พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
     
  2. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ขอความเมตตาช่วยต่อชีวิตพระเณร บช.ออมทรัพย์ 2030-06304-5 บัญชี รร.พระปริยัติธรรมบ่อเงินบ่อทอง บมจ.ธ.กรุงไทย สาขาพนมสารคาม
    http://palungjit.org/showthread.php?t=21733&page=95

    <TABLE class=tborder id=post988145 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">วันนี้, 06:15 AM <!-- / status icon and date --></TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #1896 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175>พสภัธ<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_988145", true); </SCRIPT>
    สมาชิก ยอดนิยม
    สมาชิกยอดฮิต

    [​IMG]

    เข้ามาครั้งสุดท้ายเมื่อ: วันนี้ 06:22 AM
    วันที่สมัคร: Nov 2005
    สถานที่: //////////////
    ข้อความ: 3,449 <!-- Start Post Thank You Hack -->
    ได้ให้อนุโมทนา 4,711 ครั้ง
    ได้รับอนุโมทนา 30,101 ครั้ง ใน 3,300 โพส <!-- End Post Thank You Hack -->
    พลังการให้คะแนน: 3472 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_988145 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid">โต(กุมารน้อย) ในช่วงนี้ใกล้จะสอบปลายภาคเรียน..เมื่อสอบเสร็จแล้ว..ก็เตรียมตัวส่งกลับไปภูมิลำเนาเดิม..
    ในส่วนของการนักเรียนการสอน..ฝ่ายนักธรรม..โดยสอบนักธรรม..ตรี..โท..และนักธรรมเอก..สอบได้ทั้งหมด 23 รูป...สรุปแล้วปีนี้..การเรียนการสอน..ถือว่าพอใช้ได้เท่านั้น..เพราะสาเหตุ...เมื่อต้นปีการศึกษาปีนี้..ยังลำบากเรื่องที่อยู่..และภัตตาหารการบิโภค...ปีหน้าการศึกษาจะมีความมั่นคงมากกว่านี้...การเรียนการสอนจะพัฒนาได้ขึ้นมาก..
    </TD></TR></TBODY></TABLE>


    กราบนมัสการพระคุณเจ้าครับ

    โมทนาสาธุครับ

    .
     
  3. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ขอเชิญร่วมสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้ง ณ สำนักสงฆ์ผาผึ้ง อ.บ้านเขว้า จ.ชัยภูมิ บมจ.ธนาคารกรุงไทย สาขาลาดพร้าว 102 บช.ออมทรัพย์เลขที่ 1890-13128-8 ชื่อบัญชี นางพิชญ์สินี ชาญปารีชญา ,นายอุเทน งามศิริ ,นายสิรเชษฏ์ ลีละสุนทเลิศ

    <TABLE class=tborder id=post987837 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">18/2/2551, 10:33 PM <!-- / status icon and date --></TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #1087 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175>ต้นแก้ว<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_987837", true); </SCRIPT>
    สมาชิก

    เข้ามาครั้งสุดท้ายเมื่อ: เมื่อวานนี้ 10:33 PM
    วันที่สมัคร: Jan 2007
    ข้อความ: 40 <!-- Start Post Thank You Hack -->
    ได้ให้อนุโมทนา 70 ครั้ง
    ได้รับอนุโมทนา 408 ครั้ง ใน 41 โพส <!-- End Post Thank You Hack -->
    พลังการให้คะแนน: 0 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_987837 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- message -->ขอร่วมบุญผ้าป่าร่วมสร้างพ<O:p</O:pระพุทธเจ้าห้าพระองค์ และ ฉัตรประธานเจดีย์ฯ จำนวน 1,000 บาท ถวายเป็นพุทธบูชา ขอรับพระปิดตาวังหน้าสองหน้า สีดำ 1 องค์ โอนแล้วจะแจ้งให้ทราบอีกครั้ง<O:p</O:p

