก<WBR>รบ คือ<WBR>รบ<WBR>กวน<WBR>ชาว<WBR>บ้าน เพื่อ<WBR>แสวง<WBR>หา<WBR>ลาภ<WBR>ผล ไม่<WBR>ว่า<WBR>คน ไม่<WBR>ว่า<WBR>พระ ท่าน<WBR>ไม่<WBR>เอา<WBR>ด้วย และ<WBR>ไม่<WBR>ปรากฏ<WBR>ให้<WBR>เห็น<WBR>เลย ท่าน<WBR>จะ<WBR>ช่วย<WBR>แต่<WBR>ผู้<WBR>ที่<WBR>เสีย<WBR>สละ มี<WBR>แต่<WBR>ให้<WBR>กับ<WBR>ให้ และ<WBR>ช่วย<WBR>คน โดย<WBR>ไม่<WBR>หวัง<WBR>ผล<WBR>ตอบ<WBR>แทน<WBR>ใดๆ และ<WBR>ต้อง<WBR>ได้<WBR>ตัว<WBR>ใน<WBR>คือ ตัว<WBR>แฝง<WBR>ด้วย และ<WBR>ตัว<WBR>แฝง<WBR>เอา<WBR>ออก<WBR>มา<WBR>ใช้<WBR>ได้<WBR>ด้วย อัน<WBR>เจ้า<WBR>กู<WBR>ที่<WBR>หนา<WBR>ด้วย<WBR>กิเลส หา<WBR>ทาง<WBR>ร่ำ<WBR>รวย ฉวย<WBR>โอกาส<WBR>นั้น เมิน<WBR>เสีย<WBR>เถิด<WBR>อย่า<WBR>หลอก<WBR>เขา<WBR>ต่อ<WBR>ไป<WBR>เลย บ้าน<WBR>ช่อง<WBR>ของ<WBR>ท่าน<WBR>อยู่<WBR>ที่ เมือง<WBR>อุ<WBR>ตระ ยาลั<WBR>มอเ<WBR>วอเลสต์ เขต<WBR>ติด<WBR>ต่อ<WBR>กับ<WBR>แดน<WBR>จีน เชิง<WBR>เขา<WBR>หิมาลัย<WBR>โน้น



    [​IMG]




