พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    พระบรมราชานุสาวรีย์พระมหากษัตริย์ และพระอนุสาวรีย์พระบรมวงศ์ในราชวงศ์จักรี
    http://search.sanook.com/knowledge/...%EC%E3%B9%C3%D2%AA%C7%A7%C8%EC%A8%D1%A1%C3%D5

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=fontbold>สารานุกรมไทย ฉบับกาญจนาภิเษก</TD><TD class=fontbold2 align=right>[​IMG][​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    พระบรมราชานุสาวรีย์พระมหากษัตริย์ และพระอนุสาวรีย์พระบรมวงศ์ในราชวงศ์จักรี โดย หม่อมราชวงศ์ศุภวัฒน์ เกษมศรี, คุณหญิงศรีนาถ สุริยะ และ นางสาวเพลินพิศ กำราญ

    อนุสาวรีย์เป็นเครื่องหมาย หรือสัญลักษณ์อันแสดงถึงคุณความดีของบุคคล หรือเป็นที่ระลึกถึงเหตุการณ์สำคัญของบ้านเมือง ปัจจุบันนิยมสร้างอนุสาวรีย์เป็นรูปเหมือนของบุคคลสำคัญหรือเป็นสัญลักษณ์แทนเหตุการณ์สำคัญ แต่ในสมัยโบราณตามคติความเชื่อ หรือวัฒนธรรมดั้งเดิมของคนไทย ไม่นิยมสร้างรูปเหมือนของบุคคลเพื่อเคารพสักการะหรือระลึกถึง เนื่องจากมีความเชื่อว่า การสร้างรูปเหมือนของบุคคลจะไม่เป็นสิริมงคลแก่บุคคลนั้น ด้วยเกรงว่ารูปนั้นจะเป็นเหตุจูงใจให้ภูติผีปีศาจเข้ามากระทำในทางไม่ดีต่อเจ้าของรูป หรือทำให้เจ้าของรูปประสบความหายนะ ด้วยเหตุดังกล่าว คนไทยในสมัยโบราณจึงไม่นิยมทำรูปเหมือนของบุคคลไว้ ไม่ว่าจะเป็นภาพวาด รูปปั้น หรือแม้แต่ภาพถ่าย

    ในอดีตนั้น เมื่อคนไทยเกิดความประทับใจบุคคลหรือวีรกรรมของบุคคล มักสร้างอนุสาวรีย์เป็นสิ่งก่อสร้างอันเนื่องในพระพุทธศาสนา ซึ่งคนไทยยอมรับนับถือสืบทอดกันมานาน ดังจะเห็นได้จากการก่อสร้างพระสถูปที่อำเภอดอนเจดีย์จังหวัดสุพรรณบุรี เพื่อเป็นที่ระลึกถึงการทำสงครามยุทธหัตถีระหว่างสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพระมหาอุปราชา การสร้างพระเจดีย์ที่วัดใหญ่ชัยมงคล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และการสร้างพระเจดีย์ศรีสุริโยทัย ที่วัดสวนหลวงสบสวรรค์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาหรือการสร้างพระพุทธรูปฉลองพระองค์พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช และพระพุทธรูปฉลองพระองค์พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เป็นต้น

    ต่อมาเมื่อมีการติดต่อสัมพันธ์กับประเทศต่างๆ ทางตะวันตกมากขึ้น โดยเฉพาะในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น จึงรับเทคโนโลยีและวัฒนธรรมจากชาติตะวันตกอย่างเต็มที่ เพราะตระหนักถึงความจำเป็นที่จะต้องปรับปรุงประเทศให้เจริญทัดเทียมนานาอารยประเทศ เพื่อป้องกันมิให้ตกเป็นอาณานิคมของชาติตะวันตก ในด้านประติมากรรมก็เช่นเดียวกัน ไทยเริ่มยอมรับแบบแผนอย่างชาติตะวันตก ดังจะเห็นได้จากการที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้สร้างพระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวขนาดเท่าพระองค์จริงฉลองพระองค์แบบไทยประดิษฐานไว้ ณ พระที่นั่งศิวาลัยมหาปราสาทเพื่อถวายสักการะในงานพระราชพิธีฉัตรมงคลและพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ในฐานะที่ทรงสถาปนาพระบรมราชจักรีวงศ์ และทรงสร้างกรุงรัตนโกสินทร์ให้เจริญรุ่งเรืองสืบมาถึง ๑๐๐ ปีเมื่อพุทธศักราช ๒๔๒๕ ต่อมา ในปีพุทธศักราช ๒๔๖๐ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เชิญไปประดิษฐาน ณ พุทธปรางค์ปราสาท ในวัดพระศรีรัตนศาสดารามซึ่งภายหลังพระราชทานนามว่า ปราสาทพระเทพบิดร และมีการหล่อพระบรมรูปพระมหากษัตริย์รัชกาลต่อๆ มาประดิษฐานไว้ด้วย

    พระบรมราชานุสาวรีย์แห่งแรกที่สร้างไว้ในที่สาธารณะ และเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้าไปสักการะบูชาได้ คือ พระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ณ ลานพระราชวังดุสิต ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีว่า “พระบรมรูปทรงม้า” พระบรมราชานุสาวรีย์แห่งนี้พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชสยามมกุฎราชกุมาร โปรดให้เรี่ยไรเงินจากพระบรมวงศานุวงศ์และราษฎรเป็นค่าก่อสร้าง โดยจ้างประติมากรชาวฝรั่งเศส ให้เป็นผู้ปั้นหล่อในประเทศฝรั่งเศส เนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงครองราชย์ได้ ๔๑ ปี ยาวนานกว่าพระมหากษัตริย์รัชกาลก่อน ๆ ในปีพุทธศักราช ๒๔๕๒ เมื่อปั้นหล่อแล้วเสร็จจึงส่งมาประดิษฐานในประเทศไทย รายได้ที่เหลือจากการก่อสร้างพระบรมราชานุสาวรีย์ได้นำไปใช้ในการก่อสร้างจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