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ ต้นแก้ว [​IMG]
    ขอร่วมบุญผ้าป่าร่วมสร้างพ<O:p</O:pระพุทธเจ้าห้าพระองค์ และ ฉัตรประธานเจดีย์ฯ จำนวน 1,000 บาท ถวายเป็นพุทธบูชา ขอรับพระปิดตาวังหน้าสองหน้า สีดำ 1 องค์ โอนแล้วจะแจ้งให้ทราบอีกครั้ง<O:p</O:p

    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    โมทนาบุญทุกประการครับ

    .
    <!-- / message --><!-- sig -->
     
  4. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    พระพุทธศาสนา
    http://th.wikipedia.org/wiki/พระพุทธศาสนา
    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
    <TABLE class=toccolours id=WSerie_Buddhism style="BORDER-RIGHT: #060 1px solid; BORDER-TOP: #060 1px solid; FLOAT: right; MARGIN: 0px 0px 1em 1em; BORDER-LEFT: #060 1px solid; BORDER-BOTTOM: #060 1px solid; TEXT-ALIGN: center" cellSpacing=0 cellPadding=1 width=170><TBODY><TR><TD style="FONT-SIZE: 100%" colSpan=2><SMALL>ส่วนหนึ่งของ</SMALL>
    พุทธศาสนา
    [​IMG]


    ประวัติพุทธศาสนา
    </TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 95%; COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #8a9e49" colSpan=2>ศาสดา</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>พระสัมมาสัมพุทธเจ้า

    </TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 95%; COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #8a9e49" colSpan=2>จุดมุ่งหมายของพุทธศาสนา</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>สิ่งทั้งปวงไม่ควรยึดมั่นถือมั่น</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 95%; COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #8a9e49" colSpan=2>ไตรสรณะ</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>พระพุทธ &middot; พระธรรม &middot; พระสงฆ์

