พระปริต-พระสูตร-นมการ

ในห้อง 'รวมบทสวดมนต์และคาถา' ตั้งกระทู้โดย HONGTAY, 3 กรกฎาคม 2007.

  1. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    กรณียเมตตสูตร

    จาก วิกิซอร์ซ, สารานุกรมฟรี

    <!-- start content -->
    เมตตปริตร

    หรือ กรณียเมตตปริตร หรือ กรณียเมตตสูตร
    ทำให้หลับเป็นสุข ตื่นเป็นสุข ไม่ฝันร้าย เป็นที่รักของมนุษย์และอมนุษย์ทั้งหลาย เทพพิทักษ์รักษา ไม่มีภยันตราย จิตเป็นสมาธิง่าย ใบหน้าผ่องใส มีสิริมงคล ไม่หลงสติในเวลาเสียชีวิต และเป็นพรหมเมื่อบรรลุเมตตาฌาน
    <dl><dd>๑. กะระณียะมัตถะกุสะเลนะ . . . . . . . ยันตัง สันตัง ปะทัง อะภิสะเมจจะ</dd><dd>สักโก อุชู จะ สุหุชู จะ . . . . . . . . . . . . สุวะโจ จัสสะ มุทุ อะนะติมานี</dd><dd>กิจที่คนฉลาดในสิ่งที่มีประโยชน์ และมุ่งหมายจะบรรลุทางสงบ จะพึงทำ ก็คือ เป็นคนกล้า, เป็นคนซื่อ, เป็นคนตรง, ว่าง่าย, อ่อนโยน, ไม่เย่อหยิ่ง</dd></dl>

    <dl><dd>๒. สันตุสสะโก จะ สุภะโร จะ . . . . . . . .อัปปะกิจโจ จะ สัลละหุกะวุตติ</dd><dd>สันตินท์ริโย จะ นิปะโก จะ . . . . . . . . อัปปะคัพโภ กุเลสุ อะนะนุคิทโธ</dd><dd>เป็นผู้สันโดษ, เลี้ยงง่าย, มีภาระกิจน้อย, คล่องตัว, ระมัดระวังการแสดงออก, รู้ตัว, ไม่คะนอง, ไม่คลุกคลีในตระกูลทั้งหลาย</dd></dl>

    <dl><dd>๓. นะ จะ ขุททัง สะมาจะเร กิญจิ . . . . . เยนะ วิญญู ปะเร อุปะวะเทยยุง</dd><dd>สุขิโน วา เขมิโน โหนตุ . . . . . . . . . . . . สัพเพ สัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา</dd><dd>ไม่ประพฤติสิ่งที่วิญญูชนตำหนิติเตียนได้, พึงแผ่เมตตาจิตว่า ขอสัตว์ทั้งปวง จงมีความสุขกายสบายใจ มีความเกษมสำราญเถิด</dd></dl>

    <dl><dd>๔. เย เกจิ ปาณะภูตัตถิ . . . . . . . . . . . . .ตะสา วา ถาวะรา วา อะนะวะเสสา</dd><dd>ทีฆา วา เย มะหันตา วา . . . . . . . . . . .มัชฌิมา รัสสะกา อะณุกะถูลา</dd><dd>ขอสัตว์ทั้งหลายบรรดามี ที่เป็นสัตว์ตัวอ่อน หรือตัวแข็งก็ตาม เป็นสัตว์-มีลำตัวยาวหรือ ลำตัวใหญ่ก็ตาม มีลำตัวปานกลาง หรือตัวสั้นก็ตาม ตัวเล็กหรือตัวโตก็ตาม</dd></dl>

    <dl><dd>๕. ทิฏฐา วา เย จะ อะทิฏฐา . . . . . . . . . เย จะ ทูเร วะสันติ อะวิทูเร</dd><dd>ภูตา วา สัมภะเวสี วา . . . . . . . . . . . . .สัพเพ สัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา</dd><dd>ที่มองเห็นหรือมองไม่เห็นก็ตาม ที่อยู่ไกลหรืออยู่ใกล้ก็ตาม ที่เกิดแล้ว หรือ กำลังหาที่เกิดอยู่ก็ตาม ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวงนั้นจงสุขกายสบายใจเถิด</dd></dl>

    <dl><dd>๖. นะ ปะโร ปะรัง นิกุพเพถะ . . . . . . . . .นาติมัญเญถะ กัตถะจิ นัง กิญจิ</dd><dd>พ์ยาโรสะนา ปะฏีฆะสัญญา . . . . . . .นาญญะมัญญัสสะ ทุกขะมิจเฉยยะ</dd><dd>บุคคลไม่พึงหลอกลวงผู้อื่น ไม่ควรดูหมิ่นเหยียดหยามใคร ๆ ไม่ควรมุ่งร้าย ต่อกันและกัน เพราะมีความขุ่นเคืองโกรธแค้นกัน</dd></dl>

    <dl><dd>๗. มาตา ยะถา นิยัง ปุตตัง . . . . . . . . . . อายุสา เอกะปุตตะมะนุรักเข</dd><dd>เอวัมปิ สัพพะภูเตสุ . . . . . . . . . . . . . . มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง</dd><dd>คนเราพึงแผ่ความรักความเมตตา ไปยังสัตว์ทั้งหลายหาประมาณมิได้ ดุจดังมารดาถนอม และปกป้องบุตรสุดที่รักคนเดียวด้วยชีวิต ฉันนั้น</dd></dl>

    <dl><dd>๘. เมตตัญจะ สัพพะโลกัส์มิง . . . . . . . . .มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง</dd><dd>อุทธัง อะโธ จะ ติริยัญจะ . . . . . . . . . . อะสัมพาธัง อะเวรัง อะสะปัตตัง</dd><dd>พึงแผ่เมตตาจิต ไม่มีขอบเขต ไม่คิดผูกเวร ไม่เป็นศัตรู อันหาประมาณไม่ได้ ไปยังสัตว์โลกทั้งปวงทั่วทุกสารทิศ</dd></dl>

    <dl><dd>๙. ติฏฐัญจะรัง นิสินโน วา . . . . . . . . . . . สะยาโน วา ยาวะตัสสะ วิคะตะมิทโธ</dd><dd>เอตัง สะติง อะธิฏเฐยยะ . . . . . . . . . . พรัหมะเมตัง วิหารัง อิธะมาหุ</dd><dd>ผู้เจริญเมตตาจิตนั้น จะยืน จะเดิน จะนั่ง จะนอน ตลอดเวลาที่ตนยังตื่นอยู่ พึงตั้งสติ อันประกอบด้วยเมตตานี้ให้มั่นไว้ บัณฑิตทั้งหลายกล่าวว่า การอยู่ด้วยเมตตานี้ เป็นพรหมวิหาร (การอยู่อย่างประเสริฐ)</dd></dl>

    <dl><dd>๑๐. ทิฏฐิญจะ อะนุปะคัมมะ สีละวา . . . . .ทัสสะเนนะ สัมปันโน</dd><dd>กาเมสุ วิเนยยะ เคธัง . . . . . . . . . . . . . .นะ หิ ชาตุ คัพภะเสยยัง ปุนะเรตีติ</dd><dd>ท่านผู้เจริญเมตตาจิต ที่ละความเห็นผิดแล้ว มีศีล มีความเห็นชอบ ขจัดความใคร่ ในกามได้ ก็จะไม่กลับมาเกิดอีกเป็นแน่แท้</dd></dl>
    (คำแปลของ ศาสตราจารย์พิเศษ เสฐียรพงษ์ วรรณปก ราชบัณฑิต)
     
  2. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    ขันธปริตร

    จาก วิกิซอร์ซ, สารานุกรมฟรี

    <!-- start content -->
    ขันธปริต บทสวดป้องกันอันตรายจากสัตว์มีพิษ

    วิรูปักเขหิ เม เมตตัง
    <dl><dd>ความเป็นมิตรของเรา จงมีแก่พญางูทั้งหลาย สกุลวิรูปักข์ด้วย</dd></dl> เมตตัง เอราปะเถหิ เม
    <dl><dd>ความเป็นมิตรของเรา จงมีกับพญางูทั้งหลาย สกุลเอราบทด้วย</dd></dl> ฉัพยาปุตเตหิ เม เมตตัง
    <dl><dd>ความเป็นมิตรของเรา จงมีแก่พญางูทั้งหลาย สกุลฉัพยาบุตรด้วย</dd></dl> เมตตัง กัณหาโคตะมะเกหิ จะ
    <dl><dd>ความเป็นมิตรของเรา จงมีแก่พญางูทั้งหลายสกุลกัณหาโคตมกะด้วย</dd></dl> อะปาทะเกหิ เม เมตตัง
    <dl><dd>ความเป็นมิตรของเรา จงมีกับสัตว์ทั้งหลาย ที่ไม่มีเท้าด้วย</dd></dl> เมตตัง ทิปาทะเกหิ เม
    <dl><dd>ความเป็นมิตรของเรา จงมีกับสัตว์ทั้งหลาย ที่มีสองเท้าด้วย</dd></dl> จะตุปปะเทหิ เม เมตตัง
    <dl><dd>ความเป็นมิตรของเรา จงมีกับสัตว์ทั้งหลาย ที่มีสี่เท้าด้วย</dd></dl> เมตตัง พะหุปปะเทหิ เม
    <dl><dd>ความเป็นมิตรของเรา จงมีกับสัตว์ทั้งหลาย ที่มีหลายเท้าด้วย</dd></dl> มา มัง อะปาทะโก หิงสิ
    <dl><dd>สัตว์ไม่มีเท้าอย่าเบียดเบียนเรา</dd></dl> มา มัง หิงสิ ทิปาทะโก
    <dl><dd>สัตว์สองเท้าอย่าเบียดเบียนเรา</dd></dl> มา มัง จะตุปปะโท หิงสิ
    <dl><dd>สัตว์สี่เท้าอย่าเบียดเบียนเรา</dd></dl> มา มัง หิงสิ พะหุปปะโท
    <dl><dd>สัตว์หลายเท้าอย่าเบียดเบียนเรา</dd></dl> สัพเพ สัตตา สัพเพ ปาณา
    <dl><dd>ขอสรรพสัตว์ที่มีชีวิตทั้งหลาย</dd></dl> สัพเพ ภูตา จะ เกวะลา
    <dl><dd>ที่เกิดมาทั้งหมดจนสิ้นเชิงด้วย</dd></dl> สัพเพ ภัทรานิ ปัสสันตุ
    <dl><dd>จงเห็นซึ่งความเจริญทั้งหลายทั้งปวงเถิด</dd></dl> มา กิญจิ ปาปะมาคะมา
    <dl><dd>โทษลามกใดๆ อย่าได้มาถึงแล้ว แก่สัตว์เหล่านั้น</dd></dl> อัปปะมาโณ พุทโธ
    <dl><dd>พระพุทธเจ้า ทรงพระคุณ ไม่มีประมาณ</dd></dl> อัปปะมาโณ ธัมโม
    <dl><dd>พระธรรม ทรงพระคุณ ไม่มีประมาณ</dd></dl> อัปปะมาโณ สังโฆ
    <dl><dd>พระสงฆ์ ทรงพระคุณ ไม่มีประมาณ</dd></dl> ปะมาณะวันตานิ สิริงสะปานิ อะหิ วิจฉิกา สะตะปะที อุณณานาภี สะระพู มูสิกา
    <dl><dd>สัตว์เลื้อยคลานทั้งหลาย คือ งู แมลงป่อง ตะเข็บ ตะขา แมงมุม ตุ๊กแก หนู</dd><dd>เหล่านี้ ล้วนมีประมาณ ( ไม่มากเหมือนพระรัตนตรัย )</dd></dl> กะตา เม รักขา กะตา เม ปะริตตา
    <dl><dd>ความรักษา อันเรากระทำแล้ว การป้องกัน อันเรากระทำแล้ว</dd></dl> ปะฏิกกะมันตุ ภูตานิ
    <dl><dd>หมู่สัตว์ทั้งหลายจงหลีกไปเสีย</dd></dl> โสหัง นะโม ภะคะวะโต
    <dl><dd>เรานั้น กระทำนอบน้อม แด่พระผู้มีพระภาคเจ้าอยู่</dd></dl> นะโม สัตตันนัง สัมมาสัมพุทธานังฯ
    <dl><dd>กระทำนอบน้อม แด่พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เจ็ดพระองค์อยู่ ฯ</dd></dl>
     