    การปั้นหล่อรูปเหมือน หรืออนุสาวรีย์แบบตะวันตกเริ่มแพร่หลายในประเทศไทยในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยมีศาสตราจารย์ศิลป พีระศรี เป็นผู้บุกเบิกและวางรากประติมากรรม แบบใหม่ในไทยศาสตราจารย์ศิลป พีระศรี มีนามเดิมว่า คอร์ราโดเฟโรจี (Corrado Feroci) เป็นชาวอิตาเลียนเกิดที่เมืองฟลอเรนซ์ (FIorence) จบการศึกษาจากสถาบันศิลปะชั้นสูงแห่งเมืองฟลอเรนซ์ และเป็นอาจารย์สอนศิลปะ


    ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระราชประสงค์จะได้ช่างปั้นเข้ามาช่วยงานสร้างอนุสาวรีย์ ศาสตราจารย์ศิลป พีระศรี จึงมาสมัครเข้ารับราชการ ในปีพุทธศักราช ๒๔๖๖ ในตำแหน่งช่างปั้นประจำกรมศิลปากร ต่อมาท่านได้ก่อตั้งโรงเรียนสอนศิลปะ โดยร่วมมือกับช่างศิลปกรรมไทยและข้าราชการกรมศิลปากร เปิดสอนแผนกจิตรกรรม เละประติมากรรม ซึ่งมีช่างปั้นเป็นจำนวนมากที่เรียนจบจากโรงเรียนแห่งนี้ ต่อมาโรงเรียนสอนศิลปะแห่งนี้ได้เลื่อนฐานะเป็นมหาวิทยาลัยศิลปากร เมื่อปีพุทธศักราช ๒๔๘๖

    ดังนั้น การก่อสร้างอนุสาวรีย์ในประเทศไทย และการปั้นหล่อพระบรมรูปพระมหากษัตริย์ตลอดจนบุคคลสำคัญทั้งหลาย จึงเป็นฝีมือของศาสตราจารย์ศิลป พีระศรี และลูกศิษย์ที่รับสืบทอดต่อมา ประกอบกับแนวความคิดในสังคมไทยได้เปลี่ยนแปลงไป เกิดการยอมรับว่า การสร้างอนุสาวรีย์เป็นเครื่องเตือนใจให้น้อมรำลึกถึงคุณงามความดีของบุคคล ความนิยมในการสร้างอนุสาวรีย์จึงแพร่หลายขึ้น โดยเฉพาะเกี่ยวกับพระมหากษัตริย์ และเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์


    เพื่อให้การก่อสร้างอนุสาวรีย์มีความถูกต้องตามหลักฐานทางประวัติศาสตร์และมีคุณค่าทางศิลปกรรม ตลอดจนการกำหนดลักษณะและสถานที่ตั้งให้เหมาะสม รัฐบาลตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าวนี้ คณะรัฐมนตรีจึงมีมติให้ใช้ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการก่อสร้างอนุสาวรีย์แห่งชาติ และการจำลองพระพุทธรูปสำคัญ พุทธศักราช ๒๕๒๐ กำหนดให้กรมศิลปากร กระทรวงศึกษาธิการ เป็นผู้รับผิดชอบพิจารณาอนุมัติการก่อสร้างอนุสาวรีย์ของบุคคลสำคัญของชาติไทย โดยให้คำนึงถึงความเหมาะสมเกี่ยวกับรูปลักษณะและสถานที่ตั้ง ให้ทั้งราชการและภาคเอกชนขออนุญาตตามระเบียบก่อนการก่อสร้าง ส่วนการจำลองพระพุทธรูปสำคัญและพระบรมรูปของพระมหากษัตริย์และพระบรมวงศ์ในราชวงศ์จักรีจะต้องได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาต โดยเสนอผ่านกรมศิลปากร กระทรวงศึกษาธิการ และสำนักเลขาธิการ คณะรัฐมนตรี ทั้งนี้เพื่อธำรงรักษาเอกลักษณ์และศิลปวัฒนธรรมของชาติ

    ตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการก่อสร้างอนุสาวรีย์แห่งชาติ และการจำลองพระพุทธรูปสำคัญ พุทธศักราช ๒๕๒๐ ให้คำอธิบายไว้ว่า

    “พระบรมราชานุสาวรีย์" หมายความว่า อนุสาวรีย์ของพระมหากษัตริย์ซึ่งได้ทรงประกอบพระราชกรณียกิจเป็นคุณยิ่งใหญ่แก่ชาติไทยในยุคสมัยต่าง ๆ ตามที่มีเรื่อง หรือพระนามปรากฏในเอกสาร หรือหลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดี พระบรมราชานุสาวรีย์นั้นจะได้ประดิษฐานไว้ในที่สาธารณะ หรือ ณ ที่ซึ่งเปิดให้มหาชนสักการะบูชาและชมได้