    </TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 95%; COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #8a9e49" colSpan=2>ความเชื่อและการปฏิบัติ</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>ศีล &middot; ธรรม
    ศีลห้า &middot; เบญจธรรม &middot; ศีลแปด
    บทสวดมนต์และพระคาถา
    </TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 95%; COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #8a9e49" colSpan=2>คัมภีร์และหนังสือ</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>พระไตรปิฎก
    พระวินัยปิฎก &middot; พระสุตตันตปิฎก &middot; พระอภิธรรมปิฎก
    </TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 95%; COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #8a9e49" colSpan=2>นิกาย</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>เถรวาท &middot; อาจริยวาท (มหายาน) &middot; วัชรยาน &middot; เซน</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 95%; COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #8a9e49" colSpan=2>สังคมพุทธศาสนา</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%">เมือง &middot; ปฏิทิน &middot; บุคคล &middot; วันสำคัญ &middot; ศาสนสถาน &middot; วัตถุมงคล</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 95%; COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #8a9e49" colSpan=2>ดูเพิ่มเติม</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>ศัพท์เกี่ยวกับพุทธศาสนา
    หมวดหมู่พุทธศาสนา
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    พระพุทธศาสนา หรือ พุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีคำสอนแนะนำแนวทางในการดำเนินชีวิต เพื่อให้เกิดความสุข ลดความทุกข์ จนกระทั่งพ้นไปจากพันธนาการทั้งปวง เป็นอิสระอย่างแท้จริงด้วยความรู้แจ้ง เป็นศาสนาที่มีสรณะอันสูงสุดสามประการ ได้แก่ พระพุทธเจ้า พระธรรม และ พระสงฆ์ อันมีชื่อเรียกรวมว่าพระรัตนตรัย (แก้วอันมีค่าทั้ง 3) โดยพระพุทธเจ้าทรงตรัสรู้พระธรรม แล้วทรงสอนให้พระภิกษุรู้ธรรมจนหลุดพ้นตาม ทรงจัดตั้งชุมชนของพระภิกษุให้อยู่ร่วมกันเพื่อศึกษาและฝึกฝนตนเองให้หลุดพ้น เรียกว่าพระสงฆ์ (สงฆ์แปลว่าหมู่,ชุมนุม) แล้วทรงมอบหมายให้พระสงฆ์ทั้งหลายเผยแผ่พระธรรมเพื่อประโยชน์สุขของชาวโลก
    หลักธรรมคำสอนทางพุทธศาสนาในยุคก่อนจะบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรจะเรียกว่า "พระธรรมวินัย" อันประกอบด้วย "พระธรรม" คือความรู้ในสัจธรรมต่างๆ ที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสรู้แล้วนำมาแสดงแก่ชาวโลก กับ "พระวินัย" คือกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่ทรงบัญญัติไว้สำหรับผู้ที่ออกบวช เพื่อให้ผู้บวชสามารถอยู่ร่วมกันอย่างมีกฏเกณฑ์เป็นคณะสงฆ์ อันเป็นชุมชนตัวอย่างที่ดำเนินชีวิตเพื่อความพ้นทุกข์ โดยมีหมวดอภิธรรมไว้อธิบายคำจำกัดความของศัพท์ในหมวดพระธรรม และมีหมวดอภิวินัยไว้อธิบายคำจำกัดความคำศัพท์ในส่วนพระวินัย ในภายหลังเมื่อเริ่มมีการบันทึกคำสอนทั้งหลายไว้เป็นลายลักษณ์อักษร เรียกว่าคัมภีร์พระธรรม และคัมภีร์พระวินัย พระเถระผู้ทรงคุณในยุคสมัยนั้นได้เรียบเรียงคำอธิบายในหมวดอภิธรรมเพิ่มเติมอย่างละเอียด จนสามารถบันทึกเป็นคัมภีร์ "พระอภิธรรม" ต่างหาก เมื่อรวมเรียกทั้งสามคัมภีร์แล้ว บันทึกหลักธรรมคำสอนทั้งหมดในศาสนาพุทธจึงเรียกว่า พระไตรปิฏก
    พระพุทธเจ้าได้ทรงเริ่มออกเผยแผ่คำสอนในภูมิภาคที่เป็นประเทศอินเดียในปัจจุบัน ตั้งแต่เมื่อ 45 ปีก่อนพุทธศักราช ปัจจุบันศาสนาพุทธได้เผยแผ่ไปทั่วโลก โดยมีจำนวนผู้นับถือส่วนใหญ่อยู่ใน ทวีปเอเชีย ทั้งในเอเชียกลาง เอเชียตะวันออก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะมีผู้นับถือเป็นประชากรส่วนใหญ่ในประเทศไทย
    ผู้นับถือศาสนาพุทธที่ได้บวชเพื่อศึกษาและฝึกฝนตามคำสอนเพื่อความหลุดพ้นจะเรียกว่า พระภิกษุสงฆ์ (ชาย) และ พระภิกษุณีสงฆ์ (หญิง) ส่วนผู้นับถือที่ไม่ได้บวชจะเรียกว่าฆราวาส หรือ อุบาสก (ชาย) / อุบาสิกา (หญิง) โดยเมื่อรวมบุคคลสี่ประเภทคือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา จะเรียกว่า พุทธบริษัท 4 อันหมายถึง พุทธศาสนิกชน พุทธมามกะ พุทธสาวก อันเป็นกลุ่มผู้ร่วมกันนับถือ ร่วมกันศึกษา และร่วมกันรักษาพุทธศาสนาไว้


    <TABLE class=toc id=toc summary=เนื้อหา><TBODY><TR><TD>เนื้อหา

    [ซ่อน]
    </TD></TR></TBODY></TABLE><SCRIPT type=text/javascript>//<![CDATA[ if (window.showTocToggle) { var tocShowText = "แสดง"; var tocHideText = "ซ่อน"; showTocToggle(); } //]]></SCRIPT>
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  5. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    พระพุทธศาสนา
    http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%...B8%99%E0%B8%B2
    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