    <DD>ตอน<WBR>ไป<WBR>คราว<WBR>นั้น เรา<WBR>ได้<WBR>พำ<WBR>นัก<WBR>แสวง<WBR>บุญ<WBR>ไป<WBR>ชม ไป<WBR>นมัสการ<WBR>สถาน<WBR>ที่<WBR>เก่า<WBR>แก่ และ<WBR>ศักดิ์<WBR>สิทธิ์<WBR>หลาย<WBR>แห่ง เกือบ<WBR>ทั่ว<WBR>หิมาลัย<WBR>ประเทศ การ<WBR>ไป<WBR>เที่ยว<WBR>ที่<WBR>นั่น<WBR>วัน<WBR>นั้น เมื่อ<WBR>พา<WBR>กัน<WBR>ชม<WBR>สถาน<WBR>ที่ ที่<WBR>พระ<WBR>ผู้<WBR>มี<WBR>บุญ<WBR>มา<WBR>เกิด พวก<WBR>เรา<WBR>ก็<WBR>รู้<WBR>สึก<WBR>ดี<WBR>ใจ ทัน<WBR>ใด<WBR>นั้น<WBR>เอง สาม<WBR>เณร<WBR>เจ้า<WBR>บุญ<WBR>ชุ่ม ก็<WBR>ลอง<WBR>ภูมิ<WBR>ข้าพเจ้า<WBR>ว่า พ่อ<WBR>ครับ หนังสือ<WBR>ใน<WBR>แผ่น<WBR>หิน<WBR>ป้าย<WBR>ใหญ่ๆ นี้ ลอง<WBR>อ่าน<WBR>ซิ<WBR>หลวง<WBR>พ่อ เรา<WBR>ก็<WBR>อ่าน<WBR>ดัง ๆ ให้<WBR>ทุก<WBR>คน<WBR>ได้<WBR>ยิน หนังสือ<WBR>นั้น<WBR>เขียน<WBR>เป็น อักษรฮิน<WBR>ดี และ<WBR>กูต๊าฟ มี<WBR>ประมาณ 30 แถว แล้ว<WBR>กำลัง<WBR>จะ<WBR>แปล<WBR>ให้<WBR>ลูก<WBR>ศิษย์<WBR>ฟัง ประเดี๋ยว<WBR>นั่น<WBR>เอง แทน<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>เป็น<WBR>น้ำ<WBR>ไหล<WBR>ออก<WBR>มา อย่าง<WBR>เจ้า<WBR>บุญ<WBR>ชุ่ม<WBR>บอก แต่<WBR>เป็น<WBR>พระ<WBR>สงฆ์<WBR>รูป<WBR>ร่าง<WBR>ใหญ่ เดิน<WBR>ออก<WBR>มา<WBR>จาก<WBR>ป้าย<WBR>หิน<WBR>อัน<WBR>นั้น ซึ่ง<WBR>ก็<WBR>มี<WBR>รั้ว<WBR>ทอง<WBR>แดง<WBR>สูง 2 เมตร กั้น<WBR>ไว้ ท่าน<WBR>เดิน<WBR>ออก<WBR>มา<WBR>ได้ เสมือน<WBR>ไม่<WBR>มี<WBR>รั้ว<WBR>กั้น<WBR>เลย ท่าน<WBR>เดิน<WBR>ยิ้ม<WBR>ออก<WBR>มา จับ<WBR>มือ<WBR>ข้าพเจ้า<WBR>แล้ว<WBR>กล่าว<WBR>ว่า จะ<WBR>มะ<WBR>นิ<WBR>ยัง<WBR>อาวุโส เรา<WBR>ก็<WBR>ตอบ<WBR>ท่าน<WBR>ว่า ข<WBR>ะมะ<WBR>นิ<WBR>ยังภันเต (เป็น<WBR>ภาษา<WBR>พระ<WBR>สงฆ์ ท่าน<WBR>ถาม<WBR>ข่าว<WBR>คราว กัน<WBR>ตาม<WBR>ธรรม<WBR>เนียม) ถ้า<WBR>แปล<WBR>เป็น<WBR>ไทย<WBR>ให้<WBR>ตรง ๆ ว่า ท่าน<WBR>ยัง<WBR>ทน<WBR>ไหว<WBR>หรือ (หรือ<WBR>ท่าน<WBR>ยัง<WBR>ไม่<WBR>ตาย<WBR>หรือ) แล้ว<WBR>ก็<WBR>ขอ<WBR>ถ่าย<WBR>รูป<WBR>รวม<WBR>กัน ข้าพเจ้า<WBR>ยืน<WBR>กลาง สาม<WBR>เณร<WBR>บุญ<WBR>ชุ่ม<WBR>ยืน<WBR>ด้าน<WBR>ซ้าย พระ<WBR>อาคันตุกะ<WBR>ยืน<WBR>ขวา วัน<WBR>นั้น<WBR>มือ<WBR>กล้อง<WBR>ถ่าย<WBR>หลาย<WBR>ท่าน<WBR>ร่วม<WBR>กัน ถ่าย<WBR>เสร็จ<WBR>แล้ว<WBR>ก็<WBR>จาก<WBR>กัน พวก<WBR>โยม ๆ ก็<WBR>อยาก<WBR>รู้<WBR>ว่า ท่าน<WBR>เป็น<WBR>ใคร ทำไม<WBR>จึง<WBR>แสดง<WBR>ความ<WBR>สนิท<WBR>สนม กับ<WBR>อี<WBR>ตา<WBR>โง่<WBR>นมาก<WBR>นัก ขนาด<WBR>จับ<WBR>มือ<WBR>ถือ<WBR>แขน<WBR>หยอก<WBR>ล้อ<WBR>กัน ถึง<WBR>กับ<WBR>เอา<WBR>มือ<WBR>ลูบ<WBR>หัว<WBR>โล้น<WBR>อี<WBR>ตา<WBR>โง่น<WBR>ได้ แต่<WBR>ท่าน<WBR>หัว<WBR>ล้าน<WBR>ใส ใน<WBR>สาย<WBR>ตา<WBR>ท่าน<WBR>คม<WBR>สงบ<WBR>เสงี่ยม พระ<WBR>หัว<WBR>ล้าน<WBR>กับ<WBR>พระ<WBR>หัว<WBR>โล้น เจอ<WBR>กัน<WBR>มัน<WBR>แท้ ๆ

    <DD>[​IMG]