  3. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    โมรปริตร

    <!-- start content -->
    ความเป็นมาของพระคาถาโมรปริตร

    สมัยที่พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นนกยูงทอง ก่อนออกไปหากินในตอนเช้า จะต้องสวดโมรปริตรเสียก่อนและพอกลับมาในตอนเย็น ก็จะต้องสวดโมรปริตรอีกครั้งหนึ่ง ด้วยอำนาจแห่งโมรปริตรนั้นจึงทำให้นกยูงทองแคล้วคลาด จากภยันตรายทั้งปวง
    ท่านกล่าวกันว่า ครั้งหนึ่งพระเจ้าพรหมทัต สั่งให้จับนกยูงทองมาถวายเพราะพระอัครมเหสีใคร่จะทอด พระเนตร พวกนายพรานถึงแม้ว่าจะวางกับดักเพื่อจะจับนกยูงทองอย ่างไรก็ตามแต่ก็หาสำเร็จไม่ บางครั้งพอนกยูงทองเข้ามาใกล้เครื่องดักเหล่านั้น ก็มีอันทำให้เครื่องดักเหล่านั้นล้มระเนระนาดลงไปเอง ดูเป็นที่น่าอัศจรรย์ ทั้งนี้ก็เป็ฯด้วยอานุภาพแห่งโมรปริตรที่นกยูงทองได้ สวดทุกเช้าค่ำนั่นเอง
    กล่าวฝ่ายพระอัครมเหสีของพระเจ้าพรหมทัต เมื่อไม่ได้ทอดพระเนตรนกยูงทองตามประสงค์ก็เสด็จทิวง คต ทำให้พระเจ้าพรหมทัตรู้สึกขัดเคืองพระราชหฤทัยเป็นที ่ยิ่ง ด้วยทรงเห็นว่านกยูงทองเป็นต้นเหตุทำให้มเหสีของพระอ งค์ต้องมาถึงแก่ความตาย จึงหาอุบายที่จะฆ่านกยูงทองเสีย โดยได้แกล้งจารึกลงไปในแผ่นทองว่า
    "ถ้าผู้ใดได้กินเนื้อของนกยูงทอง ผู้นั้นจะไม่รู้จักแก่ ไม่รู้จักเจ็บ ไม่รู้จักตายเลย"
    เมื่อพระองค์เสด็จสวรรคตแล้ว กษัตริย์องค์ต่อๆมาเมื่อพบคำจารึกนั้น ต่างก็ให้พวกนายพรานไปพยายามจับนกยูงทองตัวนั้นมาให้ ได้ แต่กาลล่วงเลยมาถึง 7 ช่วงกษัตริย์ก็ยังจับนกยูงทองนั้นไม่ได้ ทั้งนี้ก็เป็ฯด้วยอานุภาพของโมรปริตรคอยคุ้มครองป้อง กันภัยให้กับนกยูงทองตัวนั้นอยู่ จวบจนกระทั่งมาถึงกษัตริย์องค์ที่ 7 จึงได้มีนายพรานคนหนึ่ง ได้นำนางนกยูงไปล่อให้นกยูงทองนั้นลงมาที่เชิงเขา นกยูงทองพอได้ยินเสียงนางนกยูงร้องก็หลงใหลไปด้วยอำน าจแห่งกิเลส จึงลืมระลึกถึงมนตร์โมรปริตรดังที่ได้เคยปฏิบัติมา ผลปรากฏว่านกยูงทองเกิดไปติดบ่วงที่นายพรานดักไว้และ ถูกจับไปถวายพระราชาในที่สุด
    เมื่ออยู่ต่อหน้าพระราชา นกยูงได้ทูลถามถึงสาเหตุที่ทรงให้ดักจับ พระราชาก็ตรัสเล่าตามที่ปรากฏในคำจารึกนั้น นกยูงทองจึงทูลว่า "ทำไมพระองค์จึงทรงเชื่ออย่างนั้น ถ้าเนื้อของข้าพเจ้าวิเศษถึงกับทำให้คนกินไม่แก่ ไม่ตายจริงแล้ว ตัวข้าพเจ้าเองก็คงไม่ตายน่ะซิ แต่นี่ข้าพเจ้าเองยังต้องตาย ไฉนผู้กินเนื้อของข้าพเจ้าจะไม่ตายเล่า" หลังจากนกยูงทองได้เตือนสติพระราชาแล้ว ก็ได้แสดงให้เห็ฯอานิสงค์ของการไม่เบียดเบียนสัตว์ จนพระราชาเกิดความเลื่อมใส รับสั่งให้ปล่อยนกยูงทองไป และทรงออกหมายประกาศมิให้ผู้ใดทำร้ายสัตว์ในพระราชอา ณาเขตของพระองค์อีกต่อไป
    เราจะเห็นได้ว่า ถึงแม้นกยูงทองจะถูกจับได้เพราะลิมสาธยายมนตร์แต่อาศ ัยที่ได้เคยสาธยายมนตร์โมรปริตรมานาน จึงได้บันดาลให้ถูกปล่อยตัวในที่สุด ดังนั้นจึงเชื่อกันว่ามนตร์บทนี้มีผลทำให้ผู้สวดเกิด การแคล้วคลาดจากสรรพภัยภิบัติทั้งมวล จึงมีผู้นิยมสวดกันจนกระทั่งปัจจุบัน


    ที่มา : http://www.palungjit.org/board/showthread.php?t=74151

    โมรปริตร บทสวดป้องกันภัยจากผู้คิดร้าย

    <dl><dd>๑. อุเทตะยัง จักขุมา เอกะราชา</dd></dl> <dl><dd>หะริสสะวัณโณ ปะถะวิปปะภาโส</dd></dl> <dl><dd>ตัง ตัง นะมัสสามิ หะริสสะวัณณัง ปะถะวิปปะภาสัง</dd></dl> <dl><dd>ตะยาชชะ คุตตา วิหะเรมุ ทิวะสัง</dd></dl> <dl><dd>พระอาทิตย์ผู้เป็นดวงตาของโลก ผู้ยิ่งใหญ่พระองค์นี้ เสด็จอุทัยขึ้นทรงพระรัศมีสีทองสาดส่องปฐพี ด้วยเหตุนี้ ข้าพเจ้าขอนมัสการพระอาทิตย์ผู้ทรงรัศมีสีทองสาดส่องปฐพีพระองค์นั้น พระองค์ได้คุ้มครองข้าพระองค์ในวันนี้แล้ว ขอให้ข้าพระองค์มีชีวิตยั่งยืนอยู่ตลอดวัน</dd></dl>

    <dl><dd>๒. เย พฺราหฺมะณา เวทะคู สัพพะธัมเม</dd></dl> <dl><dd>เต เม นะโม เต จะ มัง ปาละยันตุ</dd></dl> <dl><dd>นะมัตถุ พุทธานัง นะมัตถุ โพธิยา</dd></dl> <dl><dd>นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา</dd></dl> <dl><dd>อิมัง โส ปะริตตัง กัตฺวา โมโร จะระติ เอสะนา</dd></dl> <dl><dd>พระพุทธเจ้าเหล่าใด ทรงรู้แจ้งธรรมทั้งปวง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระพุทธเจ้าเหล่านั้น ขอพระพุทธเจ้าเหล่านั้น จงคุ้มครองข้าพเจ้า ขอนอบน้อมแด่พระพุทธจ้าทั้งหลาย ขอนอบน้อมแด่พระโพธิญาณ ขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้าผู้หลุดพ้นแล้ว ขอนอบน้อมแด่วิมุตติธรรม เมื่อนกยูงนั้นสาธยายพระปริตรอย่างนี้แล้ว จึงออกเสวงหาอาหาร</dd></dl>

    <dl><dd>๓. อะเปตะยัง จักขุมา เอกะราชา</dd></dl> <dl><dd>หะริสสะวัณโณ ปะถะวิปปะภาโส</dd></dl> <dl><dd>ตัง ตัง นะมัสสามิ หะริสสะวัณณัง ปะถะวิปปะภาสัง</dd></dl> <dl><dd>ตะยาชชะ คุตตา วิหะเรมุ รัตติง</dd></dl> <dl><dd>พระอาทิตย์ผู้เป็นดวงตาของโลก ผู้ยิ่งใหญ่พระองค์นี้ เสด็จอัสดงคตทรงพระรัศมีสีทองสาดส่องปฐพี ด้วยเหตุนี้ ข้าพเจ้าขอนมัสการพระอาทิตย์ผู้ทรงรัศมีสีทองสาดส่องปฐพีพระองค์นั้น พระองค์ได้คุ้มครองข้าพระองค์ในวันนี้แล้ว ขอให้ข้าพระองค์มีชีวิตยั่งยืนอยู่ตลอดราตรี</dd></dl>

    <dl><dd>๔. เย พฺราหฺมะณา เวทะคู สัพพะธัมเม</dd></dl> <dl><dd>เต เม นะโม เต จะ มัง ปาละยันตุ</dd></dl> <dl><dd>นะมัตถุ พุทธานัง นะมัตถุ โพธิยา</dd></dl> <dl><dd>นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา</dd></dl> <dl><dd>อิมัง โส ปะริตตัง กัตฺวา โมโร วาสะมะกัปปะยิ</dd></dl> <dl><dd>พระพุทธเจ้าเหล่าใด ทรงรู้แจ้งธรรมทั้งปวง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระพุทธเจ้าเหล่านั้น ขอพระพุทธเจ้าเหล่านั้น จงคุ้มครองข้าพเจ้า ขอนอบน้อมแด่พระพุทธจ้าทั้งหลาย ขอนอบน้อมแด่พระโพธิญาณ ขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้าผู้หลุดพ้นแล้ว ขอนอบน้อมแด่วิมุตติธรรม เมื่อนกยูงนั้นสาธยายพระปริตรอย่างนี้แล้ว จึงนอน</dd></dl>
     
  4. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    อาฏานาฏิยสูตร

    จาก วิกิซอร์ซ, สารานุกรมฟรี

    <!-- start content --> วิปัสสิสสะ นะมัตถุ จักขุมันตัสสะ สิรีมะโต
    ( ความนอบน้อมแห่งข้าพเจ้า จงมีแด่พระวิปัสสีพุทธเจ้า ผู้ทรงมีพระปัญญาจักษุ ผู้ทรงไว้ซึ่งพระสิริ )
    สิขิสสะปิ นะมัตถุ สัพพะภู ตานุกัมปิโน
    ( ความนอบน้อมแห่งข้าพเจ้า จงมีแด่พระสิขีพุทธเจ้า ผู้ทรงมีพระทัยอนุเคราะห์ ต่อสัตว์ทั้งปวง )
    เวสสะภุสสะ นะมัตถุ นหาตะกัสสะ ตะปัสสิโน
    ( ความนอบน้อมแห่งข้าพเจ้า จงมีแด่พระเวสสภูพุทธเจ้า ผู้ทรงมีกิเลสอันชำระแล้วผู้ทรงมีตบะธรรม )
    นะมัตถุ กะกุสันธัสสะ มาระเสนัปปะมัททิโน
    ( ความนอบน้อมแห่งข้าพเจ้า จงมีแด่พระกกุสันธพุทธเจ้า ผู้ทรงย่ำยีเสียซึ่งมารและเหล่าเสนาทั้งหลาย )
    โกนาคะมะนัสสะ นะมัตถุ พราหมะณัสสะวุสีมะโต
    ( ความนอบน้อมแห่งข้าพเจ้า จงมีแด่พระโกนาคมนพุทธเจ้า ผู้ทรงลอยบาปเสียแล้ว ผู้ทรงมีพรหมจรรย์อันอยู่จบแล้ว )
    กัสสะปัสสะ นะมัตถุ วิปปะมุตตัสสะ สัพพะธิ
    ( ความนอบน้อมแห่งข้าพเจ้า จงมีแด่พระกัสสปพุทธเจ้า ผู้ทรงพ้นแล้วจากกิเลสทั้งปวง )
    อังคีระสัสสะ นะมัตถุ สักยะปุตตัสสะ สิรีมะโต
    ( ความนอบน้อมแห่งข้าพเจ้า จงมีแด่พระอังคีรสพุทธเจ้า ผู้ทรงเป็นโอรสแห่งศากยราช ผู้ทรงไว้ซึ่งพระสิริ )
    โย อิมัง ธัมมะมะเทเสสิ สัพพะทุกขาปะนูทะนัง
    ( พระพุทธเจ้าพระองค์ใด ได้ทรงแสดงแล้วซึ่งธรรมนี้ อันเป็นเครื่องบรรเทาเสียซึ่งทุกข์ทั้งปวง )
    เย จาปิ นิพพุตาโลเก ยะถาภูตัง วิปัสสิสุง
    ( อนึ่ง แม้ชนเหล่าใดก็ดี ที่ดับกิเลสได้แล้วในโลก เห็นแจ้งตามความเป็นจริง )
    เต ชะนา อะปิสุณา มะหันตา วีตะสาระทา
    ( ชนเหล่านั้นเป็นผู้ไม่มีความส่อเสียด เป็นผู้ทรงความเป็นใหญ่ ปราศจากความครั่นคร้ามแล้ว )
    หิตัง เทวะมะนุสสานัง ยัง นะมัสสันติ โคตะมัง
    ( เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย พากันนอบน้อมอยู่ ซึ่งพระพุทธเจ้าพระองค์ใด ผู้ทรงเป็นโคตมโคตร ผู้ทรงเกื้อกูลแก่มนษย์และเทวดาทั้งหลาย )
    วิชชาจะระณะสัมปันนัง มะหันตัง วีตะสาระทัง
    ( ผู้ทรงถึงพร้อมแล้ว ด้วยวิชชาและจรณะ ผู้ทรงความเป็นใหญ่เป็นผู้ปรศจากความครั่นคร้ามแล้ว )
    วิชชาจะระณะสัมปันนัง วันทามะ โคตะมันติ
    ( ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอนมัสการพระพุทธเจ้าพระองค์นั้น ผู้ทรงเป็นโคตมโคตรผู้ทรงถึงพร้อมแล้วด้วยวิชชาและจรณะ )
     
  5. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    โพชฌงคสูตร


    โพชฌังโค สะติสังขาโต ธัมมานัง วิจะโย ตะถา
    <dl><dd>โพชฌงค์ 7 ประการ คือ สติสัมโพชฌงค์ ธรรมวิจยะสัมโพชฌงค์</dd></dl> วิริยัมปีติ ปัสสัทธิ โพชฌังคา จะ ตะถาปะเร
    <dl><dd>วิริยะสัมโพชฌงค์ ปีติสัมโพชฌงค์ ปัสสัทธิสัมโพชฌงค์</dd></dl> สะมาธุเปกขะโพชฌังคา
    <dl><dd>สมาธิสัมโพชฌงค์ และอุเบกขาสัมโพชฌงค์</dd></dl> สัตเตเต สัพพะทัสสินา มุนินา สัมมะทักขาตา
    <dl><dd>7ประการเหล่านี้ เป็นธรรมอันพระมุนีเจ้า ผู้ทรงเห็นธรรมทั้งปวงตรัสไว้ชอบแล้ว</dd></dl> ภาวิตา พะหุลีกะตา
    <dl><dd>อันบุคคลเจริญแล้วกระทำให้มากแล้ว</dd></dl> สังวัตตันติ อะภิญญายะ นิพพานายะ จะ โพธิยา
    <dl><dd>ย่อมเป็นไปเพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ และเพื่อนิพพาน</dd></dl> เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ
    <dl><dd>ด้วยการกล่าวคำสัตย์นี้</dd></dl> โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา
    <dl><dd>ขอความสวัสดี จงบังเกิดมีแก่ท่าน ตลอดกาลทุกเมื่อ</dd></dl> เอกัสมิง สะมะเย นาโถ โมคคัลลานัญจะ กัสสะปัง คิลาเน ทุกขิเต ทิสวา
    <dl><dd>ในสมัยหนึ่ง พระโลกนาถเจ้า ทอดพระเนตรเห็นพระโมคคัลลานะ และพระมหากัสสปะเป็นไข้ ได้รับความลำบาก</dd></dl> โพชฌังเค สัตตะ เทสะยิ
    <dl><dd>จึงทรงแสดงโพชฌงค์ 7 ประการ ให้ท่านทั้งสองฟัง</dd></dl> เต จะ ตัง อะภินันทิตวา
    <dl><dd>ท่านทั้งสองนั้น ชื่นชมยินดียิ่ง ซึ่งโพชฌงคธรรม</dd></dl> โรคา มุจจิงสุ ตังขะเณ
    <dl><dd>โรคก็หายได้ในบัดดล</dd></dl> เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ
    <dl><dd>ด้วยการกล่าวคำสัตย์นี้</dd></dl> โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา
    <dl><dd>ขอความสวัสดี จงบังเกิดมีแก่ท่าน ตลอดกาลทุกเมื่อ</dd></dl> เอกะทา ธัมมะราชาปิ เคลัญเญนาภิปีฬิโต
    <dl><dd>ในครั้งหนึ่ง องค์พระธรรมราชาเอง (พระพุทธเจ้า) ทรงประชวรเป็นไข้หนัก</dd></dl> จุนทัตเถเรนะ ตัญเญวะ ภะณาเปตวานะ สาทะรัง
    <dl><dd>รับสั่งให้พระจุนทะเถระ กล่าวโพชฌงค์นั้นนั่นแลถวายโดยเคารพ</dd></dl> สัมโมทิตวา จะ อาพาธา ตัมหา วุฏฐาสิ ฐานะโส
    <dl><dd>ก็ทรงบันเทิงพระหฤทัย หายจากพระประชวรนั้นได้โดยพลัน</dd></dl> เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ
    <dl><dd>ด้วยการกล่าวคำสัตย์นี้</dd></dl> โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา
    <dl><dd>ขอความสวัสดี จงบังเกิดมีแก่ท่าน ตลอดกาลทุกเมื่อ</dd></dl> ปะ**นา เต จะ อาพาธา ติณณันนัมปิ มะเหสินัง
    <dl><dd>ก็อาพาธทั้งหลายนั้น ของพระผู้ทรงคุณอันยิ่งใหญ่ทั้ง 3 องค์นั้น หายแล้วไม่กลับเป็นอีก</dd></dl> มัคคาหะตะกิเลสาวะ ปัตตานุปปัตติธัมมะตัง
    <dl><dd>ดุจดังกิเลส ถูกอริยมรรคกำจัดเสียแล้ว ถึงซึ่งความไม่เกิดอีกเป็นธรรมดา</dd></dl> เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ
    <dl><dd>ด้วยการกล่าวคำสัตย์นี้</dd></dl> โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา
    <dl><dd>ขอความสวัสดี จงบังเกิดมีแก่ท่าน ตลอดกาลทุกเมื่อ เทอญ.</dd></dl>
    ที่มา