    [แก้] หลักการสำคัญของพุทธศาสนา
    • พุทธศาสนา สอน "สัจธรรม" คือความจริงแท้ของชีวิตและกฎธรรมชาติ โดยมีเป้าหมายสูงสุดคือการหลุดพ้นจากวงจรแห่งทุกข์ทั้งปวง
    • หัวใจของพุทธศาสนาคือ "หมั่นทำความดี ละเว้นความชั่ว ทำจิตใจให้บริสุทธิ์"
    • พุทธศาสนา กล่าวว่าสิ่งทั้งหลายในโลกนี้ต่างมีเหตุให้เกิด เมื่อมีเหตุเกิดขึ้นผลก็เกิดขึ้นตาม เมื่อเหตุนั้นไม่มีอีกแล้วผลก็ดับไป
    • อริยสัจ 4 สอนให้เข้าใจถึงหลักความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ คือ ทุกข์ (มีความยากลำบาก หรือ มองตัวปัญหา) สมุทัย (ความทุกข์นั้นมีสาเหตุให้เกิด หรือ มองสาเหตุของปัญหา) นิโรธ (ความหมดสิ้นแห่งทุกข์ หรือ มองจุดมุ่งหมายในการแก้ปัญหา) มรรค (วิถีทางอันประเสริฐที่จะนำให้ถึงความดับทุกข์ หรือ ลงมือปฏิบัติเพื่อแก้ไขปัญหานั้น ๆ)
    • สติปัฏฐาน 4 เป็นวิธีฝึกฝนกายและจิตเพื่อให้ถึงซึ่งความดับทุกข์ โดยเฉพาะเจาะจงแล้วหมายถึงมรรคองค์ที่ 7 คือสัมมาสติ แต่โดยกว้างแล้วหมายถึงหลักการฝึกฝนโดยรวมทั้งหมดเพื่อให้เกิดนิโรธ
    • ไตรลักษณ์ เป็นลักษณะสากลที่มีในทุกสิ่งดังนี้คือ อนิจจัง (ไม่เที่ยงแท้ มีอันต้องแปรปรวนไป) ทุกขัง (ถูกบีบคั้นให้ต้องเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา) อนัตตา (ไม่มีแก่นสารอะไรให้ถือเอาเป็นตัวตนของใครๆ ได้อย่างแท้จริง)
    • กฎแห่งกรรม กรรม คือการกระทำทุกอย่างทั้งทางกาย วาจา และใจ ที่มีเจตนาสั่งการโดยจิตของสิ่งมีชีวิต ไม่ว่าเป็นการกระทำที่ดี (บุญ/กุศล) หรือไม่ดี (บาป/อกุศล) หรือกลางๆ อันทำให้มีผลของการกระทำตามมา โดยผลของการกระทำจะไม่สูญหายไปไหน แต่รอเวลาที่จะให้ผลตอบแทนที่เหมาะสมกับการกระทำนั้นๆ สะท้อนกลับมาหาผู้กระทำเสมอ โดยไม่สามารถนำบุญกับบาปมาหักล้างกันได้โดยตรง กฎแห่งกรรมนี้เป็นเงื่อนไขสำคัญที่กำหนดความเป็นไปของแต่ละจิตวิญญาณในสังสารวัฏ