    "อนุสาวรีย์บุคคลสำคัญ” หมายความว่า สิ่งก่อสร้างที่เป็นเครื่องหมายน้อมนำให้ระลึกถึงวีรกรรม หรือคุณความดีของบุคคลที่ได้ประกอบกรณียกิจ เป็นคุณประโยชน์อย่างยิ่งใหญ่ไว้แก่บ้านเมือง สมควรจะสร้างอนุสาวรีย์ไว้ให้ปรากฏเพื่อเป็นที่รวมพลังใจ พลังศรัทธา และความนิยมนับถือของประชาชน เพื่อให้เป็นแบบฉบับแก่อนุชนไทยสืบต่อไป และสิ่งก่อสร้างนั้นจะได้ประดิษฐานไว้ในที่สาธารณะหรือ ณ ที่ซึ่งเปิดให้มหาชนสักการะบูชาหรือชมได้

    http://search.sanook.com/knowledge/...พระมหากษัตริย์และราชวงศ์&subgr_id=37&ie=UTF-8
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 6 มกราคม 2008
  2. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    พระบรมราชานุสาวรีย์พระมหากษัตริย์ และพระอนุสาวรีย์พระบรมวงศ์ในราชวงศ์จักรี
    http://search.sanook.com/knowledge/e...A8%D1%A1%C3%D5

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=fontbold>สารานุกรมไทย ฉบับกาญจนาภิเษก</TD><TD class=fontbold2 align=right>[​IMG][​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>


    ในปัจจุบันได้มีส่วนราชการและเอกชนสร้างพระบรมราชานุสาวรีย์ขึ้นเป็นจำนวนมากโดยเฉพาะพระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งหลายจังหวัดได้สร้างขึ้น และบางจังหวัดสร้างขึ้นหลายแห่ง ทั้งนี้เนื่องจากพระองค์ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจตลอดระยะเวลาที่ทรงครองราชย์ยาวนานถึง ๔๒ ปี ส่วนพระบรมราชานุสาวรีย์พระมหากษัตริย์พระองค์อื่น ๆ นั้น ในที่นี้ จะนำมากล่าวเฉพาะที่เป็นพระบรมราชานุสาวรีย์สำคัญของชาติ ซึ่งได้แก่
    ๑. พระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ประดิษฐาน ณ ลานพระปฐมบรมราชานุสรณ์ สะพานพระพุทธยอดฟ้า
    ๒. พระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ที่พระบรมราชานุสรณ์วัดอัมพวันเจติยาราม จังหวัดสมุทรสงคราม
    ๓. พระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ลานหน้าพลับพลามหาเจษฎาบดินทร์ หน้าวัดราชนัดดาราม
    ๔. พระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
    ๕. พระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระบรมรูปทรงม้า) ลานพระราชวังดสิต
    ๖. พระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระมงกฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่สวนลุมพินี
    ๗. พระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่หน้ารัฐสภา
    ๘. พระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ที่ลานพระวิหารวัดสุทัศนเทพวราราม
    ๙. พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท ที่วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์
    ๑๐. พระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่โรงละครแห่งชาติ

    นอกจากนี้ ยังมีพระราชานุสาวรีย์และพระอนุสาวรีย์พระบรมวงศ์ที่ทรงบำเพ็ญคุณประโยชน์แก่ประเทศชาติ เช่น
    ๑. สมเด็จพระศรีสวรินทิรา บรมราชเทวีพระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า ที่โรงพยาบาลสมเด็จศรีราชา จังหวัดชลบุรี
    ๒. สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ที่โรงพยาบาลศิริราช
    ๓. สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีที่อุทยานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนคริน-ทราบรมราชชนนี ตามพระราชดำริ ณ ชุมชนวัดอนงคาราม
    ๔. สมเด็จพระkจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ ที่กระทรวงการต่างประเทศ
    ๕. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร พระบิดาแห่งการสาธารณสุขที่กระทรวงสาธารณสุข
    ๖. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ ที่กองบัญชาการทหารอากาศ
    ๗. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ พระบิดาแห่งประวัติศาสตร์และการปกครอง ที่กระทรวงมหาดไทย
    ๘. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม ที่จังหวัดอุดรธานี
    ๙. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน ที่ที่ว่าการการรถไฟแห่งประเทศไทย
    ๑๐. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ ผู้วางรากฐานการสหกรณ์ ที่กระทรวงพาณิชย์
    ๑๑. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ ที่ฐานทัพเรือสัตหีบ
    ๑๒. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช ที่ค่ายจิรประวัติ จังหวัดนครสวรรค์
    ๑๓. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ที่กระทรวงยุติธรรม

    บรรณานุกรม
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  3. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ธงประจำพระองค์
    http://search.sanook.com/knowledge/...le=%B8%A7%BB%C3%D0%A8%D3%BE%C3%D0%CD%A7%A4%EC

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=fontbold>สารานุกรมไทย ฉบับกาญจนาภิเษก</TD><TD class=fontbold2 align=right>[​IMG][​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>


    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=10 bgColor=#cccccc border=0><TBODY><TR><TD align=middle bgColor=#ffffff>[​IMG]
    <TABLE><TBODY><TR><TD noWrap>[ดูภาพทั้งหมดในเรื่องนี้] </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=fontblackmini>ธงจอมเกล้า</TD><TD align=right>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE><TBODY><TR><TD noWrap>[ดูภาพทั้งหมดในเรื่องนี้] </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE class=fontblacksm cellSpacing=0 cellPadding=5 width="100%" border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD>ธงประจำพระองค์ โดย รองศาสตราจารย์ธงทอง จันทรางศุ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  4. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://search.sanook.com/knowledge/...8%D3%BE%C3%D0%CD%A7%A4%EC&id=3029&actype=main

    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=10 align=center bgColor=#cccccc border=0><TBODY><TR><TD align=middle bgColor=#ffffff>[​IMG]