    แต่<WBR>รูป<WBR>ถ่าย<WBR>ที่<WBR>ออก<WBR>มา<WBR>รูป<WBR>ท่าน<WBR>กลาย<WBR>เป็น<WBR>พระ<WBR>แขก มี<WBR>ผ้า<WBR>พัน<WBR>หัว<WBR>เอา<WBR>ไว้ มิ<WBR>ใช่<WBR>หัว<WBR>ล้าน<WBR>สัก<WBR>หน่อย พวก<WBR>โยมๆ จึง<WBR>ฮือ<WBR>ฮา<WBR>ถาม<WBR>ว่า ทำไม<WBR>ถึง<WBR>เป็น<WBR>ไป<WBR>อย่างงี้ เรา<WBR>ก็<WBR>ตอบ<WBR>เขา<WBR>ว่า ก็<WBR>ฝาก<WBR>พนัก ที่<WBR>เป็น<WBR>ก้อน<WBR>หิน<WBR>ป้าย<WBR>นั้น<WBR>แหละ เป็น<WBR>ที่<WBR>อยู่<WBR>ของ<WBR>หลวง<WBR>ปู่<WBR>โลก<WBR>อุดร<WBR>เกิด ถิ่น<WBR>กำเนิด<WBR>ของ<WBR>ท่าน<WBR>อยู่ ณ ที่<WBR>นี้ องค์<WBR>ที่<WBR>ท่าน<WBR>จำ<WBR>แลง<WBR>รูป ออก<WBR>มา<WBR>จาก<WBR>ก้อน<WBR>หิน<WBR>นี้ คือ<WBR>หลวง<WBR>พ่อ<WBR>โลก<WBR>อุดร ท่าน<WBR>เป็น<WBR>พระ<WBR>อริย<WBR>เจ้า ระดับอภิ<WBR>สมา<WBR>รกาย คือ<WBR>กาย<WBR>ทิพย์ จะ<WBR>ปลอม<WBR>แปลง<WBR>ตัว ให้<WBR>เป็น<WBR>อย่าง<WBR>ไร<WBR>ก็<WBR>ได้ นี่<WBR>รู้<WBR>ไหม<WBR>ว่า<WBR>พวก<WBR>เรา<WBR>เข้า<WBR>มา<WBR>ที่<WBR>นี่ มิ<WBR>ใช่<WBR>ที่<WBR>ราบ<WBR>เรียบ แต่<WBR>เรา<WBR>เดิน<WBR>มา<WBR>อย่าง<WBR>สบาย ขึ้น<WBR>เขา<WBR>หิมาลัย<WBR>มา<WBR>ได้ อย่าง<WBR>ไม่<WBR>รู้<WBR>ว่า<WBR>มัน<WBR>สูง<WBR>ชัน ดู<WBR>โน้น<WBR>ซิ<WBR>โยม หิมะ<WBR>ที่<WBR>ปก<WBR>คลุม<WBR>เขาอเ<WBR>วอเลสต์ ขาว<WBR>โพลน<WBR>ไป<WBR>หมด แต่<WBR>ขาก<WBR>ลับ<WBR>เรา<WBR>ก็<WBR>จะ<WBR>เดิน<WBR>สบาย เพราะ<WBR>ต้อง<WBR>เดิน<WBR>ลง<WBR>ได้<WBR>อานิสงส์<WBR>มาก ทุก<WBR>คน<WBR>ก้าว<WBR>หน้า<WBR>ร่ำ<WBR>รวย<WBR>สบาย<WBR>แล้ว รูป<WBR>นั้น<WBR>ถ่าย<WBR>ด้วย<WBR>กล้อง<WBR>โพโล<WBR>รอย รูป<WBR>จะ<WBR>ออก<WBR>มา<WBR>ให้<WBR>เห็น<WBR>ทัน<WBR>ที แต่<WBR>ที่<WBR>ถ่าย<WBR>ด้วย<WBR>กล้อง<WBR>อย่าง<WBR>ดี<WBR>นั้น วัน<WBR>หลัง<WBR>เอาฟิลม์<WBR>จาก<WBR>กล้อง<WBR>อย่าง<WBR>ดี มา<WBR>ล้าง<WBR>ดู<WBR>จะ<WBR>เป็น<WBR>อย่าง<WBR>ไร และ<WBR>เมื่อ<WBR>ล้าง<WBR>ดู<WBR>แล้ว ก็<WBR>เป็น<WBR>เหมือน<WBR>กัน<WBR>หมด ดัง<WBR>ที่<WBR>เห็น<WBR>ใน<WBR>ภาพ<WBR>นี้<WBR>เอง ใคร<WBR>จะ<WBR>เชื่อ<WBR>หรือ<WBR>ไม่<WBR>เชื่อ ก็<WBR>เป็น<WBR>เรื่อง<WBR>ของ<WBR>ท่าน ขอ<WBR>ให้<WBR>คิด<WBR>เอง แต่<WBR>ผู้<WBR>เขียน<WBR>เชื่อ<WBR>เต็ม<WBR>ร้อย เพราะ<WBR>เรา<WBR>ถ่าย<WBR>ใน<WBR>สถาน<WBR>ที่<WBR>เกิด<WBR>ของ<WBR>ท่าน
    ตัดตอนจาก
    "ย้อนรอยกรรม ตำนานพระสุพรรณกัลยา" โดย หลวงปู่โง่น โสรโย
    (http://www.agalico.com/board/showthread.php?t=2510)
    <DD>ขอขอบคุณแหล่งที่มาด้วยครับ
    <DD>โมทนาสาธุ<!-- / message --><!-- sig -->
    </DD>
     