    • นิพพาน คือสภาพที่พ้นออกไปเหนือโลก ออกไปจากสังสารวัฏ เป็นอิสระจากพันธนาการทุกอย่าง เป็นความสุขอันแท้จริง เป็นเป้าหมายอันสูงสุดที่พระพุทธศาสนาสอนให้บรรลุถึง
    • พรหมวิหาร 4 เป็นหลักธรรมประจำใจเพื่อให้ตนดำรงชีวิตได้อย่างประเสริฐและบริสุทธิ์ ประกอบด้วยหลักปฏิบัติ 4 ประการ คือ เมตตา (ความปรารถนาอยากให้ผู้อื่นมีความสุข) กรุณา (ความปรารถนาอยากให้ผู้อื่นพ้นทุกข์) มุทิตา (ความยินดีที่ผู้อื่นมีความสุขในทางที่เป็นกุศล) อุเบกขา (การวางจิตเป็นกลาง การมีเมตตา กรุณา มุทิตา เป็นสิ่งที่ดี แต่ถ้าตนไม่สามารถช่วยเหลือผู้นั้นได้ จิตตนจะเป็นทุกข์ ดังนั้น ตนจึงควรวางอุเบกขาทำวางใจให้เป็นกลาง และพิจารณาว่า สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรมที่ได้เคยกระทำไว้ จะดีหรือชั่วก็ตาม กรรมนั้นย่อมส่งผลอย่างยุติธรรมตามที่เขาผู้นั้นได้เคยกระทำไว้อย่างแน่นอน)
    • สังสารวัฏ คือการเวียนว่ายตายเกิดของจิตวิญญาณทั้งหลายนับชาติไม่ถ้วน ผ่านไประหว่าง ภพภูมิ คือมิติต่างๆ ตั้งแต่เลวร้ายที่สุดไปจนถึงสุขสบายที่สุด ที่รองรับการเกิดของสิ่งมีชีวิต การเวียนว่ายของจิตวิญญาณมีเหตุมาจาก "อวิชชา" คือความที่จิตไม่รู้ถึงความเป็นจริง ไปหลงยึดเอาว่าสิ่งต่างๆ มีตัวตน ซึ่งเป็นรากเหง้าของกิเลสทั้งหลาย ทางออกไปจากสังสารวัฏมีทางเดียว คือการดำเนินตามเส้นทางอริยมรรค
    • สรุปหลักการปฏิบัติตามทางของพุทธศาสนาเป็นหลักใหญ่ จะมีอยู่ 3 ประการคือ
    1. ละเว้นอกุศล (ความไม่ฉลาด) ทางกาย วาจา จิตใจ
    2. หมั่นสร้างกุศล (ความฉลาด) ทางกาย วาจา จิตใจ
    3. ฝึกจิตให้หลุดพ้น (จากความไม่รู้สัจจธรรม ที่พันธนาการจิตไว้)
    อีกนัยหนึ่งเมื่อจำแนกตามลำดับขั้นตอนคือ
    1. ศีล (ฝึกกายและจิตให้ละเว้นจากการเบียดเบียนตนเองและผู้อื่น)
    2. สมาธิ (ฝึกความตั้งมั่นของจิต จนเกิตสติรับรู้สิ่งต่างๆ ตามความเป็นจริง)
    3. ปัญญา (ให้จิตพิจารณาความเป็นจริง จนกระทั่งทำลายอวิชชาความไม่รู้ ได้ในที่สุด)
    [แก้] ลักษณะเด่นของพุทธศาสนา