    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=fontbold align=middle><TEXTAREA class=slideshow-text style="WIDTH: 300px" name=SLIDESTEXT rows=3 readOnly wrap=virtual cols=30>ธงชัยราชกระบี่ยุทธ์</TEXTAREA></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=5 width="100%" bgColor=#cccccc border=0><TBODY><TR><TD class=fontblackmini bgColor=#efefef>[​IMG] เกี่ยวกับกฏหมาย / Legal note</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  5. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ธงประจำพระองค์
    http://search.sanook.com/knowledge/e...D0%CD%A7%A4%EC

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=fontbold>สารานุกรมไทย ฉบับกาญจนาภิเษก</TD><TD class=fontbold2 align=right>[​IMG][​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=10 bgColor=#cccccc border=0><TBODY><TR><TD align=middle bgColor=#ffffff>[​IMG]
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=fontblackmini>ธงมหาราช</TD><TD align=right>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=10 bgColor=#cccccc border=0><TBODY><TR><TD align=middle bgColor=#ffffff>[​IMG]
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=fontblackmini>ธงมหาราช</TD><TD align=right>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE><TBODY><TR><TD noWrap>[ดูภาพทั้งหมดในเรื่องนี้]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE class=fontblacksm cellSpacing=0 cellPadding=5 width="100%" border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD>ธงมหาราชาใหญ่
    เป็นธงพื้นสีเหลือง ตามสีของแพรแถบสายสะพายเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ ขนาดกว้าง ๑ ส่วน ยาว ๑ ส่วน (รูปสี่เหลี่ยมจตุรัส) ตรงกลางเป็นรูปพระครุฑพ่าห์สีแดง เนื่องมาจากคตินิยมที่ว่า พระนารายณ์เป็นเจ้าอวตารจากสรวงสวรรค์ ลงมาปราบยุคเข็ญในโลกมนุษย์ตามยุคสมัยต่างๆ รวมทั้งสมัยเมื่ออวตารมาเป็นพระรามครองกรุงศรีอยุธยาด้วย ด้วยเหตุนี้พระมหากษัตริย์สมัยกรุงศรีอยุธยาต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน จึงมีพระปรมาภิไธยส่วนหนึ่งว่า
     
  6. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
  7. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ธงประจำพระองค์
    http://search.sanook.com/knowledge/e...D0%CD%A7%A4%EC

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=fontbold>สารานุกรมไทย ฉบับกาญจนาภิเษก</TD><TD class=fontbold2 align=right>[​IMG][​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    <TABLE class=fontblacksm cellSpacing=0 cellPadding=5 width="100%" border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD>


    ธงบรมราชวงศ์ใหญ่

    ธงบรมราชวงศ์ใหญ่สร้างขึ้นเป็นครั้งแรกในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลปัจจุบัน โดยพระราชบัญญัติ พุทธศักราช ๒๕๒๒ สำหรับพระราชอิสริยยศสมเด็จพระบรมราชชนนี ลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง ๒ ส่วน ยาว ๓ ส่วน พื้นธงสีเหลือง ปลายธงทำเป็นแฉกรูปหางนกแซงแซวลึกหนึ่งในสามส่วนของความยาวของผืนธง ที่ตรงกลางตอนต้น ๒ ใน ๓ ส่วนของผืนธงเป็นรูปสี่เหลี่ยมจตุรัสสีขาบ มีขนาดกว้างยาวครึ่งหนึ่งของความกว้างของผืนธง ภายในรูปสี่เหลี่ยมจตุรัสมีมงกุฎขัตติยราชนารี อันเป็นศิราภรณ์สำหรับพระราชอิสริยยศสมเด็จพระบรมราชชนนี ประดิษฐานบนพานแว่นฟ้าสองชั้นเหนือตั่ง และมีตั่งลดตั้งฉัตรกลีบบัวห้าชั้นอยู่สองข้าง รูปเหล่านี้เป็นสีเหลืองเข้ม
    [กลับหัวข้อหลัก]


    </TD><TD align=right><TABLE><TBODY><TR><TD noWrap>[ดูภาพทั้งหมดในเรื่องนี้] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=fontblacksm cellSpacing=0 cellPadding=5 width="100%" border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD>ธงบรมราชวงศ์น้อย
    ธงบรมราชวงศ์น้อย ตอนต้นมีลักษณะและสีอย่างเดียวกับธงบรมราชวงศ์ใหญ่ แต่กว้างไม่เกิน ๖๐ เซนติเมตร ตอนปลายต่อชายสีแดงแปลงเป็นธงรูปยาวเรียว ปลายสุดกว้างครึ่งหนึ่งของตอนต้น ปลายธงทำเป็นแฉกรูปหางนกแซงแซว ลึก ๓ ใน ๘ ส่วนของความยาวของผืนธง ความยาวของผืนธงเป็น ๘ เท่าของความกว้างของตอนต้น ธงนี้ถ้าชักขึ้นแทนธงบรมราชวงศ์ใหญ่ หมายความว่า โปรดเกล้าฯ ให้งดการยิงสลุตถวายคำนับ

    อนึ่ง ควรสังเกตว่า ธงบรมราชวงศ์นี้ มีแต่ฝ่ายใน เพราะไม่เคยปรากฏในประวัติศาสตร์ว่าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสละราชสมบัติแล้วประทับอยู่ภายในประเทศ ซึ่งจำเป็นต้องใช้ธงแสดงพระราชอิสริยยศ
    [กลับหัวข้อหลัก]