  11. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
     
  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อย่าลืมนะครับ ขอคำแนะนำ ติชม ในทุกๆเรื่องที่เขียน ผมจะได้เป็นแนวทางในการเขียนหนังสือในครั้งต่อๆไป ผมอยากรู้ว่า ผมเขียนแล้วคนอ่าน อ่านรู้เรื่องหรือเปล่าครับ

    .
     
  13. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    เรื่องนี้ ผมขอมาบอกต่ออีกหน่อยครับ

    การตายที่ไม่ได้อยู่ในฌาณหรืออยู่ในญาณ ส่วนใหญ่จะเป็นการหลงตาย คือเมื่อตายไปแล้วจะนึกอะไรไม่ออก บุญกุศลต่างๆที่เคยทำไว้ก็นึกไม่ได้ การที่ผมบอกว่า เวลาที่เราทำบุญแล้ว ควรบอกหลวงปู่หรือหลวงพ่อหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่เราเคารพนับถือให้มาโมทนาบุญกับเรานั้น เมื่อเราหลงตาย หลวงปู่หรือหลวงพ่อหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่เราเคารพนับถือ ท่านจะมาเป็นผู้ที่ช่วยเหลือเราเอง

    โดยส่วนตัวผม ผมทำมานานแล้ว ผมมีบทกรวดน้ำที่ไม่เหมือนชาวบ้าน ซึ่งผมแอบไปไว้ที่หน้าแรกของกระทู้นี้ แต่ก็ยังไม่ได้ปรับปรุงเป็นฉบับล่าสุดที่ผมใช้อยู่ เนื่องจากเข้าไปแก้ไขไม่ได้ ความยาวของโพส ยาวมากเกินไปครับ แต่ทุกๆท่านสามารถนำไปปรับปรุงตามความเห็นของท่านได้ครับ

    โมทนาสาธุครับ
    .
     
  14. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    มาขอแจ้งอีกรอบนะครับ

    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    เรียนท่านที่ร่วมทำบุญทุกท่าน

    เรื่องของค่าจัดส่งพระพิมพ์และวัตถุมงคล ที่ทุกๆท่านได้ร่วมทำบุญและขอรับพระพิมพ์นั้น ทุกๆท่านไม่ต้องส่งค่าจัดส่งพัสดุมาให้ผมนะครับ เนื่องจากว่า มีท่านที่ร่วมทำบุญค่าจัดส่งพระพิมพ์กับผมหลายท่าน ผมยังมีเงินคงเหลืออยู่กับผม จำนวน 1,918.00 บาท

    โดยปกติ ผมจัดส่งพระพิมพ์ให้ทุกๆท่าน ผมจะส่งเป็น EMS ทุกๆครั้ง เพื่อความปลอดภัยของพัสดุครับ

    โมทนาบุญกับทุกๆท่านครับ

    .

    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    ขอเรียนชี้แจงเรื่องบัญชีที่ทุกๆท่านโอนเงินเพื่อร่วมทำบุญในกระทู้ขอเชิญร่วมสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้ง ณ สำนักสงฆ์ผาผึ้ง อ.บ้านเขว้า จ.ชัยภูมิ บมจ.ธนาคารกรุงไทย สาขาลาดพร้าว102 บช.ออมทรัพย์เลขที่ 1890-13128-8 ชื่อบัญชี นางพิชญ์สินี ชาญปารีชญา ,นายอุเทน งามศิริ ,นายสิรเชษฏ์ ลีละสุนทเลิศ ผมเองไม่สามารถที่จะเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับเงินในบัญชีนี้ได้เลย เพียงแต่ผมเองสามารถขอความช่วยเหลือเรื่องของการตรวจสอบการโอนเงินเข้าบัญชีนี้ได้เท่านั้น