    พระพุทธศาสนานับเป็นศาสนาที่เกิดขึ้นเพื่อปรับปรุง และแก้ไขสังคมอินเดียในยุคนั้นให้ดีขึ้นจากสภาพการณ์หลายอย่าง เช่น จากการกดขี่ทางชนชั้นวรรณะของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู การเหลื่อมล้ำทางสังคมที่ชัดเจน การถือชั้นวรรณะอย่างเข้มงวด การใช้สัตว์เป็นจำนวนมากเพื่อบวงสรวงบูชายัญ ตลอดจนการกดขี่สตรี พุทธศาสนาจึงเสมือนน้ำทิพย์ชโลมสังคมอินเดียโบราณให้ขาวสะอาดมากกว่าเดิม คำสอนของพุทธศาสนาทำให้สังคมโดยทั่วไปสงบร่มเย็น

    [แก้] ศาสนาแห่งความรู้และความจริง

    พุทธศาสนาเป็นศาสนาแห่งความรู้ เพราะเป็นศาสนาแห่งการตรัสรู้ของพระพุทธองค์เอง จากปัญญาของพระองค์ และธรรมที่พระองค์ตรัสรู้คือ อริยสัจ 4 ก็เป็นความจริงอย่างแท้จริง ทรงตรัสรู้โดยไม่มีใครสั่งสอน นักปราชญ์ทั้งหลายทั้งในอดีต และปัจจุบันจึงกล่าวยกย่องว่าเป็นศาสนาที่ประกาศความเป็นอิสระของมนุษย์ให้ปรากฏแก่โลกยิ่งกว่าศาสนาใดๆที่มีมา

    [แก้] ศาสนาแห่งอิสระเสรีภาพ

    พุทธศาสนาเป็นศาสนาที่ไม่ผูกติดกับพระผู้ดลบันดาล หรือพระเจ้า ไม่ได้ผูกมัดตนเองไว้กับพระเจ้า ไม่พึ่งพาอำนาจของพระผู้เป็นเจ้า เชื่อในความสามารถของมนุษย์ว่ามีศักยภาพเพียงพอ โดยไม่ต้องพึ่งอำนาจใดๆภายนอก เชื่อว่ามนุษย์เองสามารถปลดเปลื้องความทุกข์ได้โดยไม่รอการดลบันดาล พุทธศาสนาไม่มีการบังคับให้คนศรัทธา หรือเชื่อ แต่สามารถพิสูจน์ได้ด้วยตนเอง แต่หากจะเปรียบเทียบกับศาสนาอื่นที่มีพระเจ้า ชาวพุทธทุกคนคือพระเจ้าของตัวเอง เนื่องจากตัวเองเป็นคนกำหนดชะตาชีวิตของตัวเอง ว่าจะมีความเจริญรุ่งเรืองในชีวิตหรือมีความตกต่ำในชีวิต จากการประพฤติปฏิบัติของตัวเอง ซึ่งต่างกับศาสนาที่มีพระเจ้า ที่ชะตาชีวิตทั้งหมดล้วนเป็นสิ่งที่พระเจ้ากำหนดมาแล้วเปลี่ยนแปลงไม่ได้ ไม่ว่าจะเจอเรื่องดีหรือร้ายก็ต้องทนรับชะตากรรมอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้

    [แก้] ศาสนาอเทวนิยม

    พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาที่ไม่เชื่อว่าพระเจ้าดลบันดาลทุกสิ่ง ผู้สร้างทุกสิ่ง แม้กระทั่งโลก เพราะเหตุว่าพระพุทธศาสนาไม่เชื่อในอำนาจการดลบันดาลของพระเจ้า จึงเรียกว่าศาสนาอเทวนิยม คือ ศาสนาที่ไม่เชื่อในพระเจ้า

    [แก้] ศาสนาแห่งสันติภาพ

    ในกระบวนการนักคิดของโลกศาสนา พุทธศาสนาได้รับการยกย่องจากทั่วโลกว่า เป็นศาสนาแห่งสันติภาพอย่างแท้จริง เพราะไม่ปรากฏว่ามีสงครามศาสนาเกิดขึ้นในนามของศาสนา หรือเผยแผ่ศาสนาโดยการบังคับผู้อื่นให้มานับถือ ให้เสรีภาพในการพิจารณาให้มีปัญญากำกับศรัทธา ในขณะที่หลายศาสนาแสดงว่าศาสนิกชนต้องมีศรัทธามาก่อนปัญญาเสมอ และต้องมีความภักดีต่อพระผู้เป็นเจ้าสูงสุด ผู้นับถือจะวิพากษ์วิจารณ์พระเจ้าไม่ได้
     
  6. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    พระพุทธศาสนา
    http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%...B8%99%E0%B8%B2
    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