    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=10 bgColor=#cccccc border=0><TBODY><TR><TD align=middle bgColor=#ffffff>[​IMG]
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=fontblackmini>ธงเยาวราชใหญ่</TD><TD align=right>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE><TBODY><TR><TD noWrap>[ดูภาพทั้งหมดในเรื่องนี้] </TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD><TD align=right><TABLE><TBODY><TR><TD noWrap>[ดูภาพทั้งหมดในเรื่องนี้] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=fontblacksm cellSpacing=0 cellPadding=5 width="100%" border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD>ธงเยาวราชใหญ่
    ธงเยาวราชมีขึ้นเป็นครั้งแรกในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีลักษณะคล้ายธงบรมราชธวัชมหาสยามินทร์ แต่ลดฉัตรเจ็ดชั้นสองข้างเปลี่ยนเป็นฉัตรห้าชั้นสำหรับพระราชอิสริยยศสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชสยามมกุฎราชกุมาร แต่ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีการเปลี่ยนรูปลักษณะใหม่ และยังคงใช้ธงเยาวราชที่กำหนดขึ้นใหม่นี้ตราบจนกระทั่งปัจจุบัน โดยแบ่งออกเป็นสองอย่าง คือ ธงเยาวราชใหญ่ และธงเยาวราชน้อย

    ธงเยาวราชใหญ่ เป็นธงรูปสี่เหลี่ยมจตุรัส พื้นนอกสีขาบ พื้นในสีเหลือง ส่วนกว้างเท่ากับครึ่งหนึ่งของพื้นนอก กลางธงเป็นรูปพระครุฑพ่าห์สีแดง ใช้สำหรับชักขึ้นบนเสาใหญ่ในเรือพระที่นั่ง หรือเรือรบที่สมเด็จพระยุพราชเสด็จโดยพระราชอิสริยยศ เป็นเครื่องหมายว่า ได้เสด็จโดยเรือลำนั้น
    [กลับหัวข้อหลัก]


    </TD><TD align=right>
    <TABLE><TBODY><TR><TD noWrap> </TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=fontblacksm cellSpacing=0 cellPadding=5 width="100%" border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD>ธงเยาวราชน้อย
    ธงเยาวราชน้อย ตอนต้นมีลักษณะและสัณฐานเหมือนธงเยาวราชใหญ่ กว้างไม่เกิน ๖๐ เซนติเมตร ส่วนปลายมีชายต่อสีขาว แปลงเป็นรูปธงยาวเรียว ปลายกว้างครึ่งหนึ่งของส่วนต้นความยาวโดยตลอดเป็น ๘ เท่าของความกว้างตอนต้น ปลายตัดเป็นแฉกรูปหางนกแซงแซวลึก ๓ ใน ๘ ของส่วนยาว ใช้แทนธงเยาวราชใหญ่เมื่อโปรดเกล้าฯ ให้งดการยิงสลุตถวายคำนับ
    [กลับหัวข้อหลัก]

    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=10 bgColor=#cccccc border=0><TBODY><TR><TD align=middle bgColor=#ffffff>[​IMG]
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=fontblackmini>ธงเยาวราชใหญ่ฝ่ายใน</TD><TD align=right>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE><TBODY><TR><TD noWrap>[ดูภาพทั้งหมดในเรื่องนี้] </TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD><TD align=right><TABLE><TBODY><TR><TD noWrap>[ดูภาพทั้งหมดในเรื่องนี้] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=fontblacksm cellSpacing=0 cellPadding=5 width="100%" border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD>ธงเยาวราชใหญ่ฝ่ายใน
    เป็นธงรูปสี่เหลี่ยม ขนาดกว้าง ๒ ส่วน ยาว ๓ ส่วน ลักษณะตอนต้น ๒ ใน ๓ เหมือนกับธงเยาวราชใหญ่ ปลายธงตัดเป็นแฉกรูปหางนกแซงแซว ลึก ๑ ใน ๓ ของส่วนยาวใช้ประจำพระองค์พระวรชายาแห่งสมเด็จพระยุพราช
    [กลับหัวข้อหลัก]

    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=10 bgColor=#cccccc border=0><TBODY><TR><TD align=middle bgColor=#ffffff>[​IMG]
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=fontblackmini>ธงเยาวราชน้อยฝ่ายใน</TD><TD align=right>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE><TBODY><TR><TD noWrap>[ดูภาพทั้งหมดในเรื่องนี้] </TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD><TD align=right>
    <TABLE><TBODY><TR><TD noWrap> </TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=fontblacksm cellSpacing=0 cellPadding=5 width="100%" border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD>ธงเยาวราชน้อยฝ่ายใน
    มีลักษณะและขนาดเช่นเดียวกับธงเยาวราชน้อย แต่ต่างกันที่ชายธงเป็นสีแดง ใช้แทนธงเยาวราชใหญ่ฝ่ายใน ในกรณีที่โปรดให้งดการยิงสลุต
    [กลับหัวข้อหลัก]

    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=10 bgColor=#cccccc border=0><TBODY><TR><TD align=middle bgColor=#ffffff>[​IMG]
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=fontblackmini>ธงราชวงศ์ใหญ่</TD><TD align=right>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE><TBODY><TR><TD noWrap>[ดูภาพทั้งหมดในเรื่องนี้]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD><TD align=right>
    <TABLE><TBODY><TR><TD noWrap> </TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=fontblacksm cellSpacing=0 cellPadding=5 width="100%" border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD>ธงราชวงศ์ใหญ่
    เป็นธงสำหรับพระอิสริยยศพระราชโอรสในพระมหากษัตริย์ รวมตลอดถึงสมเด็จพระเจ้าพี่ยาเธอ หรือสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ ซึ่งร่วมสมเด็จพระบรมราชชนกชนนีกับพระมหากษัตริย์ไม่ว่าในรัชกาลใด เป็นธงพื้นสีขาบ ขนาดกว้าง ๑ ส่วน ยาว ๑ ส่วน (รูปสี่เหลี่ยมจตุรัส) ที่กลางธงมีวงกลมสีเหลีอง ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเท่ากับกึ่งหนึ่งของส่วนกว้างของธง ภายในวงกลมมีรูปพระครุฑพ่าห์สีแดง
    [กลับหัวข้อหลัก]