    http://www.suadmon.com/
     
  6. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    บทชะยะปะริตตัง

    จาก วิกิซอร์ซ, สารานุกรมฟรี



    <!-- start content --> บทชะยะปะริตตัง


    • มะหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง
    ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง,
    • เอเตนะ สัจจะ วัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลัง ฯ
    • ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน
    เอวัง ตวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะพุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติ,
    • สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง,
    • สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจาริสุ,
    • ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง,
    • ปะทักขิณัง มะโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา,
    • ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัตเถ ปะทักขิเณ ฯ
    • ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวตา,
    • สัพพะพุทธานุภาเวนะ สะทา โสตภี ภะวันตุ เต ฯ
    • ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวตา,
    • สัพพะธัมมานุภาเวนะ สะทา โสตภี ภะวันตุ เต ฯ
    • ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวตา,
    • สัพพะสังฆานุภาเวนะ สะทา โสตภี ภะวันตุ เต ฯ
    คำแปล
    • พระพุทธเจ้าผู้เป็นที่พึ่งของสัตว์ ทรงประกอบแล้วด้วยพระมหากรุณาบำเพ็ญบารมีทั้งหลายทั้งปวงให้เต็ม เพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่สรรพสัตว์ทั้งหลาย เป็นผู้ถึงความตรัสรู้ชอบอันสูงสุด,
    • ด้วยการกล่าวคำสัตย์จริงนี้ ขอชัยมงคลจงมีแก่ท่านเถิด ฯ
    • ขอท่านจงมีชัยชนะในมงคลพิธี เหมือนพระจอมมุนีทรงชนะมารที่โคนต้นโพธิ์ แล้วถึงความเป็นผู้เลิศใจสรรพพุทธาภิเษก ทรงบันเทิงพระทัยอยู่บนบัลลังก์ที่มารไม่อาจจะผจญได้ เป็นจอมมหาปฐพี ทรงเพิ่มพูนความดีแก่เหล่าประยูรญาติศากยวงศ์ฉะนั้น เทอญ,
    • เวลาที่บุคคลและสัตว์ประพฤติดีประพฤติชอบ ชื่อว่าฤกษ์ดี มงคลดี สว่างดี รุ่งแจ้งดี,
    • และขณะดี ครู่ยามดี ชื่อว่าบูชาดีแล้วในผู้ประพฤติอย่างประเสริฐทั้งหลาย,
    • กายกรรมอันเป็นมงคลสูงสุด วจีกรรมอันเป็นมงคลสูงสุด,
    • มโนกรรมอันเป็นมงคลสูงสุด ความปรารถนาอันตั้งไว้เพื่อสิ่งอันเป็นมงคลสูงสุด,
    • บุคคลและสัตว์ทั้งหลาย ทำกรรมอันเป็นมงคลสูงสุด ย่อมได้ประโยชน์ ทั้งหลายอันเป็นมงคลสูงสุดแล ฯ
    • ขอให้ทุกสิ่งอันเป็นมงคลทั้งปวง จงมีแก่ท่าน ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง จงปกปักรักษาท่าน,
    • ด้วยอานุภาพแห่งพระพุทธเจ้า ขอความสวัสดีจงมีแก่ท่าน ตลอดกาลทุกเมื่อเถิด ฯ
    • ขอให้ทุกสิ่งอันเป็นมงคลทั้งปวง จงมีแก่ท่าน ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง จงปกปักรักษาท่าน,
    • ด้วยอานุภาพแห่งพระธรรม ขอความสวัสดีจงมีแก่ท่าน ตลอดกาลทุกเมื่อเถิด ฯ
    • ขอให้ทุกสิ่งอันเป็นมงคลทั้งปวง จงมีแก่ท่าน ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง จงปกปักรักษาท่าน,
    • ด้วยอานุภาพแห่งพระสงฆ์ ขอความสวัสดีจงมีแก่ท่าน ตลอดกาลทุกเมื่อเถิด ฯ
    คัดจากหนังสือสวดมนต์ วัดท่าซุง จ.อุทัยธานี
     
  7. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    รตนปริตร

    จาก วิกิซอร์ซ, สารานุกรมฟรี



    <!-- start content --> บทสวดรัตนสูตรภาษาบาลี จากพระไตรปิฎก

    ขุทฺทกปาเฐ รตนสุตฺตํ
    (ขุ.ขุ.๒๕/๕)
    ๑.ยานีธ ภูตานิ สมาคตานิ
    ภุมฺมานิ วา ยานิ ว อนฺตลิกฺเข
    สพฺเพว ภูตา สุมนา ภวนฺตุ
    อโถปิ สกฺกจฺจ สุณนฺตุ ภาสิตํ
    ตสฺมา หิ ภูตา นิสาเมถ สพฺเพ
    เมตฺตํ กโรถ มานุสิยา ปชาย ฯ
    ทิวา จ รตฺโต จ หรนฺติ เย พลึ
    ตสฺมา หิ เน รกฺขถ อปฺปมตฺตา ฯ
    ๒.ยํ กิญฺจิ วิตฺตํ อิธ วา หุรํ วา
    สคฺเคสุ วา ยํ รตนํ ปณีตํ
    น โน สมํ อตฺถิ ตถาคเตน
    อิทมฺปิ พุทฺเธ รตนํ ปณีตํ
    เอเตน สจฺเจน สุวตฺถิ โหตุ ฯ
    ๓.ขยํ วิราคํ อมตํ ปณีตํ
    ยทชฺฌคา สกฺยมุนี สมาหิโต
    น เตน ธมฺเมน สมตฺถิ กิญฺจิ
    อิทมฺปิ ธมฺเม รตนํ ปณีตํ
    เอเตน สจฺเจน สุวตฺถิ โหตุ ฯ
    ๔.ยมฺพุทฺธเสฏฺโฐ ปริวณฺณยี สุจึ
    สมาธิมานนฺตริกญฺญมาหุ
    สมาธินา เตน สโม น วิชฺชติ
    อิทมฺปิ ธมฺเม รตนํ ปณีตํ
    เอเตน สจฺเจน สุวตฺถิ โหตุ ฯ
    ๕.เย ปุคฺคลา อฏฺฐสตํ ปสฏฺฐา
    จตฺตาริ เอตานิ ยุคานิ โหนฺติ
    เต ทกฺขิเณยฺยา สุคตสฺส สาวกา
    เอเตสุ ทินฺนานิ มหปฺผลานิ
    อิทมฺปิ สงฺเฆ รตนํ ปณีตํ
    เอเตน สจฺเจน สุวตฺถิ โหตุ ฯ
    ๖.เย สุปฺปยุตฺตา มนสา ทฬฺเหน
    นิกฺกามิโน โคตมสาสนมฺหิ
    เต ปตฺติปตฺตา อมตํ วิคยฺห
    ลทฺธา มุธา นิพฺพุตึ ภุญฺชมานา
    อิทมฺปิ สงฺเฆ รตนํ ปณีตํ ฯ
    เอเตน สจฺเจน สุวตฺถิ โหตุ ฯ
    ๗.ยถินฺทขีโล ปฐวึ สิโต สิยา
    จตุพฺภิ วาเตภิ อสมฺปกมฺปิโย
    ตถูปมํ สปฺปุริสํ วทามิ
    โย อริยสจฺจานิ อเวจฺจ ปสฺสติ
    อิทมฺปิ สงฺเฆ รตนํ ปณีตํ
    เอเตน สจฺเจน สุวตฺถิ โหตุ ฯ
    ๘.เย อริยสจฺจานิ วิภาวยนฺติ
    คมฺภีรญฺเญน สุเทสิตานิ
    กิญฺจาปิ เต โหนฺติ ภุสปฺปมตฺตา
    น เตภวํ อฏฺฐมาทิยนฺติ
    อิทมฺปิ สงฺเฆ รตนํ ปณีตํ
    เอเตน สจฺเจน สุวตฺถิ โหตุ ฯ
    ๙.สหาวสฺส ทสฺสนสมฺปทาย
    ตยสฺสุ ธมฺมา ชหิตา ภวนฺติ
    สกฺกายทิฏฺฐิวิจิกิจฺฉิญฺจ
    สีลพฺพตํ วาปิ ยทตฺถิ กิญฺจิ
    จตูหปาเยหิ จ วิปฺปมุตฺโต
    ฉ จาภิญญานานิ อภพฺโพ กาตุง(อํ)
    อิทมฺปิ สงฺเฆ รตนํ ปณีตํ
    เอเตน สจฺเจน สุวตฺถิ โหตุ ฯ
    ๑๐.กิญฺจาปิ โส กมฺมํ กโรติ ปาปกํ
    กาเยน วาจายุท เจตสา วา
    อภพฺโพ โส ตสฺส ปฏิจฺฉทาย
    อภพฺพตา ทิฏฺฐปทสฺส วุตฺตา
    อิทมฺปิ สงฺเฆ รตนํ ปณีตํ
    เอเตน สจฺเจน สุวตฺถิ โหตุ ฯ
    ๑๑.วนปฺปคุมฺเพ ยถา ผุสฺสิตคฺเค
    คิมฺหานมาเส ปฐมสฺมึ คิมฺเห
    ตถูปมํ ธมฺมวรํ อเทสยิ
    นิพฺพานคามึ ปรมํ หิตาย
    อิทมฺปิ พุทฺเธ รตนํ ปณีตํ
    เอเตน สจฺเจน สุวตฺถิ โหตุ ฯ
    ๑๒.วโร วรญฺญู วรโท วราหโร
    อนุตฺตโร ธมฺมวรํ อเทสยิ
    อิทมฺปิ พุทฺเธ รตนํ ปณีตํ
    เอเตน สจฺเจน สุวตฺถิ โหตุ ฯ
    ๑๓.ขีณํ ปุราณํ นวํ นตฺถิ สมฺภวํ
    วิรตฺตจิตฺตายติเก ภวสฺมึ
    เต ขีณพีชา อวิรุฬฺหิฉนฺทา
    นิพฺพนฺติ ธีรา ยถายมฺปทีโป
    อิทมฺปิ สงฺเฆ รตนํ ปณีตํ
    เอเตน สจฺเจน สุวตฺถิ โหตุ ฯ
    ๑๔.ยานีธ ภูตานิ สมาคตานิ
    ภุมฺมานิ วา ยานิว อนฺตลิกฺเข
    ตถาคตํ เทวมนุสฺสปูชิตํ
    พุทฺธํ นมสฺสาม สุวตฺถิ โหตุ ฯ
    ๑๕.ยานีธ ภูตานิ สมาคตานิ
    ภุมฺมานิ วา ยานิว อนฺตลิกฺเข
    ตถาคตํ เทวมนุสฺสปูชิตํ
    ธมฺมํ นมสฺสาม สุวตฺถิ โหตุ ฯ
    ๑๖.ยานีธ ภูตานิ สมาคตานิ
    ภุมฺมานิ วา ยานิว อนฺตลิกฺเข
    ตถาคตํ เทวมนุสฺสปูชิตํ
    สงฺฆํ นมสฺสาม สุวตฺถิ โหตุ ฯ
    รตนสุตฺตํ นิฏฺฐิตํ ฯ