    ดังนั้น เรื่องค่าจัดส่งพระพิมพ์สำหรับกระทู้พระวังหน้าฯ หรือกระทู้ขอเชิญร่วมสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้ง ณ สำนักสงฆ์ผาผึ้ง อ.บ้านเขว้า จ.ชัยภูมิ บมจ.ธนาคารกรุงไทย สาขาลาดพร้าว102 บช.ออมทรัพย์เลขที่ 1890-13128-8 ชื่อบัญชี นางพิชญ์สินี ชาญปารีชญา ,นายอุเทน งามศิริ ,นายสิรเชษฏ์ ลีละสุนทเลิศ ทุกๆท่านจึงไม่จำเป็นต้องโอนเงินค่าจัดส่งมาให้ครับ

    ขอโมทนาบุญกับทุกๆท่านครับ

    *********************************************


    ส่วนท่านที่แจ้งความประสงค์ที่ร่วมทำบุญสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้ง ทั้งท่านที่ได้โอนเงินร่วมบุญแล้ว หรือยังไม่ได้โอนเงินร่วมบุญก็ตาม และยังไม่ได้ pm ชื่อ - นามสกุล และที่อยู่ให้ผม ผมขอความกรุณาช่วย pm มาให้ผมด้วยนะครับ ผมจะได้จัดเตรียมไว้ให้ก่อนครับ

    โมทนาสาธุครับ

    .
    <!-- / message --><!-- sig -->
     
  15. เทพารักษ์

    เทพารักษ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    172
    ค่าพลัง:
    +980
    โอนเงินค่ะ

    โอนเงินเรียบร้อยแล้วนะคะ จำนวน 1,000 บาท

    ^-^ ขอบคุณมากนะคะ ^-^

     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 1000.jpg
      1000.jpg
      ขนาดไฟล์:
      108.9 KB
      เปิดดู:
      34
  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ผมได้ไปหาพี่ใหญ่ พี่ใหญ่ได้เน้นย้ำกับผมมาว่า เรื่องของการทำบุญ ควรทำสม่ำเสมอทุกๆวัน การทำบุญทุกๆวันทำได้ไม่ยากนัก หากระปุกออมสินมาสักใบ ตอนเช้าก่อนไปทำงาน เรานำเงิน(ก็แล้วแต่การตั้งใจว่าเดือนนี้เราจะทำบุญเท่าไร แล้วหารออกมาเป็นวัน) ใส่ในกระปุกที่เราเตรียมไว้ โดยเราตั้งใจจะทำบุญอะไร จากนั้นเราสวด“คาถาเรียกทรัพย์” พุทธะ มะอะอุ นะโมพุทธายะ วิระทะโย วิระโคนายัง วิระหิงสา วิระทาสี วิระทาสา วิระอิตถิโย พุทธัสสะ มานีมามะ พุทธัสสะ สวาโหม"(เป็นคาถาพระปัจเจกโพธิ ของหลวงพ่อปานวัดบางนมโค ที่สอนให้ทำบุญใส่บาตรทุกวัน) เมื่อครบเดือน เราก็นำเงินที่เราจะทำบุญนั้นๆ นำไปทำบุญ ก็เหมือนกับเราได้ทำบุญอยู่ทุกๆวัน ถ้าทำบุญหลายๆอย่าง ก็แบ่งเป็นหลายๆกระปุกก็ได้ อย่าลืมจดไว้หน้ากระปุกด้วยว่าทำบุญอะไรครับ


    ผมขอเพิ่มเติมอีกสักหน่อย ผมมีบทสวดอยู่สองบท ท่านใดจะใช้หรือไม่ใช้ก็ได้นะครับ


    คำจบเงินทำบุญ
    ทรัพย์ของข้าพเจ้า ได้มาด้วยความบริสุทธิ์ ขอบูชาพระพุทธ บูชาพระธรรม บูชาพระสงฆ์ จิตใจจำนง มุ่งตรงต่อพระนิพพาน ขอให้ถึงเมืองแก้ว ขอให้แคล้วบ่วงมาร ขอให้พบพระศรีอาริย์ ในอนาคตกาลเบื้องหน้าโน้น เทอญ
    <o></o>