    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=10 bgColor=#cccccc border=0><TBODY><TR><TD align=middle bgColor=#ffffff>[​IMG]
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=fontblackmini>ธงราชวงศ์น้อย</TD><TD align=right>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE><TBODY><TR><TD noWrap>[ดูภาพทั้งหมดในเรื่องนี้]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD><TD align=right>
    <TABLE><TBODY><TR><TD noWrap> </TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=fontblacksm cellSpacing=0 cellPadding=5 width="100%" border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD>ธงราชวงศ์น้อย
    ตอนต้น มีลักษณะเหมือนธงราชวงศ์ใหญ่กว้างไม่เกิน ๖๐ เซนติเมตร มีชายต่อสีขาวแปลงเป็นธงยาวเรียว ปลายธงกว้างครึ่งหนึ่งของความกว้างตอนต้น ชายตัดเป็นแฉกรูปหางนกแซงแซว ใช้ชักแทนธงราชวงศ์ใหญ่ เมื่อไม่มีพระประสงค์ให้ยิงสลุตถวายคำนับ
    [กลับหัวข้อหลัก]

    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=10 bgColor=#cccccc border=0><TBODY><TR><TD align=middle bgColor=#ffffff>[​IMG]
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=fontblackmini>ธงราชวงศ์ใหญ่ฝ่ายใน</TD><TD align=right>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE><TBODY><TR><TD noWrap>[ดูภาพทั้งหมดในเรื่องนี้]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD><TD align=right>
    <TABLE><TBODY><TR><TD noWrap> </TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=fontblacksm cellSpacing=0 cellPadding=5 width="100%" border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD>ธงราชวงศ์ใหญ่ฝ่ายใน
    เป็นธงสำหรับพระราชอิสริยยศพระราชธิดาในพระมหากษัตริย์ รวมตลอดถึงสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ หรือสมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอซึ่งร่วมสมเด็จพระบรมราชชนกชนนีกับพระมหากษัตริย์ไม่ว่าในรัชสมัยใด ลักษณะของธงเหมือนธงราชวงศ์ใหญ่ฝ่ายหน้า แต่ชายธงตัดเป็นแฉกรูปหางนกแซงแซว
    [กลับหัวข้อหลัก]

    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=10 bgColor=#cccccc border=0><TBODY><TR><TD align=middle bgColor=#ffffff>[​IMG]
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=fontblackmini>ธงราชวงศ์น้อยฝ่ายใน</TD><TD align=right>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE><TBODY><TR><TD noWrap>[ดูภาพทั้งหมดในเรื่องนี้]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD><TD align=right>
    <TABLE><TBODY><TR><TD noWrap> </TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=fontblacksm cellSpacing=0 cellPadding=5 width="100%" border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD>ธงราชวงศ์น้อยฝ่ายใน
    ลักษณะเหมือนธงราชวงศ์น้อยฝ่ายหน้า คือ แบ่งออกเป็นสองตอน ตอนต้นพื้นสีขาบ กว้างไม่เกิน ๖๐ เซนติเมตร มีรูปวงกลมสีเหลืองภายในมีรูปพระครุฑพ่าห์สีแดงอยู่ตรงกลาง ตอนปลายธงมีชายต่อเป็นธงยาวเรียวปลายสีแดง ใช้แทนธงราชวงศ์ใหญ่ฝ่ายใน เมื่อมีพระประสงค์ไม่ให้ยิงสลุตถวายคำนับ

    ธงประจำพระองค์ทั้งหมดนี้ มีกฎหมายรองรับ ในปัจจุบันได้แก่ พระราชบัญญัติธงพุทธศักราช ๒๕๒๒ กฎหมายฉบับนี้มิได้เปลี่ยนแปลงหลักการสำคัญที่ใช้กันมาแต่ก่อนแต่อย่างใด ธงประจำพระองค์ส่วนใหญ่มีรูปลักษณะตามที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัวทรงกำหนดขึ้นเป็นสำคัญ หากแต่ได้มีการเพิ่มเติมธงประจำพระองค์บางอย่างขึ้น เช่น ธงบรมราชวงศ์ใหญ่ และธงบรมราชวงศ์น้อย เพื่อให้เหมาะสมแก่สมัยและความจำเป็นในราชการ
    [กลับหัวข้อหลัก]

    บรรณานุกรม
     
  8. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    พึ่งจะเลี่ยมมาวันนี้ตอนเย็นเอง นำมาเป็นองค์ประธาน ส่วนซ้ายเป็นสมเด็จ และขวาเป็นพระปิดตา

    พรุ่งนี้จะเริ่มห้อยแล้วครับ

    .
     
  9. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    น้ำดี และเป็นเสริมด้านอำนาจให้เจ้าชาตา (good)
     
  10. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    เลี่ยมจับขอบ ให้เนื้อพลอยถูกเนื้อตัว ดูดซับจิตวิญญาณ หรือเลี่ยมกรอบปิด แล้วเจาะรูครับ
     
  11. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    พึ่งจะเลี่ยมมาวันนี้ตอนเย็นเอง นำมาเป็นองค์ประธาน ส่วนซ้ายเป็นสมเด็จ และขวาเป็นพระปิดตา

    พรุ่งนี้จะเริ่มห้อยแล้วครับ

    .
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    ผมเลี่ยมแล้วเจาะรูครับ

    เจาะ 3 รูเลยครับ

    .
     