    ถอดความรัตนสูตร ในขุททกปาฐะ จาก พระมหานพดล ปุญฺญสุวฑฺฒโก
    ( ขุ.ขุ.๒๕/๕ )
    ๑.ภูตเหล่าใด ประชุมกันแล้วในประเทศนี้ก็ดี หรือภุมมเทวดา เหล่าใดประชุมกันแล้ว
    ในอากาศก็ดี ขอหมู่ภูตทั้งปวงจงเป็นผู้มีใจดีและจงฟังภาษิตโดยเคารพ
    ดูกรภูตทั้งปวง เพราะเหตุนั้นแล ท่านทั้งหลายจงตั้งใจฟัง ขอจงแผ่เมตตาจิตในหมู่มนุษย์
    มนุษย์เหล่าใด นำพลีกรรมไปทั้งกลางวันทั้งกลางคืน
    เพราะเหตุนั้นแล ท่านทั้งหลายจงเป็นผู้ไม่ประมาทรักษามนุษย์เหล่านั้น
    ๒.ทรัพย์เครื่องปลื้มใจอย่างใดอย่างหนึ่งในโลกนี้ หรือในโลกอื่น
    หรือรัตนะใดอันประณีตในสวรรค์ ทรัพย์และรัตนะนั้น เสมอด้วยพระตถาคตไม่มีเลย พุทธรัตนะแม้นี้เป็นรัตนะอันประณีต ด้วยสัจจวาจานี้
    ขอความสวัสดีจงมีแก่ เหล่านี้
    ๓.พระศากยมุนีมีพระหฤทัยดำรงมั่น
    ได้บรรลุธรรมอันใดเป็นที่สิ้นกิเลส เป็นที่สำรอกกิเลส เป็นอมฤตธรรม
    อันประณีต ธรรมชาติอะไรๆเสมอด้วยพระธรรมนั้นย่อมไม่มี ธรรมรัตนะ
    แม้นี้เป็นรัตนะอันประณีต ด้วยสัจจวาจานี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่ เหล่านี้
    ๔.พระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐสุด ทรงสรรเสริญแล้วซึ่งสมาธิใด ว่าเป็นธรรมอันสะอาด
    บัณฑิตทั้งหลายกล่าวซึ่งสมาธิใด ว่าให้ผลในลำดับสมาธิ อื่นเสมอด้วยสมาธินั้น
    ย่อมไม่มี ธรรมรัตนะแม้นี้เป็นรัตนะอันประณีต
    ด้วยสัจจวาจานี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่ เหล่านี้
    ๕.บุคคล ๘จำพวก ๔ คู่ อันสัตบุรุษทั้งหลายสรรเสริญแล้ว บุคคลเหล่านั้น
    ควรแก่ทักษิณาทาน เป็นสาวกของพระตถาคต ทานที่บุคคลถวายแล้ว
    ในท่านเหล่านั้น ย่อมมีผลมาก สังฆรัตนะแม้นี้เป็นรัตนะอันประณีต
    ด้วยสัจจวาจานี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่ เหล่านี้
    ๖.พระอริยบุคคลเหล่าใด ในศาสนาของพระโคดมประกอบดีแล้ว [ด้วยกายประโยคและ
    วจีประโยคอันบริสุทธิ์] มีใจมั่นคง เป็นผู้ไม่มีความห่วงใย [ในกายและชีวิต]
    พระอริยบุคคลเหล่านั้น บรรลุอรหัตผลที่ควรบรรลุหยั่งลงสู่อมตนิพพาน
    ได้ซึ่งความดับกิเลสโดยเปล่า เสวยผลอยู่ สังฆรัตนะแม้นี้เป็นรัตนะอันประณีต
    ด้วยสัจจวาจานี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่ เหล่านี้
    ๗.เสาเขื่อนที่ฝังลงดินไม่หวั่นไหวเพราะลมทั้งสี่ทิศ ฉันใด ผู้ใดพิจารณาเห็นอริยสัจทั้งหลาย
    เราเรียกผู้นั้นว่าเป็นสัตบุรุษ ผู้ไม่หวั่นไหวเพราะโลกธรรมมีอุปมาฉันนั้น สังฆรัตนะนี้
    เป็นรัตนะอันประณีต ด้วยสัจจวาจานี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่ เหล่านี้
    ๘.พระอริยบุคคลเหล่าใด ทำให้แจ้งซึ่งอริยสัจทั้งหลาย อันพระศาสดาทรง แสดงดีแล้ว
    ด้วยปัญญาอันลึกซึ้ง พระอริยบุคคลเหล่านั้น ยังเป็นผู้ประมาทอย่างแรงกล้าอยู่ก็จริง
    ถึงกระนั้น ท่านย่อมไม่ยึดถือเอาภพที่ ๘ สังฆรัตนะแม้นี้เป็นรัตนะอันประณีต
    ด้วยสัจจวาจานี้ ขอความสวัสดี จงมีแก่ เหล่านี้
    ๙.สักกายทิฏฐิและวิจิกิจฉา หรือแม้สีลัพพตปรามาสอันใดอันหนึ่งยังมีอยู่
    ธรรมเหล่านั้น อันพระอริยบุคคลนั้นละได้แล้ว พร้อมด้วยความถึงพร้อมแห่งการเห็น
    [นิพพาน] ทีเดียว อนึ่ง พระอริยบุคคลเป็นผู้พ้นแล้วจากอบายทั้ง ๔ ทั้งไม่ควร
    เพื่อจะทำอภิฐานทั้ง ๖ [คืออนันตริยกรรม ๕ และการเข้ารีด] สังฆรัตนะแม้นี้
    เป็นรัตนะอันประณีต ด้วยสัจจวาจานี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่ เหล่านี้
    ๑๐.พระอริยบุคคลนั้นยังทำบาปกรรมด้วยกาย ด้วยวาจา หรือด้วยใจ ก็จริง ถึงกระนั้น
    ท่านไม่ควร เพื่อจะปกปิดบาปกรรมอันนั้น ความที่บุคคลผู้มีธรรมเครื่องถึงนิพพาน
    อันตนเห็นแล้ว เป็นผู้ไม่ควรเพื่อปกปิดบาปกรรมนั้น พระผู้มีพระภาคตรัสแล้ว
    สังฆรัตนะแม้นี้เป็นรัตนะอันประณีตด้วยสัจจวาจานี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่ เหล่านี้
    ๑๑.พุ่มไม้ในป่ามียอดอันบานแล้วในเดือนต้นในคิมหันตฤดู ฉันใด พระผู้มีพระภาค
    ได้ทรงแสดงธรรมอันประเสริฐยิ่ง เป็นเครื่องให้ถึงนิพพาน เพื่อประโยชน์เกื้อ***ล
    มีอุปมา ฉันนั้น พุทธรัตนะแม้นี้เป็นรัตนะอันประณีต ด้วยสัจจวาจานี้
    ขอความสวัสดีจงมีแก่ เหล่านี้
    ๑๒.พระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐทรงทราบธรรมอันประเสริฐ ทรงประทานธรรมอันประเสริฐ
    ทรงนำมาซึ่งธรรมอันประเสริฐ ไม่มีผู้ยิ่งไปกว่า ได้ทรงแสดงธรรมอันประเสริฐ
    พุทธรัตนะแม้นี้เป็นรัตนะอันประณีต ด้วยสัจจวาจานี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่ เหล่านี้
    ๑๓.พระอริยบุคคลเหล่าใดผู้มีจิตอันหน่ายแล้วในภพต่อไป มีกรรมเก่าสิ้นแล้ว ไม่มีกรรมใหม่
    เป็นเครื่องสมภพ พระอริยบุคคลเหล่านั้น มีพืชอันสิ้นแล้ว มีความพอใจไม่งอกงามแล้ว
    เป็นนักปราชญ์ ย่อมนิพพาน เหมือนประทีปอันดับไป ฉะนั้น สังฆรัตนะแม้นี้เป็นรัตนะอันประณีต ด้วยสัจจวาจานี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่ เหล่านี้
    ๑๔. ภูตเหล่าใดประชุมกันแล้วในประเทศนี้ก็ดี หรือภุมมเทวดาเหล่าใดประชุมกันแล้ว
    ในอากาศก็ดี เราทั้งหลาย จงนมัสการพระพุทธเจ้า ผู้ไปแล้วอย่างนั้น ผู้อันเทวดาและมนุษย์ทั้งหลายบูชาแล้ว ขอความสวัสดี จงมีแก่ เหล่านี้
    ๑๕.ภูตเหล่าใดประชุมกันแล้วในประเทศก็ดี หรือภุมมเทวดาเหล่าใดประชุมกันแล้ว
    ในอากาศก็ดี เราทั้งหลายจงนมัสการพระธรรม อันไปแล้วอย่างนั้น อันเทวดาและ
    มนุษย์บูชาแล้ว ขอความสวัสดี จงมีแก่ เหล่านี้
    ๑๖.ภูตเหล่าใดประชุมกันแล้วในประเทศนี้ก็ดี หรือภุมมเทวดาเหล่าใดประชุมกันแล้ว
    ในอากาศก็ดี เราทั้งหลาย จงนมัสการพระสงฆ์ผู้ไปแล้วอย่างนั้น ผู้อันเทวดาและ
    มนุษย์บูชาแล้ว ขอความสวัสดี จงมีแก่ เหล่านี้ ฯ
    จบรัตนสูตร ฯ
    ตำนานของบทรัตนสูตร สมัยหนึ่งเมืองเวสาลีเกิดฝนแล้งขาดอาหารปลูกพืชผักไม่ได้ มีคนอดอยากล้มตายมากมาย มีโรคอหิวาต์ระบาด ซากศพถูกโยนทิ้งนอกเมืองมากมาย พวกอมนุษย์ได้กลิ่นศพก็พากันเข้ามาในเมือง ทำอันตรายคน ทำให้เมืองเวสาลีประสบภัย 3 อย่าง คือ ทุพภิกขภัย คือ ข้าวยากหมากแพง อมนุสสภัย คือ อมนุษย์ทำร้ายผู้คน โรคภัย คือ เกิดโรคระบาด เหล่าอำมาตย์ และชาวเมืองจึงช่วยกันพิจารณาว่าเมืองนี้ไม่เคยเกิดเพทภัยแบบนี้มาถึง 7 รัชสมัย จึงกราบทูลถามผู้ครองนครว่าภัยเกิดเพราะพระราชาไม่ตั้งอยู่ในทศพิธราชธรรมหรือไม่ พระราชาได้รับสั่งให้ชาวเมืองประชุมกันพิจารณาหาโทษของพระองค์ ชาวเมืองก็ไม่สามารถพิจารณาหาโทษได้ แสดงว่าพระองค์ตั้งอยู่ในธรรมดี ดังนั้นจึงปรึกษากันว่าควรจะนิมนต์ พระพุทธเจ้าให้เสด็จมาโปรด จึงส่งกษัตริย์ลิจฉวีเป็นผู้ไปนิมนต์ เมื่อพระพุทธองค์มาถึง พระอินทร์ พร้อมด้วยเทพบริวารจำนวนมากได้มาเฝ้า ทำให้พวกอมนุษย์ต้องหลบหนีไป พระพุทธองค์ทรงสอนพระปริตรนี้แก่พระอานนท์ ให้ท่านสวดรอบเมืองที่มีกำแพงแก้ว ๓ ชั้น ตลอด ๓ ยาม พวกอมนุษย์ที่ยังเหลืออยู่ได้หลบหนีไปจนหมด เพราะกลัวอานุภาพพระปริตร ฝนก็ตกต้อง ตามฤดูกาล โรคระบาดก็ระงับลง ชาวเมืองก็อยู่เป็นสุขอีกครั้ง
     
  8. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    วัฏฏกปริตร

    จาก วิกิซอร์ซ, สารานุกรมฟรี



    <!-- start content -->
    วัฏฏกปริตร ทำให้พ้นจากอัคคีภัย

    อัตถิ โลเก สีละถุโณ สัจจัง โสเจยยะนุททะยา เตนะ สัจเจนะ กาหามิ สัจจะกิริยะมะนุตตะรัง อาวัชชิตวา ธัมมะพะลัง สะริตวา ปุพพะเก ชิเน สัจจะพะละมะวัส สายะ สัจจะกิริยะมะกาสะหัง สันติ ปักขา อะปัตตะนา สันติปาทา อะวัญจะนา มาตา ปิตา จะ นิกขันตา ชาตะ เวทะ ปะฏิกกะมะ สะหะ สัจเจ กะเต มัยหัง มะหาปัช ชะลิโต สิขี วัชเชสิ โสฬะสะกะรีสานิ อุทะกัง ปัตวา ยะถา สิขี สัจเจนะ เม สะโม นัตถิ เอสา เม สัจจะปาระมีติฯ
     
  9. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    อังคุลิมาลปริตร ทำให้คลอดบุตรง่ายและป้องกันอันตราย

    ยะโตหัง ภะคินี อะริยายะ ชาติยา ชาโต นาภิชา นามิ สัญจิจจะ ปาณัง ชีวิตา โวโรเปตา เตนะ สัจเจนะ โสตถิ เต โหตุ โสตถิ คัพภัสสะ ฯ ยะโตหัง ภะคินิ อะริยายะ ชาติยา ชาโต นาภิชานามิ สัญจิจจะ ปาณัง ชีวิตา โวโรเปตา เตนะ สัจเจนะ โสตถิ เต โหตุ โสตถิ คัพภัสสะ ฯ ยะโตหัง ภะคินิ อะริยายะ ชาติยา ชาโต นาภิชานามิ สัญจิจจะ ปาณัง ชีวิตา โวโรเปตา เตนะ สัจเจนะ โสตถิ เต โหตุ โสตถิ คัพภัสสะ ฯ
     
  10. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    อภยปริตร ทำให้พ้นจากภัยพิบัติและไม่ฝันร้าย

    ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะ โย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง พุทธานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ ฯ ยันทุนนิมิตตัง อะวะมัง คะลัญจะ โย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง ธัมมานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ ฯ ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะ โย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง สังฆานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ ฯ ทุกขัปปัตตา จะ นิททุกขา ภะยัปปัตตา จะ นิพภะยา โสกัปปัตตา จะ นิสโสกา โหนตุ สัพเพปิ ปาณิโน เอตตาวะตา จะ อัมเหหิ สัมภะตัง ปุญญะสัมปะทัง สัพเพ เทวา นุโมทันตุ สัพพะสัมปัตติสิทธิยา ทานัง ทะทันตุ สัทธายะ สีลัง รักขันตุ สัพพะทา ภาวะนาภิระตา โหนตุ คัจฉันตุ เทวะตาคะตา ฯ สัพเพ พุทธา พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโสฯ
     
  11. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    พระธารณะปริต

    พระธารณะปริต

    จาก วิกิซอร์ซ, สารานุกรมฟรี



    <!-- start content -->
    พระธารณะปริตร

    1. พุทธานัง ชีวิตัสสะ นะ สักกา เกนะจิ อันตราโย กาตุง ตถา เม โหตุ
    อันพระชนม์ชีพของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย บุคคลใดไม่อาจกระทำอันตรายได้ฉันใด ขออันตรายทั้งปวงจงอย่ามีแก่ข้าพเจ้าเช่นเดียวกัน


    2. อตีตังเส พุทธัสสะ ภควโต อัปปฏิหะตัง ญานัง,
    อนาคะตังเส พุทธัสสะ ภควโต อัปปฏิหะตัง ญานัง,
    ปัจจุปปันนังเส พุทธัสสะ ภควโต อัปปฏิหะตัง ญานัง,
    อิเมหิ ตีหิ ธัมเมหิ สะมันนาคะตัสสะ พุทธัสสะ ภควโต
    พระพุทธองค์ผู้ทรงสมบูรณ์ด้วยบุญ6ประการ* ทรงมีพระญาน ทั้งอดีต อนาคต และปัจจุบันที่ไม่มีเครื่องกระทบ ไม่มีการปิดกั้น ไม่มีถดทอย ทรงเป็นผู้มีพระคุณสมบูรณ์ด้วยพระญานทั้ง3ดังกล่าวแล้วนี้
    (* บุญทั้ง6 ประการ คือ อิสลริยะ ธัมมะ ผัสสะ สิริ กามะ และปตัตะ)