    และ


    คำอธิฐานขอบารมี<o></o>
    ข้าพเจ้าขอเดชะพลานิสงค์ เมื่อจะปลงชีวิตขอให้คิดได้<o></o>
    ขออย่าได้มีมารมาผจญดลใจ เทพไทจงเห็นเป็นพยาน<o></o>
    ขอให้ข้าพเจ้าได้ขจัดตัดกิเลส ขอข้ามเขตแว่นแคว้นแดนสงสาร<o></o>
    ขอให้ได้สำเร็จประโยชน์โพธิญาณ เข้านิพพานพ้นทุกข์สุขสบาย<o></o>
    ขอให้สมมาตรปรารถนาอย่าช้านัก การสิ่งใดรักชอบให้สมอารมณ์หมาย<o></o>
    ขอให้พบพระทุกชาติอย่าคลาดคลาย ขออย่าให้ตายกลางอายุปัจจุบัน<o></o>
    ตั้งแต่ชาตินี้จนชาติหน้า ขออย่าข้องขัดทรัพย์สินทุกสิ่งสรรพ<o></o>
    การสิ่งใดบาปหยาบช้าทุกสิ่งอัน การสิ่งนั้นขออย่าได้พบประสพเลย<o></o>


    นิพพานะ ปัจจะโย โหตุ<o></o>
    ( อธิฐานทุกครั้ง หลังไหว้พระสวดมนต์แล้ว )<o></o>



    โมทนาสาธุครับ

    .
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 25 เมษายน 2008
  17. jirautes

    jirautes เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    195
    ค่าพลัง:
    +575
    สวัสดีครับพี่ sithiphongผมขอจองพระเพื่อร่วมทำบุญ 2 รายการ
    1.พระสมเด็จวังหน้าจำนวน 2 องค์ 2.พระสมเด็จ(เนื้อปัญจสิริ) 1 องค์
    *วันเสาร์นี้จะใอนเงินไปร่วมทำบุญครับ*
     
  18. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948

    [​IMG]
    พระสมเด็จวังหน้า
    ร่วมทำบุญ 700 บาท/1องค์ จำนวน 5 องค์
    (พี่ท่านนึง จอง 1 องค์) คงเหลือ 4 องค์
    (คุณชวภณ จอง 1 องค์) คงเหลือ 3 องค์
    (คุณnarin96 จอง 1 องค์) คงเหลือ 2 องค์ (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)

    [​IMG]
    พระสมเด็จวังหน้า
    ร่วมทำบุญ 700 บาท/1องค์ จำนวน 5 องค์
    (พี่ท่านนึง จอง 1 องค์) คงเหลือ 4 องค์
    (คุณชวภณ จอง 1 องค์) คงเหลือ 3 องค์
    (คุณnarin96 จอง 1 องค์) คงเหลือ 2 องค์ (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)

    ************************************************

    จองเนื้อละองค์ใช่หรือเปล่าครับ

    .
     
  19. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  20. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    5555ไปกับพี่เค้านี่เหมือนเราเป็นชั้นเตรียมอนุบาลครับ ใครๆก็เรียกป๋าทั้งนั้นเลยครับ ขนาดร้านใส่กรอบ เจ๊ยังไม่ยอมคุยกับผมเลยครับ บอกว่าคุยกับผมไปก็ท่าทางไม่รู้เรื่องคุยกับป๋าดีกว่า55555(eek)
    แต่พี่เค้ามีทีเด็ดครับเป็นคติสอนใจดีครับก่อนกลับพี่เค้าจะเดินมาส่งที่รถก็เจอลุงที่ยกพระขึ้นมาเป็นถุงเลยพี่เค้าก็หยิบมา 1องค์แล้วบอก เอ๊า 100นีงแล้วพี่เค้าก็ยึกยักทำเป็นจะเอาเงินคืน แต่ผมก็เห็นว่าเอะ สายตาเราเห็นว่าไม่น่าจะดีนี่หว่า แล้วพี่เค้าก็หยิบบอกไม่คืนก็แถมอีกองค์ แล้วก็เดินออกมาที่จอดรถพี่เค้าก็ถามว่าน้องนู๋รู้เปล่าว่า เงินพี่100นึงซื้ออะไรทั้งๆที่รู้ว่าเณร ผมก้อึ้งไปพักแล้วเดาไปว่า มิตรภาพมั้งครับ พี่เค้าตอบทันทีว่าใช่แล้วน้องเอ๋ย เยี่ยมและน่าคิดจริงๆครับ กับคมความคิดของพี่เค้านี่ครับ(good)
     

แชร์หน้านี้

Loading...