  12. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    ผมเลี่ยมพระพิมพ์...อัดพลาสติกหลังแต่หน้าเปิดเต็มองค์ให้เจ้าโด เขาห้อยเมื่อวานปรากฎว่าไม่ค่อยสบายมีอาการไข้เล็กน้อย กลางคืนนอนไม่ได้ ท่าทางเขาจะต้องปรับอีกสัก 1-2วันน่าจะดีขึ้นมากๆครับ
     
  13. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    เลี่ยมแล้วองค์ใหญ่จริงๆ ช่างเลี่ยมบ่นเลยว่า หาของยากมาให้ทำ (มักเป็นเกือบทุกรอบ) ถ้าไปหาที่เลี่ยมที่ท่าพระจันทร์ไม่ได้ ต้องมาร้านนี้ มีเกือบทุกอย่าง แต่มีหลายๆอย่างที่คงต้องไปเลี่ยมร้านเฉพาะครับ

    .
     
  14. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948

    เยี่ยมครับ

    งานนี้เยี่ยมมาก

    (good)
     
  15. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    พระบรมราชจักรีวงศ์
    http://search.sanook.com/knowledge/enc_preview.php?id=2964&title=%BE%C3%D0%BA%C3%C1%C3%D2%AA%A8%D1%A1%C3%D5%C7%A7%C8%EC

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=fontbold>สารานุกรมไทย ฉบับกาญจนาภิเษก</TD><TD class=fontbold2 align=right>[​IMG][​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    พระบรมราชจักรีวงศ์ โดย หม่อมราชวงศ์ศุภวัฒน์ เกษมศรี, คุณหญิงศรีนาถ สุริยะ และ นางสาวเพลินพิศ กำราญ

    ในตอนปลายรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช บ้านเมืองมีความระส่ำระสาย และเกิดจลาจลขึ้น พระยาสรรค์กับพวกเข้าควบคุมสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช นำไปกักขังไว้ในพระอุโบสถวัดแจ้ง (วัดอรุณราชวราราม) ขณะนั้นพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชยังทรงตำรงพระยศเป็นสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก (หรือบางแห่งเรียกว่าพระเจ้ากษัตริย์ศึกบ้าง เจ้าฟ้ากษัตริย์ศึกบ้าง) กับสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท ในขณะนั้นดำรงพระยศเป็นเจ้าพระยาสุรสีห์ ได้เสด็จยกกองทัพไปปราบจลาจลที่ประเทศกัมพูชาดังนั้น ในกรุงธนบุรีจึงขาดผู้มีกำลังและความสามารถอันเป็นหลักที่พึ่งของบ้านเมือง เมื่อทั้งสองพระองค์ทรงทราบเหตุจลาจล จึงรีบเลิกทัพกลับเข้ามายังกรุงธนบุรี เมื่อเสด็จถึง ข้าราชการสมณชีพราหมณ์ ตลอดจนอาณาประชาราษฎร์ต่างก็ชื่นชมยินดี พากันออกไปต้อนรับและอัญเชิญเข้าในพระราชวัง และกราบทูลเชิญเสด็จขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติปกครองแผ่นดิน เพื่อให้เป็นร่มโพธิ์คุ้มครองไพร่ฟ้าประชาชนสืบไปเมื่อพระองค์ทรงรับอาราธนาแล้ว ได้ทรงปราบดาภิเษกขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ เมื่อวันที่ ๖ เมษายน พุทธศักราช ๒๓๒๕ ขณะพระชนมพรรษาได้ ๔๖ พรรษาเศษ และสถาปนาพระราชวงศ์ขึ้นใหม่ คือ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  17. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    พระบรมราชจักรีวงศ์
    http://search.sanook.com/knowledge/enc_preview.php?id=2964&title=%BE%C3%D0%BA%C3%C1%C3%D2%AA%A8%D1%A1%C3%D5%C7%A7%C8%EC

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=fontbold>สารานุกรมไทย ฉบับกาญจนาภิเษก</TD><TD class=fontbold2 align=right>[​IMG][​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    พระบรมราชจักรีวงศ์ โดย หม่อมราชวงศ์ศุภวัฒน์ เกษมศรี, คุณหญิงศรีนาถ สุริยะ และ นางสาวเพลินพิศ กำราญ



    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=10 bgColor=#cccccc border=0><TBODY><TR><TD align=middle bgColor=#ffffff>
    [​IMG]<TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=fontblackmini>พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD><TD align=right>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=10 bgColor=#cccccc border=0><TBODY><TR><TD align=middle bgColor=#ffffff>
    [​IMG]<TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=fontblackmini>พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว</TD><TD align=right>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=10 bgColor=#cccccc border=0><TBODY><TR><TD align=middle bgColor=#ffffff>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=fontblackmini>[​IMG]

    มหาราชทั้ง ๓ พระองค์ : พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

    </TD><TD align=right>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>​

    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=10 bgColor=#cccccc border=0><TBODY><TR><TD align=middle bgColor=#ffffff>
    [​IMG]<TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=fontblackmini>มหาราชทั้ง ๓ พระองค์ : พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระปิยมหาราช</TD><TD align=right>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=10 bgColor=#cccccc border=0><TBODY><TR><TD align=middle bgColor=#ffffff>
    [​IMG]<TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=fontblackmini>มหาราชทั้ง ๓ พระองค์ : พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช</TD><TD align=right>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE><TBODY><TR><TD noWrap>[ดูภาพทั้งหมดในเรื่องนี้] </TD></TR></TBODY></TABLE>

    พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงตั้งพระราชปณิธานอันแน่วแน่ว่า
     
  18. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    เรียนทุกๆท่านที่มีความประสงค์ที่จะร่วมทำบุญและขอรับพระพิมพ์ และทุกๆท่านที่ pm เข้ามาหาผมครับ

    ผมขอเรียนว่า หลังจากนี้ที่ทุกๆท่านที่ร่วมทำบุญ ผมจะไม่ลงในรายละเอียดว่า ท่านใดที่ทำบุญมาวันไหน จำนวนเท่าไรนะครับ แต่ผมจะนำรายชื่อที่ทุกๆท่าน ได้ร่วมทำบุญ นำไปถวายพระอาจารย์นิลครับ

    ช่วงนี้ผมขอผลัดการนำพระพิมพ์มามอบให้กับท่านที่มีความประสงค์ที่จะร่วมทำบุญและขอรับพระพิมพ์ไปก่อน หลังกลางเดือนมกราคม 2551 ผมจะมาแจ้งให้ทุกๆท่านทราบกันอีกครั้งว่า จะมอบพระพิมพ์อะไรให้กับทุกๆท่านที่ร่วมทำบุญกัน ขอเวลาให้น้องท่านนึงถ่ายรูปให้ก่อนครับ

    ส่วนท่านที่ pm เข้ามาหาผมเป็นภาษาอังกฤษ ผมเองภาษาอังกฤษไม่แข็งแรง กลัวแปลพลาดนะครับ

    โมทนาสาธุครับ

    .
     
  19. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948

    http://palungjit.org/showthread.php?t=104506&page=7

    ผมมอบเงินจำนวน 200 บาท เพื่อเป็นค่าจัดส่งพระพิมพ์และวัตถุมงคลให้กับน้องguawn<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_902686", true); </SCRIPT> เรียบร้อยแล้ว

    <TABLE class=tborder id=post902686 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">เมื่อวานนี้, 08:46 PM <!-- / status icon and date --></TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right>#135 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175>guawn<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_902686", true); </SCRIPT>
    สมาชิก ยอดนิยม
    สมาชิกยอดฮิต

    [​IMG]

    เข้ามาครั้งสุดท้ายเมื่อ: วันนี้ 09:32 AM
    วันที่สมัคร: Dec 2005
    ข้อความ: 9,132 <!-- Start Post Thank You Hack -->
    ได้ให้อนุโมทนา 18,441 ครั้ง
    ได้รับอนุโมทนา 36,607 ครั้ง ใน 6,395 โพส <!-- End Post Thank You Hack -->
    พลังการให้คะแนน: 4590 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]



    </TD><TD class=alt1 id=td_post_902686 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- message -->คุณ sithiphong ช่วยค่าจัดส่งอีก 200 บาท

    อนุโมทนาบุญด้วยครับ
    <!-- / message --><!-- sig -->
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    ขอโมทนาบุญกับทุกๆท่านด้วยครับ

    .
     
  20. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    ขอนำรายชื่อที่จัดส่งพิมพ์หนังสือแจ้งให้ทราบเพื่อแก้ไขอีกครั้งครับ โดยขอประกาศไว้ทุกหน้าการ post ๒ วัน เมื่อครบกำหนดจะลบ post ต้นๆออกเหลือ post สุดท้ายเพียงอันเดียวเท่านั้น เพื่อร่วมกันประหยัดพื้นที่ของเวบไซด์ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ด้านอื่นครับ

    ขออภัย"พี่พรรณศิริ"ด้วยนะครับที่ไม่สามารถจะเพิ่มเติมข้อความ"และครอบครัว"ในท้ายหนังสือในส่วนของผู้ร่วมจัดสร้างได้ครับ เนื่องจากโรงพิมพ์ได้ขึ้นแท่นพิมพ์ไปแล้วครับ และวันเสาร์ที่ผ่านมา"คุณรัตน์"ได้ร่วมสมทบพิมพ์หนังสือเป็นธรรมทาน ๕ เล่ม ขอตัดที่โควต้าพิมพ์ของผมนะครับ

    เมื่อหนังสือได้พิมพ์เสร็จแล้ว ผมขอมอบให้ผู้ร่วมจัดสร้างท่านละ ๑๐ % ของจำนวนการสั่งจองพิมพ์ของแต่ละท่าน เพื่อท่านสามารถมอบให้บุคคลอื่นๆที่เกิด"ศรัทธาจริต"ใน"พระราชประวัติของกรมพระราชวังบวรสถานมงคล"ในสมัยรัตนโกสินทร์ทั้ง ๕ พระองค์ ส่วนผู้ที่สั่งจองพิมพ์ไว้ที่ ๕ เล่ม ผมจะตัดส่วนของผม ๑๕ เล่มนี้ให้ทุกท่านแทน และที่เหลืออีก ๙๐๐ เล่ม พวกเราจะร่วมกันถวายให้ศาลเทพารักษ์ หรือศาลวังหน้ากันในวันอาทิตย์ที่ ๓ กุมภาพันธ์นี้ ครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • P1010480.jpg
      P1010480.jpg
      ขนาดไฟล์:
      358.6 KB
      เปิดดู:
      41
    • .gif
      .gif
      ขนาดไฟล์:
      39.9 KB
      เปิดดู:
      46
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 7 มกราคม 2008

แชร์หน้านี้

Loading...