    3. สัพพัง กายะกัมมัง ญาณะปุพพังคะมัง ญาณานุปริวัตตัง,
    สัพพัง วจีกัมมัง ญาณะปุพพังคะมัง ญาณานุปริวัตตัง,
    สัพพัง มโนกัมมัง ญาณะปุพพังคะมัง ญาณานุปริวัตตัง,
    อิเมหิ ฉะหิ ธัมเมหิ สะมันนาคะตัสสะ พุทธัสสะภควโต
    พระพุทธองค์ผู้ทรงสมบูรณ์ด้วยบุญ6ประการ* กายกรรมทั้งปวง วจีกรรมทั้งปวง มโนกรรมทั้งปวง
    ของพระองค์ ทรงมีพระญานเป็นเครื่องนำเป็นไปตามลำดับพระญาน ทรงเป็นผู้มีพระคุณสมบูรณ์ด้วย
    พระญานทั้ง6 ดังกล่าวแล้วนี้
    (* บุญทั้ง6 ประการ คือ อิสลริยะ ธัมมะ ผัสสะ สิริ กามะ และปตัตะ)


    4. นัตถิ ฉันทัสสะ หานิ,
    อันว่าความเสื่อมลงของคุณธรรมทั้ง 6 นี้ ย่อมไม่มีแก่พระพุทธเจ้า ผู้ทรงสมบูรณ์ด้วยบุญ 6 ประการ*คุณธรรม 6 นี้ได้แก่
    - ความเสื่อมถอยลงของพระพุทธประสงค์ ย่อมไม่มีแก่พระพุทธองค์


    นัตถิ ธัมมะเทสะนายะ หานิ,
    - ความเสื่อมถอยลงของการแสดงธรรม ย่อมไม่มีแก่พระพุทธองค์


    นัตถิ วีริยัสสะ หานิ,
    - ความเสื่อมถอยลงแห่งความเพียร ย่อมไม่มีแก่พระพุทธองค์


    นัตถิ วิปัสสะนายะ หานิ,
    - ความเสื่อมถอยลงของวิปัสสนาญาน ย่อมไม่มีแก่พระพุทธองค์


    นัตถิ สมาธิสสะ หานิ,
    - ความเสื่อมถอยลงของสมาธิ ย่อมไม่มีแก่พระพุทธองค์


    นัตถิ วิมุตติยา หานิ,
    - ความเสื่อมถอยลงของความสุขในอรหัตผล ย่อมไม่มีแก่พระพุทธองค์


    อิเมหิ ทวาทะสะหิ ธัมเมหิ สะมันนาคะตัสสะ พุทธัสสะ ภควโต
    พระพุทธองค์ทรงเป็นผู้มีพระคุณ สมบูรณ์ด้วยคุณธรรมทั้ง 12 ประการ ดั้งกล่าวแล้วนี้


    5. นัตถิ ทวา, นัตถิ รวา,
    พระพุทธองค์ผู้ทรงสมบูรณ์ด้วยบุญ6ประการ* ชื่อว่า
    - การหัวเราะสรวลเสเฮฮา ย่อมไม่มีแก่พระพุทธองค์
    - การพูดพลั้งเผลอโดยขาดสติ ย่อมไม่มีแก่พระพุทธองค์
    (* บุญทั้ง6 ประการ คือ อิสลริยะ ธัมมะ ผัสสะ สิริ กามะ และปตัตะ)


    นัตถิ อัปผุตัง, นัตถิ เวคายิตัตตัง,
    - พระธรรมที่มิได้สัมผัสด้วยพระญาน ย่อมไม่มีแก่พระพุทธองค์
    - การหุนหันพลันแล่นขาดวิจารณญาน ย่อมไม่มีแก่พระพุทธองค์


    นัตถิ อัพยาวะฏะมโน,
    - การปล่อยใจเหม่อลอยขาดสติ ย่อมไม่มีแก่พระพุทธองค์




    นัตถิ อัปปฏิสังขานุเปกขา,
    - การเพ่งเฉยโดยปราศจากการพิจารณา ย่อมไม่มีแก่พระพุทธองค์


    อิเมหิ อัฏฐาระสะหิ ธัมเมหิ สะมันนาคะตัสสะ พุทธัสสะ ภควโต นโม สัตตันนัง สัมมาสัมพุทธานัง.
    พระพุทธองค์ทรงเป็นผู้สมบูรณ์ด้วยคุณธรรมทั้ง 18 ประการ ดั้งกล่าวแล้วนี้ ข้าพเจ้าขอน้อมไหว้ พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าทั้ง 7 พระองค์


    6. นัตถิ ตถาคะตัสสะ กายะทุจจะริตัง,
    นัตถิ ตถาคะตัสสะวจีทุจจะริตัง,
    นัตถิ ตถาคะตัสสะ มโนทุจจะริตัง,
    การประพฤติไม่ดี ที่เรียกว่า กายทุจริต วจีทุจริต และมโนทุจริต ย่อมไม่มีแก่พระพุทธเจ้าซึ่งเป็น
    ผู้เสด็จมาดีแล้ว เหมือนดังพระพุทธเจ้าองค์ก่อนๆ


    นัตถิ อตีตังเส พุทธัสสะ ภควโต ปฏิหะตัง ญานัง,
    นัตถิ อนาคะตังเส พุทธัสสะ ภควโต ปฏิหะตัง ญานัง,
    นัตถิ ปัจจุปันนังเส พุทธัสสะ ภควโต ปฏิหะตัง ญานัง,
    พระญานที่เป็นไปในส่วนอดีต อนาคต และปัจจุบันซึ่งมีการปกปิด กีดกั้น ถดถอยไม่มีแก่พระพุทธเจ้า
    ผู้ทรงสมบูรณ์ด้วย บุญทั้ง 6 ประการ*
    (* บุญทั้ง6 ประการ คือ อิสลริยะ ธัมมะ ผัสสะ สิริ กามะ และปตัตะ)


    นัตถิ สัพพัง กายะกัมมัง ญาณาปุพพังคมัง ญานัง นานุปริวัตตัง,
    นัตถิ สัพพัง วจีกัมมัง ญาณาปุพพังคมัง ญานัง นานุปริวัตตัง,
    นัตถิ สัพพัง มโนกัมมัง ญาณาปุพพังคมัง ญานัง นานุปริวัตตัง,
    กายกรรม วจีกรรม และมโนกรรมที่ไม่มีพระญานเป็นประธาน ไม่เป็นไปตามพระญาน
    ย่อมไม่มีแก่พระพุทธองค์


    อิมัง ธาระนัง อะมิตัง อะสะมัง, สัพพะสัตตานัง ตาณัง เลณัง,
    สังสาระภยะภีตานัง อัคคัง มหาเตชัง.
    อิมัง อานันทะ ธารณะปริตตัง ธาเรหิ วาเจหิ ปริปุจฉาหิ,
    พระธารณะปริตรที่ได้สาธยายเป็นประจำนี้ ไม่มีอะไรเสมอเหมือน เป็นที่พึ่งพึงอาศัยของสรรพสัตว์ทั้งหลายผู้กลัวภัยในวัฏสงสาร ดูก่อนอานนท์ เธอจงท่องสาธยายพระธารณะปริตรนี้ จงสอนและให้สอบถามพระคาถาอันประเสริฐยิ่ง มีเดชมากนี้เถิด


    ตัสสะ กาเย วิสัง นะ กเมยยะ อุทะเก นะ ลัคเคยยะ,
    อัคคิ นะ ฑะเหยยะ, นานาภยะวิโก,
    นะ เอกาหาระโก, นะ ทวิหาระโก, นะ ติหาระโก,
    นะ จตุหาระโก, นะ อุมมัตตะกัง, นะ มูฬหะกัง,
    มนุสเสหิ อะมนุสเสหิ นะ หิงสะกา.
    ผู้สวดมนต์นี้เป็นประจำไม่ตายด้วยพิษงู พิษนาค ไม่ตายในน้ำ ในไฟ เป็นผู้พ้นภัยนานา ใครคิดทำร้ายวันเดียวไม่สำเร็จ สองวัน สามวัน สี่วันก็ไม่สำเร็จ ไม่เป็นโรคบ้าฟุ้งซ่าน ไม่หลงสติ มนุษย์ อมนุษย์ทั้งหลาย ไม่สามารถทำร้ายหรือเบียดเบียนได้


    7. ตัง ธารณะปริตตัง ยะถา กตะมัง?
    อันว่าพระธารณะปริตรนี้ศักศิ์สิทธิ์อย่างไร?


    ชาโล, มหาชาโล,
    - มีอานุภาพ เหมือนพระอาทิตย์ 7 ดวงขึ้นพร้อมกันในเวลาโลกาวินาศ ***************!!!!!!!!!!!!!**************
    - มีฤทธิ์เดชเหมือนตาข่ายเหล็กกางกั้นภัยจาก เทวดา นาคา ครุฑ ยักษ์ รากษส เป็นต้น


    ชาลิตเต, มหาชาลิตเต,
    - สามารถป้องกันอันตรายที่เกิดจากน้ำ ไฟ พระราชา โจร ศัตรูทั้งหลาย
    - มีอานุภาพให้พ้นจากกัปทั้ง3 คือ โรคันตรกัป สัตถันตรกัป และ ทุพภิกขันตรกัป


    ปุคเค, มหาปุคเค,
    - มีอานุภาพให้พ้นจากโรดต่างๆในขณะปฏิสนธิ คือเป็นใบ้ บอด หนวก เป็นบ้าฟุ้งซ่าน และไม่ตกต้นไม้ ตกเขา ตกเหวตาย


    สัมปัตเต, มหาสัมปัตเต,
    - สามารถได้สมบัติที่ยังไม่ได้ ทรัพย์สมบัติที่ได้แล้วก็เจริญเพิ่มพูนขึ้น


    ภูตังคัมหิ ตะมังคะลัง,
    - สามารถกำจัดความมืด ให้เข้าถึงความสว่างได้


    8. อิมัง โข ปนานันทะ ธารณะปริตตัง สัตตะสัตตะติ สัมมาสัมพุทธะโกฏีหิ ภาสิตัง,
    - ดูก่อนอานนท์ พระธารณะปริตรนี้ อันพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทั้งหลาย 77 โกฏิ ตรัสไว้ว่า:


    วัตเต, อะวัตเต, คันธะเว, อะคันธะเว,
    - พึงทำประโยชน์ที่ดี ไม่พึงทำประโยชน์ที่ไม่ดี
    - พึงนำมาซึ่งกลิ่นรสแห่งธรรมะที่ดี ไม่นำมาซึ่งธรรมะที่ไม่ดี


    โนเม, อะโนเม, เสเว, อะเสเว,
    - พึงน้อมนำมาซึ่งจิตใจดี ไม่น้อมนำมาซึ่งจิตใจร้าย
    - พึงสมาคมกับคนดี ไม่พึงสมาคมกับคนไม่ดี


    กาเย, อะกาเย, ธาระเณ, อะธาระเณ,
    - พึงทำกายให้เป็นกายดี ไม่ทำให้เป็นกายร้าย
    - พึงนำมาแต่การกระทำที่เป็นฝ่ายดี ไม่นำมาซึ่งการกระทำไม่ดี


    อิลลิ, มิลลิ, ติลลิ, มิลลิ,
    - พึงหลับฝันเห็นแต่สิ่งดี ไม่พึงหลับฝันร้าย
    - พึงเห็นอดีตนิมิตที่ดี ไม่พึงเห็นอดีตนิมิตที่ไม่ดี


    โยรุกเข, มหาโยรุกเข,
    - ต้นไม้ที่ตายแล้วสามารถฟื้นคืนมาได้
    - ต้นไม้ที่ยังเป็นอยู่ก็ทำให้เจริญงอกงาม


    ภูตังคัมหิ, ตะมังคะลัง,
    - สามารถกำจัดความมืด ให้เข้าถึงความสว่างได้


    9. อิมัง โข ปนานันทะ ธารณะปริตตัง นวะนวุติยา สัมมาสัมพุทธะโกฏิหิ ภาสิตัง,
    ดูก่อนอานนท์ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า 99 โกฏิ ได้ตรัสแสดงไว้ว่าพระธารณะปริตรนี้ช่วยให้:


    ทิฏฐิลา, ทัณฑิลา,
    - รู้ความคิดร้ายของผู้อื่น
    - แคล้วคลาดจากอาวุธเครื่องประหารทุกชนิด


    มันติลา, โรคิลา,
    - สามารถทำให้เวทมนต์คาถาศักดิ์สิทธิ์ยิ่งขึ้น
    - กำจัดปัดเป่าอันตรายจากโรคต่างๆได้


    ขะระลา, ทุพภิลา,
    - รอดปลอดภัยจากโรคร้ายแรง
    - หลุดพ้นจากเครื่องจองจำ พันธนาการได้


    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ
    ด้วยอำนาจแห่งสัจจะวาจานี้


    โสตถิ เม โหตุ สัพะทา.
    ขอความสุขสวัสดีจงมีแก่ข้าพเจ้าทุกเมื่อเทอญ



    [แก้ไข] พระคาถาป้องกันมหาภัย (หัวใจพระธารณะปริตร)

    ทิฏฐิลา ทัณฑิลา
    ใครคิดร้ายขอให้พ่ายแพ้ไป
    หอก ดาบ ปืน ไฟ อย่าแผ้วพาน


    มันติลา โรคิลา
    เวทมนต์ ศักดิ์สิทธิ์เรืองฤทธิ์กล้า
    โรคา เบาคลายหายผ่าน


    ขะระลา ทุพภิลา
    รอดพ้นโรคร้ายในจักรวาล
    เครื่องพันธนาการหลุดทันที


    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ
    ด้วยอำนาจแห่งสัจจะวาจานี้


    โสตถิ เม โหตุ สัพะทา.
    ขอความสุขสวัสดีจงมีแก่ข้าพเจ้าทุกเมื่อเทอญ


    (พึงให้ทาน รักษาศีล และเจริญภาวนา เพื่อความศักดิ์สิทธิ์ของพระคาถานี้)
     
  12. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,893
    นะมะการะสิทธิคาถา

    นะมะการะสิทธิคาถา

    จาก วิกิซอร์ซ, สารานุกรมฟรี



    <!-- start content --> นะมะการะสิทธิคาถา พระนิพนธ์ของสมเด็จพระพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ___________________