    [แก้] นิกาย

    [​IMG]
    พระพุทธรูปในถ้ำซ็อกคูรัม ประเทศเกาหลีใต้


    ศาสนาพุทธ แบ่งออกเป็นนิกายใหญ่ได้ 2 นิกายคือ เถรวาท หรือ หินยาน และ มหายาน นอกจากนี้แล้วยังมีการแบ่งที่แตกต่างออกไปและไม่ค่อยเป็นที่แพร่หลายในประเทศไทยคือ การแบ่งเป็น 3 นิกายคือ
    [แก้] สถานที่ประกอบพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา

    วัด ซึ่งเป็นสถานที่อยู่อาศัย หรือ ที่จำพรรษา ของ พระภิกษุ สามเณร เพื่อใช้ประกอบกิจกรรมประจำวันของพระภิกษุสงฆ์ เช่น การทำวัตรเช้า การทำวัตรเย็น อีกทั้ง ยังใช้ประกอบพิธีกรรมในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา และยังเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของพุทธศาสนิกชน อีกด้วย

    [แก้] อ้างอิง
    [แก้] แหล่งข้อมูลอื่น
    <!-- Pre-expand include size: 8999/2048000 bytesPost-expand include size: 3525/2048000 bytesTemplate argument size: 6/2048000 bytes#ifexist count: 0/500--><!-- Saved in parser cache with key thwiki:pcache:idhash:934-0!1!0!!th!2 and timestamp 20080216152728 -->ดึงข้อมูลจาก "http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9E%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%B2".
    หมวดหมู่: พุทธศาสนา

     
  7. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ความอยู่รอดของพระพุทธศาสนา
    http://www.sriganapati.com/index.php?option=com_content&task=view&id=90&Itemid=31
    <TABLE class=contentpaneopen><TBODY><TR><TD vAlign=top align=left width="70%" colSpan=2>แก้ไขโดย Administrator </TD></TR><TR><TD class=createdate vAlign=top colSpan=2>Saturday, 15 October 2005 </TD></TR></TBODY></TABLE>

    ความอยู่รอดของพระพุทธศาสนา อุทาหรณ์จากสมัยกรุงศรีอยุธยา
    จากวารสาร สยามอารยะ เขียนโดย ด.ร. กิ่งแก้ว อัตถากร


    บทนำ


    นับตั้งแต่พระบรมศาสดาทรงประกาศพระศาสนากาลล่วงเลยมาบัดนี้ ได้สองพันห้าร้อยปีเศษแล้ว พระพุทธศาสนาได้ผ่านช่วงแห่งความรุ่งโรจน์และภยันตรายมาหลายครั้งหลายครา ยุคใดผู้เข้าถึงธรรมมีปริมาณและคุณภาพสูงพระพุทธศาสนาดูเหมือนสว่างไสว เวลาใด้ผู้เข้าถึงลดน้อยด้อยคุณภาพพระพุทธศาสนาย่อมดูเหมือนอยู่ในม่านเมฆ




    ผู้ที่มีความห่วงใยในความอยู่รอดของพระพุทธศาสนาด้วยเล็งเห็นคุณค่าของสัจจธรรมคำสอนอัน ละเอียดอ่อนลึกซึ้งจึงอดมิได้ที่จะย้อนไปศึกษาอดีต เพื่อแสวงหาข้อมูลอันจะเป็นบทเรียนสอนใจสำหรับปัจจุบันและอนาคต ผู้เขียนเลือกสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช เพื่อศึกษาภาวะที่บาทหลวงคริสตังเข้ามาเผยแพร่คริสตศาสนา ด้วยความหวังอย่างแรงกล้าที่จะให้คนไทยเข้ารีด การศึกษานี้น่าจะแสดงให้เห็นว่าอะไรคือปัจจัยให้พระพุทธศาสนาอยู่รอด
    ข้อมูลที่รวบรวมมาใช้อ้างอิงในบทความชิ้นนี้ ได้มาจากบันทึกหรือจดหมายเหตุที่เขียนโดยชาวต่างประเทศทั้งที่เป็นบาทหลวง อัครราชทูต ทหารและพ่อค้า ข้อเขียนดังกล่าวทำให้เราทราบทัศนะของคนนอกที่มองคนไทยกันทัศนะที่คริสตศาสนิกชนมีต่องานเผยแพร่ศาสนาของเขาในเมืองไทยทั้งนี้ผู้เขียนได้พยายามเสนอภาพพจน์ที่ไม่เป็นการตีความเข้าข้างตนเอง