    ใช้แทนสัมพุทเธ
    โย จักขุมา โมหะมะลาปะกัฏโฐ สามัง วะ พุทโธ สุคะโต วิมุตโต มารัสสะ ปาสา วินิโมจะยันโต ปาเปสิ เขมัง ชะนะตัง วิเนยยัง ฯ พุทธัง วะรันตัง สิระสา นะมามิ โลกัสสะ นาถัญจะ วินายะกัญจะ ตันเตชะสา เต ชะยะ สิทธิ โหตุ สัพพันตะรายา จะ วินาสะเมนตุ ฯ ธัมโม ธะโช โย วิยะ ตัสสะ สัตถุ ทัสเสสิ โลกัสสะ วิสุทธิมัคคัง นิยยานิโก ธัมมะธะรัสสะธารี สาตาวะโห สันติกะโร สุจิณโณ ฯ ธัมมัง วะรันตัง สิระสา นะมามิ โมหัปปะทาลัง อุปะสันตะทาหัง ตันเตชะสา เต ชะยะสิทธิ โหตุ สัมพันตะรายา จะ วินาสะเมนตุ ฯ สัทธัมมะเสนา สุ คะตานุโค โย โลกัสสะ ปาปูปะกิเล สะเชตา สันโต สะยัง สันตินิโยชะโก จะ สวากขาตะธัมมัง วิทิตัง กะโรติ ฯ สังฆัง วะรันตัง สิระสา นะมามิ พุทธานุพุทธัง สะมะสีละทิฏฐิง ตันเตชะสา เต ชะยะ สิทธิ โหตุ สัพพันตะรายา จะ วินาสะเมนตุ ฯ __________________
    ขึ้นสวดมนต์สิบสองตำนาน
    สะรัชชัง สะเสนัง สะพันธุง นะรินทัง ปะริตตานุภาโว สะทา รักขะตูติ ผะริตวานะ เมตตัง สะเมตตา ภะทันตา อะวิกขิตตะจิตตา ปะริตตัง ภะณันตุ ฯ สะมันตา จักกะวาเฬสุ อัตรา คัจฉันตุ เทวะตา สัทธัมมัง มุนิราชัสสะ สุณันตุ สัคคะโมกขะทัง ฯ สัคเค กาเม จะ รูเป คิริสิขะระตะเฏ จันตะลิกเข วิมาเน ทีเป รัฏเฐ จะ คาเม ตะรุวะนะคะหะเน เคหะวัตถุมหิ เขตเต ภุมมา จายันตุ เทวา ชะละถะละวิสะเม ยักขะคันธัพพะนาคา ติฏฐันตา สันติเก ยัง มุนิวะระวะจะนัง สาธะโว เม สุณันตุ ฯ ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา ธัมมัส สะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา ฯ
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ ฯ ( ว่า ๓ หน )
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ฯ ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ฯ ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ฯ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ฯ สัมพุทเธ อัฏฐะวีสัญจะ ทวาทะสัญจะ สะหัสสะเก ปัญจะสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง เตสา ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหัง นะมะการานุภาเวนะ หันตวา สัพเพ อุปัททะเว อะเนกา อันตะรายาปิ วินัสสันตุ อะเสสะโต ฯ สัมพุทเธ ปัญจะปัญญาสัญจะจะตุวีสะติ สะหัส สะเก ทะสะสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหัง นะมะการานุภาเวนะ หันตวา สัพเพ อุปัททะเว อะเนกา อันตะรายาปิ วินัสสันตุ อะเสสะโตฯ สัมพุทเธ นะวุตตะระสะเต อัฏฐะจัตตาฬีสะสะหัสสะเก วีสะติสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง เตสัง สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหัง นะมะการานุภาเวนะ หันตวา สัพเพ อุปัททะเว อะเนกา อันตะรายาปิ วินัสสันตุ อะเสสะโต ฯ
    ( ถ้าไม่สวด สัมพุทเธ จะสวด นะมะการะสิทธิคาถา ซึ่งอยู่หน้าต้นแทนก็ได้ ) ______________________

    นะโมการะอัฏฐะกะ
    นะโม อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ มะเหสิโน นะโม อุตตะมะธัมมัสสะ สวากขาตัสเสวะ เตนิธะ นะโม มะหาสังฆัสสาปิ วิสุทธะสีละทิฏฐิโน นะโม โอมาตยารัทธัสสะ ระตะนัตตะยัสสะ สาธุกัง นะโม โอมะกาตี ตัสสะ ตัสสะวัตถุตตะยัสสะปิ นะโม การัปปะภาเวนะ วิคัจฉันตุ อุปัททะวา นะโม การานุภาเวนะ สุวัตถิ โหตุ สัพพะทา นะโม การัสสะ เตเชนะ วิธิมหิ โหมิ เตชะวา ฯ ( นะโมการะอัฏฐะกะนี้สวดในสมัยที่ควร ) _____________________


    เริ่มมังคะละสุตตัง
    เย สันตา สันตะจิตตา ติสะระณะสะระณา เอตถะ โลกันตะเร วา ภุมมาภุมมา จะ เทวา คุณะคะณะคะหะณัพยาวะฏา สัพพะกาลัง เอเต อายันตุ เทวา วะระกะนะ กะมะเย เมรุราเช วะสันโต สันโต สันโต สะเหตุง มุนิวะระวะจะนัง โสตุมมัคคัง ฯ สัพเพสุจักกะวาเฬสุ ยักขา เทวา จะ พรัหมุโน ยัง อัมเหหิ กะตัง ปุญญัง สัพพะสัมปัตติ สาธะกัง สัพเพ ตัง อะนุโมทิตวา สะมัคคา สาสะเน ระตา ปะมาทะระหิตา โหนตุ อารักขาสุ วิเสสะโต สาสะนัสสะ จะ โลกัสสะ วุฑฒี ภะวะตุ สัพพะทา สาสะนัมปิ จะ โลกัญจะ เทวา รักขันตุ สัพพะทา สัทธิง โหนตุ สุขี สัพเพ ปะริวาเรหิ อัตตะโน อะนีฆา สุมะนา โหนตุ สะหะ สัพเพหิ ญาติภิ ฯ ยัญจะ ทวาทะสะ วัสสานิ จินตะยิงสุ สะเทวะกา จิรัสสัง จินตะยันตาปิ เนวะ ชานิงสุ มังคะลัง จักกะ วาฬะสะหัสเสสุ ทะสะสุ เยนะ ตัตตะกัง กาลัง โกลาหะลัง ชาตัง ยาวะ พรัหมเวสะนา ยัง โลกะนาโถ เทเสสิ สัพพะปาปะวินาสะนัง ยัง สุตวา สัพพะทุกเขหิ มุจจันตา สังขิยา นะรา เอวะมาทิคุณูเปตัง มังตะลันตัมภะณามะ เห ฯ ____________________
    มังคะละสุตตัง
    เอวัมเม สุตัง ฯ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา สาวัตถิยัง วิหะระติ เชตะวะเน อะนาถะปิณฑิกัสสะ อาราเม ฯ อะถะโข อัญญะตะรา เทวะตา อะภิกกันตายะ รัตติยา อะภิกกันตะวัณณา เกวะละกัปปัง เชตะวะนัง โอภาเสตวา เยนะ ภะคะวา เตนุปะสังกะมิตวา ภะคะวันตัง อะภิวาเทตวา เอกะมันตัง อัฏฐาสิ ฯ เอกะมันตัง ฐิตา โข สา เทวะตา ภะคะวันตัง คาถายะ อัชฌะภาสิฯ พะหู เทวา มะนุสสา จะ มังคะลานิ อะจินตะยุง อากังขะมานา โสตถานัง พรูหิ มังคะละมุตตะมัง ฯ อะเสวะนา จะ พาลานัง ปัณฑิตานัญจะ เสวะนา ปูชา จะ ปูชะนียานัง เอตัม มังคะละมุตตะมัง ฯ ปะฏิรูปะเทสะ วาโส จะ ปุเพ จะ กะตะปุญญะตา อัตตะสัมมาปะณิธิ จะ เอตัม มังคะละมุตตะมัง ฯ พาหุสัจจัญจะ สิปปัญจะ วินะโย จะ สุสิกขิโต สุภาสิตา จะ ยา วาจา เอตัม มังคะละมุตตะมัง ฯ มาตาปิตุอุปัฏฐานัง ปุตตะทารัสสะ สังคะโห อะนากุลา จะ กัมมันตา เอตัม มังคะละมุตตะมัง ฯ ทานัญจะ ธัมมะจะริยา จะ ญาตะกานัญจะ สังคะโห อะนะวัชชานิ กัมมานิเอตัม มังคะละมุตตะมัง ฯ อาระตี วิระตี ปาปา มัชชะปานา จะ สัญญะโม อัปปะมาโท จะ ธัมเมสุ เอตัม มังคะละมุตตะมัง ฯ คาระโว จะ นิวาโต จะ สันตุฏฐี จะ กะตัญญุตา กาเลนะ ธัมมัสสะวะนัง เอตัม มังคะละมุตตะมัง ฯ ขันตี จะ โสวะจัสสะตา สะมะณานัญจะ ทัสสะนัง กาเลนะ ธัมมะสากัจฉา เอตัม มังคะละมุตตะมัง ฯ ตะโป จะ พรัหมะจะริยัญจะ อะริยะสัจจานะ ทัสสะนัง นิพพานะสัจฉิกิริยา จะ เอตัม มังคะละมุตตะมัง ฯ ผุฏฐัสสะ โลกะธัมเมหิ จิตตัง ยัสสะ นะ กัมปะติ อะโสกัง วิระชัง เขมัง เอตัม มังคะละมุตตะมัง ฯ เอตาทิสานิ กัตวานะ สัพพัตถะมะปะราชิตา สัพพัตถะ โสตถิง คัจฉันติ ตันเตสัง มังคะละมุตตะมันติ ฯ ________________________


    เริ่มระตะนะสุตตัง
    ปะณิธานะโต ปัฏฐายะ ตะถาคะตัสสะ ทะสะปาระมิโย ทะสะ อุปะปาระมิโย ทะสะ ปะระมัตถะปาระมิโยติ สะมะติงสะ ปาระมิโย ปูเรตวา ปัญจะ มะหาปะริจจาเค ติสโส จะริยา ปัจฉิมมัพภะเว คัพภาวักกันติง ชาติง อะภินิกขะมะนัง ปะธานะจะริยัง โพธิปัลลังเก มาระวิชะยัง สัพพัญญุตะญาณัปปะฏิเวธัง ธัมมะจักกัปปะวัตตะนัง นะวะ โลกุตตะระธัมเมติ สัพเพปิเม พุทธะคุเณ อาวัชชิตวา เวสาลิยา ตีสุ ปาการันตะเรสุ ติยามะรัตติง ปะริตตัง กะโรนโต อายัสมา อานันทัตเถโร วิยะ การุญญะจิตตัง อุปัฏฐะเปตวา โกฏิสะตะสะหัสเสสุ จักกะวาเฬสุ เทวะตา ยัสสาฌัมปะฏคคัณหันติ ยัญจะ เวสาลิยัมปุเร โรคามะนุสสะ ทุพภิกขะสัมภูตันติวิธัมภะยัง ขิปปะมันตะระธาเปสิ ปะริตตันตัมภะณามะ เห ฯ __________________________
    ระตะนะสุตตัง
    ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ ภุมมานิ วา ยานิวะ อันตะลิกเข สัพเพวะ ภูตา สุมะนา ภะวันตุ อะโถปิ สักกัจจะ สุณันตุ ภาสิตัง ตัส์มา หิ ภูตา นิสาเมถะ สัพเพ เมตตัง กะโรถะ มานุสิยา ปะชายะ ทิวา จะ รัตโต จะ หะรันติ เย พะลิง ตัส์มา หิ เน รักขะถะ อัปปะมัตตา ฯ ยังกิญจิ วิตตัง อิธะ วา หุรัง วา สะเคสุ วา ยัง ระตะนัง ปะณีตัง นะ โน สะมัง อัตถิ ตะถาคะเตนะ อิทัมปิ พุทเธ ระตะนัง ปะณีตัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ ขะยัง วิราคัง อะมะตัง ปะณีตัง ยะทัชฌะคา สัก์ยะมุนี สะมาหิโต นะ เตนะ ธัมเมนะ สะมัตถิ กิญจิ อิทัมปิ ธัมเม ระตะนัง ปะณีตัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ ยัมพุทธะเสฏโฐ ปะริวัณณะยีสุจิงสะมาธิมานันตะริกัญญะมาหุ สะมาธินา เตนะ สะโม นะ วิชชะติ อิทัมปิ ธัมเม ระตะนัง ปะณีตัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ เย ปุคคะลา อัฏฐะ สะตัง ปะสัฏฐา จัตตาริ เอตานิ ยุคานิ โหนติ เต ทักขิเณยยา สุคะตัสสะ สาวะกา เอเตสุ ทินนานิ มะหัปผะลานิ อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ เย สุปปะยุตตา มะนะสา ทัฬเหนะ นิกกามิโน โคตะมะสาสะนัมหิ เต ปัตติปัตตา อะมะตัง วิคัยหะ ลัทธา มุธา นิพพุติง ภุญชะมานา อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ ยะถินทะขีโล ปะถะวิง สิโต สิยา จะตุพภิ วาเตภิ อะสัมปะ กัมปิโย ตะถูปะมัง สัปปุริสัง วะทามิ โย อะริยะสัจจานิ อะเวจจะ ปัสสะติ อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ เย อะริยะสัจจานิ วิภาวะยันติ คัมภีระปัญเญนะ สุเทสิตานิ กิญจาปิ เต โหติ ภุสัปปะมัตตา นะ เต ภะวัง อัฏฐะมะมาทิยันติ อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ สะหาวัสสะ ทัสสะนะสัมปะทายะ ตะยัสสุ ธัมมา ชะหิตา ภะวันตุ สักกายะทิฏฐิ วิจิกิจฉิตัญจะ สีลัพพะตัง วาปิ ยะทัตถิกิญจิ จะตูหะปาเยหิ จะวิปปะมุตโต ฉะจาภิฐานานิ อะภัพโพ กาตุง อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ กิญจาปิ โส กัมมัง กะโรติ ปาปะกัง กาเยนะ วาจายุทะ เจตะสา วา อะภัพโพ โส ตัสสะ ปะฏิฐฉะทายะ อะภัพพะตา ทิฏฐะปะทัสสะ วุตตา อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ วะนัปปะคุมเพ ยะถา ผุสสิตัคเค คิมหานะมาเส ปะฐะมัส์มิง คิมเห ตะถูปะมัง ธัมมะวะรัง อะเทสะยิ นิพพานะคามิง ปะระมัง หิตายะ อิทัมปิ พุทเธ ระตะนัง ปะณีตัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ วะโร วะรัญญู วะระโท วะราหะโร อะนุตตะโร ธัมมะวะรัง อะเทสะยิ อิทัมปิ พุทเธ ระตะนัง ปะณีตัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ ขีณัง ปุราณัง นะวัง นัตถิ สัมภะวัง วิรัตตะจิตตายะติเก ภะวัสมิง เต ขีระพีชา อะวิรุฬหิฉันทา นิพพันติ ธีรา ยะถายัมปะทีโป อิ ทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ ภุมมานิ วา ยานิวา อันตะลิกเข ตะถาคะตัง เทวะมะนุสสะ ปูชิตัง พุทธัง นะมัสสามะ สุวัตถิ โหตุ ฯ ยานีธะ ภูตานิ สะมา คะตานิ ภุมมานิ วา ยานิวะ อันตะลิกเข ตะถาคะตัง เทวะมะนุสสะ ปูชิตัง ธัมมัง นะมัสสามะ สุวัตถิ โหตุ ฯ ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ ภุมมานิ วา ยานิวะ อันตะลิกเข ตะถาคะตัง เทวะมะนุสสะปูชิตัง สังฆัง นะมัสสามะ สุวัตถิ โหตุ ฯ ___________________


    เริ่มกะระณียะเมตตะสุตตัง
    ยัสสานุภาวะโต ยักขา เนวะ ทัสเสนติ ภิงสะนัง ยัมหิ เจวานุยุญชันโต รัตตินทิวะมะตันทิโต สุขัง สุปะติ สุตโต ปาปัง กิญจิ นะ ปัสสะติ เอวะมาทิคุณูเปตัง ปะริตตันตัมภะณามะ เห ฯ ___________________
    กะระณียะเมตตะสุตตัง
    กะระณียะมัตถะกุสะเลนะ ยันตัง สันตัง ปะทัง อะภิสะเมจจะ สักโก อุชู จะ สุหุชู สุวะโจ จัสสะ มุทุ อะนะติมานี สันตุสสะโก จะ สุภะโร จะ อัปปะกิจโจ จะ สัลละหุกะวุตติ สันตินทริโย จะ นิปะโก จะ อัปปะ คัพโภ กุเลสุ อะนะ นุคิทโ ธ นะ จะ ขุททัง สะมาจะเร กิญจิ เยนะ วิญญู ปะเร อุปะวะเทยยุง สุขิโน วา เขมิโน โหนตุ สัพเพ สัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา เย เกจิ ปาณะภู ตัตถิ ตะสา วา ถาวะรา วา อะนะวะเสสา ทีฆา วา เย มะหันตา วา มัชฌิมา รัสสะกา อะณุกะถูลา ทิฏฐา วา เย จะ อัทิฏฐา เย จะ ทูเร วะสันติ อะวิทูเร ภูตา วา สัมภะ เวสี วา สัพเพ สัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา นะ ปะโร ปะรัง นิกุพเพถะ นาติมัญเญถะ กัตถะจิ นัง กิญจิ พยาโรสะนา ปะฏีฆะสัญญา นาญญะมัญญัสสะ ทุกขะมิจเฉยยะ มาตา ยะถานิยัง ปุตตัง อายุสา เอกะปุตตะมะนุรักเข เอวัมปิ สัพพะภูเตสุ มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง เมตตัญจะ สัพพะโลกัสมิง มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง อุทธัง อะโธ จะ ติริยัญจะ อะสัมพาธัง อะเวรังอะสะปัตตัง ติฏฐัญจะรัง นิสินโน วา สะยาโน วา ยาวะตัสสะ วิคะตะมิทโธ เอตัง สะติง อะธิฏเฐยยะ พรัหมะเมตัง วิหารัง อิธะมาหุ ทิฏฐิญ จะ อะนุปะคัมมะ สีละวา ทัสสะเนนะ สัมปันโน กาเมสุ วิเนยยะ เคธัง นะหิ ชาตุ คัพภะเสยยัง ปุนะเรตีติ ฯ ___________________


    เริ่มขันธะปะริตตัง
    สัพพาสีวิสะชาตีนัง ทิพพะมันตาคะทัง วิยะ ยันนา เสติ วิสัง โฆรัง เสสัญจาปิ ปะริสสะยัง อาณักเขตตัมหิ สัพพัตถะ สัพพะทา สัพพะปาณินัง สัพพะโสปิ นิวาเรติ ปะริตตันตัมภะณามะ เหฯ ___________________
    ขันธะปะริตตัง
    วิรูปักเขหิ เม เมตตัง เมตตัง เอราปะเถหิ เม ฉัพยาปุตเตหิ เม เมตตัง เมตตัง กัณหาโคตะระเกหิ จะ อะปาทะเกหิ เม เมตตัง เมตตัง ทิปาทะเกหิ เม จะตุปปะ เทหิ เม เมตตัง เมตตัง พะหุปปะเทหิ เม มา มัง อะปา ทะโก หิงสิ มา มัง หิงสิ ทิปาทะโก มา มัง จะตุปปะโท หิงสิ มา มัง หิงสิ พะหุปปะโท สัพเพ สัตตา สัพเพ ปาณา สัพเพ ภูตา จะ เกวะลา สัพเพ ภัทรานิ ปัสสันตุ มา กิญจิ ปาปะมาคะมา อัปปะมาโณ พุทโธ อัปปะมาโณ ธัมโม อัปปะมาโณ สังโฆ ปะมาณะวันตานิ สิริงสะปานิ อะหิ วิจฉิกา สะตะปะที อุณณานาภี สะระภู มูสิกา กะตา เม รักขา กะตา เม ปะริตตา ปะฏิกกะมันตุ ภูตานิ โสหัง นะโม ภะคะวะโต นะโม สันตันนัง สัมมาสัมพุทธานังฯ ___________________


    ฉัททันตะปะริตตัง
    วะธิสสะเมนันติ ปะรามะสันโต กาสาวะมัททักขิ ธะชัง อิสีนัง ทุกเขนะ ผุฏฐัสสุทะปาทิ สัญญา อะระหัทธะโช สัพภิ อะวัชฌะรูโป สัลเลนะ วิทโธ พยะถิโตปิ สันโต กาสาวะวัตถัมหิ มะนัง นะทุสสะยิ สะเจ อิมัง นาคะวะ เรนะ สัจจัง มามัง วะเน พาละมิคา อะคัญฉุนติฯ ___________________


    เริ่มโมระปะริตตัง
    ปูเรนตัมโพธิสัมภาเร นิพพัตตัง โมระโยนิยัง เยนะ สังวิหิตารักขัง มะหาสัตตัง วะเนจะรา จิรัสสัง วายะมัน ตาปิ เนวะ สักขิงสุ คัณหิตุง พรัหมะมันตันติ อักขาตัง ปะริตตันตัมภะณามะ เห ฯ ___________________
    โมระปะริตตัง
    อุเทตะยัญจักขุมา เอกะราชา หะริสสะวัณโณ ปะฐะวิปปะภาโส ตัง ตัง นะมัสสามิ หะริสสะวัณณัง ปะฐะวิปปะภาสัง ตะยัชชะ คุตตา วิหะเรมุ ทิวะสัง เย พราหมะณา เวทะคุ สัพพะธัมฌม เต เม นะโม เต จะ มัง ปาละยันตุ นะมัตถุ พุทธานัง นะมัตถุ โพธิยา นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา อิมัง โส ปะริตตัง กัตวา โมโร จะระติ เอสะนาฯ อะเปตะยัญจักขุมา เอกะราชา หะริสสะวัณโณ ปะฐะวิปปะภาโส ตัง ตัง นะมัสสามิ หะริสสะวัณณัง ปะฐะวิปปะภาสัง ตะยัชชะ คุตตา วิหะเรมุ รัตติง เย พราหมะณา เวทะคุ สัพพะธัมเม เต เม นะโม เต จะมัง ปาละยันตุ นะมัตถุ พุทธานัง นะมัตถุ โพธิยา นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา อิมัง โส ปะริตตัง กัตวา โมโร วา สะมะกัปปะยีติฯ ___________________


    เริ่มวัฏฏะกะปะริตตัง
    ปูเรนตัมโพธิสัมภาเร นิพพัตตัง วัฏฏะชาติยัง ยัสสะ เตเชนะ ทาวัคคิ มะหาสัตตัง วิวัชชะยิ เถรัสสะ สารีปุตตัสสะ โลกะนาเถนะ ภาสิตัง กัปปัฏฐายิ มะหาเตชัง ปะริตตันตัมภะณามะ เห ฯ ___________________
    วัฏฏะกะปะริตตัง
    อัตถิ โลเก สีละถุโณ สัจจัง โสเจยยะนุททะยา เตนะ สัจเจนะ กาหามิ สัจจะกิริยะมะนุตตะรัง อาวัชชิตวา ธัมมะพะลัง สะริตวา ปุพพะเก ชิเน สัจจะพะละมะวัส สายะ สัจจะกิริยะมะกาสะหัง สันติ ปักขา อะปัตตะนา สันติปาทา อะวัญจะนา มาตา ปิตา จะ นิกขันตา ชาตะ เวทะ ปะฏิกกะมะ สะหะ สัจเจ กะเต มัยหัง มะหาปัช ชะลิโต สิขี วัชเชสิ โสฬะสะกะรีสานิ อุทะกัง ปัตวา ยะถา สิขี สัจเจนะ เม สะโม นัตถิ เอสา เม สัจจะปาระมีติฯ ___________________


    เริ่มธะชัคคะสุตตัง
    ยัสสานุสสะระเณนาปิ อันตะลิกเขปิ ปาณิโน ปะติฏฐะมะธิคัจฉันติ ภูมิยัง วิยะ สัพพะทา สัพพู ปัททะวะชาลัมหา ยักขะโจราทิสัมภะวา คะณะนา นะ จะ มุตตานัง ปะริตตันตัมภะณามะ เห ฯ ___________________
    ธะชัคคะสุตตัง
    เอวัมเม สุตังฯ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา สาวัตถิยัง วิหะระติ เชตะวะเน อะนาถะปิณฑิกัสสะ อาราเม ฯ ตัตระ โข ภะคะวา ภิกขู อามันเตสิ ภิกขะโวติ ฯ ภะทันเตติ เต ภิกขู ภะคะวะโต ปัจจัสโสสุง ฯ ภะคะวา เอตะทะโวจะฯ ภูตะปุพพัง ภิกขะเว เทวาสุระสังคาโม สะมุปัพยุฬ โห อะโหสิ ฯ อะถะโข ภิกขะเว สักโก เทวานะมินโท เทเว ตาวะติงเส อามันเตสิ สะเจ มาริสา เทวานัง สังคา มะคะตานัง อุปปัชเชยยะ ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส วา มะเมวะ ตัสมิง สะมะเย ธะชัคคัง อุลโลเกยยาถะ มะมัง หิ โว ธะชัคคัง อุลโลกะยะตัง ยัมภะวิสสะติ ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส วา โส ปิหิยยิสสะติ โน เจ เม ธะชัคคัง อุลโลเกยยาถะ อะถะ ปะชาปะติสสะ เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลเกย ยาถะ ปะชาปะติสสะ หิโว เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลกะยะตัง ยัมภะวิสสะติ ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส วา โส ปะหิยยิสสะติ โน เจ ปะชาปะติสสะ เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลเกยยาถะ อะถะ วะรุณัสสะ หิโว เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลกะยะตัง ยัมภะวิสสะติ ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส วา โส ปะหิยยิส สะติ โน เจ วะรุณัสสะ เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโล เกยยาถะ อีสานัสสะ หิโว เทวะ ราาชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลกะยะตัง ยัมภะวิสสะติ ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส วา โส ปะหิยยิสสะตีติฯ ตัง โข ปะนะ ภิกขะเว สักกัสสะ วา เทวานะ มินทัสสะ ธะชัคคัง อุลโลกะยะตัง ปะชาปะติสสะ วา เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลกะยะตัง วะรุณัสสะ วา เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลกะยะตัง อีสานัสสะ วา เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลกะยะตัง ยัมภะวิสสะติ ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส วาโส ปะหิยเยถาปิ โนปิ ปะหิยเยถะ ตัง กิสสะเหตุ สักโก หิ ภิกขะเว เทวานะมินโท อะวีตะราโค อะวีตะโทโส อะวีตะโมโห ภิรุ ฉัมภี อุตราสี ปะลายีติฯ อะหัญจะ โข ภิกขะเว เอวัง วะทามิ สะเจ ตุมหากัง ภิกขะเว อะรัญญะคะตานัง วา รุกขะมูละคะตานัง วา สุญญาคาระคะตานัง วา อุปปัชเชยยะ ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส วา มะเมวะ ตัสมิง สะมะเย อันุสสะเรยยาถะ อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ มะมัง หิ โว ภิกขะเว อะนุสสะระตัง ยัมภะวิสสะติ ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส วา โส ปะหิยยิสสะติ โน เจ มัง อะนุสสะเรยยาถะ อะถะ ธัมมัง อะนุสสะเรยยาถะ สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ ธัมมัง หิโว ภิกขะเว อะนุสสะระตัง ยัมภะวิสสะติ ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส วา โส ปะหิยยิสสะติ โน เจ ธัมมัง อะนุสสะเรยยาถะ อะถะ สังฆัง อะนุสสะเรยยาถะ สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะ กะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะ ปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณะโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ สังฆัง หิ โว ภิกขะเว อะนุสสะระตัง ยัมภะวิสสะติ ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส วา โส ปะหิยยิสสะติ ตัง กิสสะ เหตุ ตะถา คะโต หิ ภิกขะเว อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วีตะราโค วีตะโทโส วีตะโมโห อะภิรุ อัจฉัมภี อะนุตราสี อะปะ ลายีติฯ อิทะมะโวจะ ภะคะวา อิทัง วตวานะ สุคะโต อะถาปะรัง เอตะทะโวจะ สัตถา อะรัญเญ รุกขะมูเล วา สุญญาคาเรวะ ภิกขะโว อะนุสสะเรถะ สัมพุทธัง ภะยัง ตุมหากะ โน สิยา โน เจ พุทธัง สะเรยยาถะ โลกะ เชฏฐัง นะราสะภัง อะถะ ธัมมัง สะเรยยาถะ นิยยานิกัง สุเทสิตัง โน เจ ธัมมัง สะเรยยาถะ นิยยานิกัง สุเทสิตัง อะถะ สังฆัง สะเรยยาถะ ปุญญักเขตตัง อะนุตตะรัง เอวัมพุทธัง สะรันตานัง ธัมมัง สังฆัญจะ ภิกขะโว ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส นะ เหสสะตีติ ฯ ___________________


    เริ่มอาฏานาฏิยะปะริตตัง
    อัปปะสันเนหิ นาถัสสะ สาสะเน สาธุสัมมะเต อะมะนุสเสหิ จัณเฑหิ สะทา กิพพิสะการิภิ ปะริสานัญจะ ตัสสันนะมะหิงสายะ จะ คุตติยา ยันเทเสสี มะหาวีโร ปะริตตันตัมภะณะนะ เห ฯ ___________________
    อาฏานาฏิยะปะริตตัง
    วิปัสสิสสะ นะมัตถุ จักขุมันตัสสะ สิรีมะโต สิขิส สะปิ นะมัตถุ สัพพะภู ตานุกัมปิโน เวสสะภุสสะ นะมัตถุ นหาตะกัสสะ ตะปัสสิโน นะมัตถุ กะกุสันธัสสะ มาระ เสนัปปะมัททิโน โกนาคะมะนัสสะ นะมัตถุ พราหมะณัสสะ วุสีมะโต กัสสะปัสสะ นะมัตถุ วิปปะมุตตัสสะ สัพพะธิ อังคีระสัสสะ นะมัตถุ สักยะปุตตัสสะ สิรีมะโต โย อิมัง ธัมมะมะเทเสสิ สัพพะทุกขาปะนูทะนัง เย จาปิ นิพพุตาโลเก ยะถาภูตัง วิปัสสิสุง เต ชะนา อะปิสุณา มะหันตา วีตะ สาระทา หิตัง เทวะมะนุสสานัง ยัง นะมัสสันติ โคตะมัง วิชชาจะระณะสัมปันนัง มะหันตัง วีตะสาระทัง ฯ นะโม เม สัพพะพุทธานัง อุปปันนานัง มะเหสินัง ตัณหังกะโร มะหาวีโร เมธังกะโร มะหายะโส สะระณัง กะโร โลกะหิโต ทีปังกะโร ชุตินธะโร โกณฑัญโญ ชะนะ ปาโมกโข มังคะโล ปุริสาสะโภ สุมาโน สุมาโน ธีโร เรวะโต ระติวัฑฒะโน โสภีโต ถุณะสัมปันโน อะโนมะ ทัสสี ชะนุตตะโม ปะทุโม โลกะปัชโชโต นาระโท วะระ สาระถี ปะทุมุตตะโร สัตตะสาโร สุเมโธ อัปปะฏิปุคคะโล สุชาโต สัพพะโลกัคโค ปิยะทัสสี นะราสะโภ อัตถะทัสสี การุณิโก ธัมมะทัสสี ตะโมนุโท สิทธัตโถ อะสะโม โลเก ติสโส จะ วะทะตัง วะโร ปุนโน จะ วะระโท พุทโธ วิปัสสี จะ อะนูปะโม สิขี สัพพะหิโต สัตถา เวสสะภู สุขะทายะโก กะกุสันโธ สัตถะวาโห โกนาคะมะโน ระณัญ ชะโห กัสสะโป สิริสัมปันโน โคระโม สักยะปุงคะโว ฯ เอเต จัญเญ จะ สัมพุทธา อัเนกะสะตะโกฏะโย สัพเพ พุทธา อะสะมะสะมา สัพเพ พุทธา มะหิทธิกา สัพเพ ทะสะพะลูเปตา เวสารัชเชหุปาคะตา สัพเพ เต ปะฏิชานันติ อาสะภัณฐานะมุตตะมัง สีหะนาทัง นะทันเตเต ปะริสาสุ วิสาระทา พรัหมะจักกัง ปะวัตเตนติ โลเก อัปปะ ฏิวัตติยัง อุเปตา พุทธะธัมเมหิ อัฏฐาระสะหิ นายะกา ทวัตติงสะ ลักขะณูเปตา สีตยานุพยัญชะนาธะรา พยา มัปปะภายะ สุปปะภา สัพเพ เต มุนิกุญชะรา พุทธา สัพพัญญุโน เอเต สัพเพ ขีณาสะวา ชินา มะหัปปะภา มะหาเตชา มะหาปัญญา มะหัพพะลา มะหาการุณิกา ธีรา สัพเพสานัง สุขาวะหา ทีปา นาถา ปะติฏฐา จะ ตาณา เลณา จะ ปาณินัง คะตี พันธู มะหัสสาสา สะระณา จะ หิเตสิโน สะเทวะกัสสะ โลกัสสะ สัพเพ เอเต ปะรา ยะนา เตสาหัง สิระสา ปาเท วันทามิ ปุริสุตตะเม วะจะสา มะนะสา เจวะ วันทาเมเต ตะถาคะเต สะยะเน อาสะเน ฐาเน คะมะเน จาปิ สัพพะทา สะทา สุเขนะ รักขันตุ พุทธา สันติกะรา ตุวัง เตหิ ตวัง รักขิโต สันโต มุตโต สัพพะภะเยนะ จะ สัพพะโรคะวินิมุตโต สัพพะสันตา ปะวัชชิโต สัพพะเวระมะติกกันโต นิพพุโต จะ ตุวัง ภะวะ ฯ เตสัง สัจเจนะ สีเลนะ ขันติเมตตาพะเลนะ จะ เตปิ ตุมเห อะนุรักขันตุ อาโรคเยนะ สุเขนะ จะฯ ปุรัตถิมัสมิง ทิสาภาเค สันติ ภูตา มะหิทธิกา เตปิ ตุมเห อันุรักขันตุ อาโรคเยนะ สุเขนะ จะ ทักขิณัสมิง ทิสาภาเค สันติ เทวา มะหิทธิกา เตปิ ตุมเห อะนุรักขันตุ อาโรคเยนะ สุเขนะ จะ ปัจฉิมัสมิง ทิสาภาเค สันติ นาคา มิหิทธิกา เตหิ ตุมเห อะนุรักขันตุ อาโรคเยนะ สุเขนะ จะ อุตตะรัสมิง ทิสา ภาเค สันติ ยักขา มะหิทธิกา เตปิ ตุมเห อะนุรักขันตุ อาโรคเยนะ สุเขนะ จะ ปุริมะทิสัง ธะตะรัฏโฐ ทิกขิเณนะ วิรุฬหะโก ปัจฉิเมนะ วิรูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง จัตตาโร เต มะหาราชา โลกะปาลา ยะสัสสิโน เตปิ ตุมเห อะนุรักขันตุ อาโรเยนะ สุเขนะ จะ อากาสัฏฐา จะ ภุมมัฏฐา เทวา นาคา มะหิทธิกา เตปิ ตุมเห อะนุรักขันตุ อาโรคเยนะ สุเขนะ จะ ฯ นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง พุทโธ เม สะระณัง วะรัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลัง นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง ธัมโม เม สะระณัง วะรัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลัง นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง สังโฆ เม สะระณังวะรัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลัง ฯ ยังกิญจิ ระตะนัง โลเก วิชชะติ วิวิธัง ปุถุ ระตะนัง พุทธะสะมัง นัตถิ ตัสมา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ ยังกิญจิ ระตะนัง โลเก วิชชะติ วิวิธัง ปุถุ ระตะนัง ธัมมะสะมัง นัตถิ ตัสมา โสถี ภะวันตุ เต ฯ ยังกิญจิ ระตะนัง โลเก วิชชะติ วิวิธัง ปุถุ ระตะนัง สังฆะสะมัง นัตถิ ตัสมา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ สักกัตวา พุทธะระตะนัง โอสะถัง อุตตะมัง วะรัง หิตัง เทวะมะนุสสานัง พุทธะ เตเชนะ โสตถินา นัสสันตุ ปัททะวา สัพเพ ทุกขา วูปะสะเมนตุ เต สักกัตวา ธัมมะ ระตะนัง โอสะถัง อุตตะมัง วะรัง ปะริฬาหูปะสะมะนัง ธัมมะเตเชนะ โสตถินา นัสสันตุปัททะวา สัพเพ ภะยา วูปะสะเมนตุ เต สักกัตวา สังฆะระตะนัง โอสะถัง อุตตะมัง วะรัง อาหุเนยยัง ปาหุเนยยัง สังฆะเตเชนะ โสตถินา นัสสันตุปัททะวา สัพเพ โรคา วูปะสะเมนตุ เต ฯ สัพพีติโย วิวัชชันตุ สัพพะโรโค วินัสสะตุ มา เต ภะวัตตวันตะราโย สุขีทีฆายุโก ภะวะ อะภิวาทะนะสีลิสสะ นิจจัง วุฑฒาปะจายิโน จัตตาโร ธัมมา วัฑฒันติ อายุวัณโณ สุขัง พะลัง ฯ ______________________


    เริ่มอังคุลิมาละปะริตตัง
    ปะริตตัง ยัมภะณันตัสสะ นิสินนัฏฐานะโธวะนัง อุทะกัมปิ วินาเสติ สัพพะเมวะ ปะริสสะยัง โสตถินา คัพภะวุฏฐานัง ยัญจะ สาเธติ ตัง ขะเณ เถรัสสังคุลิมา ลัสสะ โลกะนาเถนะ ภาสิตัง กัปปัฏฐายิ มะหาเตชัง ปะริตตันตัมภะณามะ เห ฯ ___________________
    อังคุลิมาละปะริตตัง
    ยะโตหัง ภะคินี อะริยายะ ชาติยา ชาโต นาภิชา นามิ สัญจิจจะ ปาณัง ชีวิตา โวโรเปตา เตนะ สัจเจนะ โสตถิ เต โหตุ โสตถิ คัพภัสสะ ฯ ยะโตหัง ภะคินิ อะริยายะ ชาติยา ชาโต นาภิชานามิ สัญจิจจะ ปาณัง ชีวิตา โวโรเปตา เตนะ สัจเจนะ โสตถิ เต โหตุ โสตถิ คัพภัสสะ ฯ ยะโตหัง ภะคินิ อะริยายะ ชาติยา ชาโต นาภิชานามิ สัญจิจจะ ปาณัง ชีวิตา โวโรเปตา เตนะ สัจเจนะ โสตถิ เต โหตุ โสตถิ คัพภัสสะ ฯ _________________________


    เริ่มโพชฌังคะปะริตตัง
    สังสาเร สังสะรันตานัง สัพพะทุกขะวินสะเน สัตตะ ธัมเม จะ โพชฌังเค มาระเสนัปปะมัททิโน พุชฌิตวา เยปิเม สัตตา ติภะวามุตตะกุตตะมา อะชาติง อะชะราพยาธิง อะมะตัง นิพภะยัง คะตา เอวะมาทิคุณู เปตัง อะเนกะคุณะสังคะหัง โอสะถัญจะ อิมัง มันตัง โพชฌังคันตัมภะณามะ เห ฯ ___________________
    โพชฌังคะปะริตตัง
    โพชฌังโค สะติสังขาโต ธัมมานัง วิจะโย ตะถา วิริยัมปีติ ปัสสัทธิโพชฌังคา จะ ตะถาปะเร สะมาธุเปกขะ โพชฌังคา สัตเตเต สัพพะทัสสินา มุนินา สัมมะทักขาตา ภาวิตา พะหุลีกะตา สังวัตตันติ อะภิญญายะ นิพพานายะ จะ โพธิยา เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา ฯ เอกัสมิง สะมะเย นาโถ โมคคัลลานัญจะ กัสสะปัง คิลาเน ทุกขิเต ทิสวา โพชฌังเค สัตตะ เทสะยิ เต จะ ตัง อะภินันทิตวา โรคา มุจจิงสุ ตังขะเณ เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เต โหตุ สัพพะทาฯ เอกะทา ธัมมะราชาปิ เคลัญเญ นาภิปีฬิโต จุนทัตเถเรนะ ตัญเญวะ ภะณาเปตวานะ สาทะรัง สัมโมทิตวา จะ อาพาธา ตัมหา วุฏฐาสิ ฐานะโส เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา ฯ ปะหีนา เต จะ อาพาธา ติณณันนัมปิ มะเหสินัง มัคคาหะตะกิเลสา วะ ปัตตานุปปัตติธัมมะตัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา ฯ ___________________


    เริ่มอะภะยะปะริตตัง
    ปุญญะลาภัง มะหาเตชัง วัณณะกิตติมะหายะสัง สัพพะสัตตะหิตัง ชาตัง ตัง สุณันตุ อะเสสะโต อัตตัปปะระหิตัง ชาตัง ปะริตตันตัมภะณามะ เหฯ ___________________
    อะภะยะปะริตตัง
    ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะ โย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง พุทธานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ ฯ ยันทุนนิมิตตัง อะวะมัง คะลัญจะ โย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง ธัมมานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ ฯ ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะ โย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง สังฆานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ ฯ ทุกขัปปัตตา จะ นิททุกขา ภะยัปปัตตา จะ นิพภะยา โสกัปปัตตา จะ นิสโสกา โหนตุ สัพเพปิ ปาณิโน เอตตาวะตา จะ อัมเหหิ สัมภะตัง ปุญญะสัมปะทัง สัพเพ เทวา นุโมทันตุ สัพพะสัมปัตติสิทธิยา ทานัง ทะทันตุ สัทธายะ สีลัง รักขันตุ สัพพะทา ภาวะนาภิระตา โหนตุ คัจฉันตุ เทวะตาคะตา ฯ สัพเพ พุทธา พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโสฯ ____________________


    เริ่มชะยะปะริตตัง
    ชะยัง เทวะมะนุสสานัง ชะโย โหตุ ปะราชิโต มาระเสนา อะภิกกันตา สะมันตาทวาทะสะโยชะนา ขันติเมตตา อะธิฏฐานา วิทธังเสตวานะ จักขุมา ภะวาภะเว สังสะรันโต ทิพพะจักขุง วิโสธะยิ ปะริยา ปันนาทิโสตถานัง หิตายะ จะ สุขายะ จะ พุทธะกิจจัง วิโสเธตวา ปะริตตันตัมภะณามะ เห ฯ ___________________
    ชะยะปะริตตัง
    มะหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัช เชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลัง ฯ ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิวโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะพุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติ สุนัก ขัตตัง สุมังคะลัง ปุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุกขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มะโนกัมมัง ปะณิธีเต ปะทักขิณา ปะทัก ขิณานิ กัตวานะละภันตัตเถ ปะทักขิเณ ฯ โส อัตถะลัทโธ สุขิโต วิรุฬโห พุทธะสาสะเน อะโรโค สุขิโต โหหิ สะหะ สัพเพหิ ญาติภิ สา อัตถะลัทธา สุขิตา วิรุฬหา พุทธะสาสะเน อะโรคา สุขิตา โหหิ สะหะ สัพเพหิ ญาติภิ เต อัตถะลัทธา สุขิตา วิรุฬหา พุทธะสา สะเน อะโรคา สุขิตา โหถะ สะหะ สัพเพหิ ญาติภิ ฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะพุทธานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะ ธัมมานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ นักขัตตะยักขะภูตานัง ปาปัคคะหะนิวาระณา ปะริต ตัสสานุภาเวนะ หันตวา เตสัง อุปัททะเว ฯ นักขัตตะยักขะ ภูตานัง ปาปัคคะหะนิวาระณา ปะริตตัสสานุภาเวนะ หันตวา เตสัง อุปัททะเว ฯ นักขัตตะยักขะภูตานัง ปาปัคคะหะ นิวาระณา ปะริตตัสสานุภาเวนะ หันตวา เตสัง อุปัททะเว ฯ


    จบสิบสองตำนานบริบูรณ์
     
  13. chanin

    chanin เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 เมษายน 2005
    โพสต์:
    675
    ค่าพลัง:
    +1,332
    ขอเชิญฟังการเจริญพระพุทธมนต์ เพื่อความเป็นสิริมงคล ป้องกันภัยพิบัติ ที่
    http://www.oknation.net/blog/buddhamantra/video/7280
     

แชร์หน้านี้

Loading...