    อยุธยากับพระพุทธศาสนา


    แม้ว่ากรุงศรีอยุธยาจะเป็นแดนแห่งการศึก แก่งแย่งชิงดีทั้งภายในภายนอกก็ตาม พระพุทธศาสนาก็ยังคงเป็นที่พึ่งทางกายทางใจของคนทั้งหลายไม่คลอนแคลน พระมหากษัตริย์ผู้ทรงความเฉียบขาดในด้านการเมืองการปกครองล้วนมีศรัทธาแน่นแฟ้นในบวรพระพุทธศาสนาทรงเป็นอัครศาสนูปถัมภก และทรงบำเพ็ญกรณียกิจทางศาสนามิได้ขาด และในฐานะที่ศูนย์กาลงของวัฒนธรรมและความมั่นคงของราชอาณาจักรอยู่ที่วัด ถาวรวัตถุและอนุสาวรีย์แห่งชัยชนะทั้งทางโลกและทางธรรมได้ผสมผสานเป็นเกลียวเดียวกัน เป็นปรากฏการร์อันพึ่งถึงเป็นอนุสติ ณ ที่วัดนั่นเอง


    พระเจ้าอู่ทองทรงโปรดฯให้สร้างสถาปนาวัดใหญ่ชัยมงคล (เดิมวัดเจ้าแก้วไท) และวัดพุทไธศวรรย์ เป็นวัดหลวงในอภิขิตสมัยที่ทรงสถาปนากรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี


    สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงโปรดฯให้สร้างพระเจดีย์ใหญ่ชัยมงคลสวมพระเจดีย์เจ้าแก้วไท เพื่อนเป็นอนุสรณ์แห่งชัยชนะและอิสระภาพ


    พระเจ้าปราสาททองผู้มีฉายาว่าโหดเหี้ยมพระองค์หนึ่งในการปราบดาภิเษก ทรงกอปรด้วยรสนิยมทางสถาปัตยกรรมและศิลปะ โปรดฯให้สร้างวัดที่งดงามที่สุดวัดหนึ่งคือวัดชัยวัฒนาราม


    พระเพทราชาโปรดฯให้สร้างวัดบรมพุทธาราม ณ บริเวณที่เคยเป็นที่นิเวศเดิมของพระองค์ท่าน


    ฝ่ายประชาราษฏรก็เจริญรอยตามกุศโลบายในพระบรมกษัตราธิราช จนมีคำพังเพยว่า สร้างวัดเป็นปกติธรรมดา เหมือนสร้างศาลาให้ลูกหลานวิ่งเล่น อยุธยาจึงเป็นเมืองที่มีวัดมากมายล้วยแล้วแต่ประดับด้วยเงิอนทองของมีค่า ที่เหลือใช้ก็ยังฝังไว้ใต้องค์พระ ตามกำแพงและองพระเจดีย์ คนไทยสมัยกรุงศรีอยุธยาฝากสมบัติไว้กับพระศาสนาด้วยประการฉะนี้



    พระพุทธศาสนาถูกถ้าทาย


    นับตั้งแต่สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงปราบศึกพม่าราบคาบ อาณาจักรแห่งกรุงศรีอยุธยาก็เริ่มมีความปรกติสุขและมีเสถียรภาพทางการเมืองการปกครองอย่างที่ไม่เคยมีมาช้านานฉะนั้น เมื่อสมเด็จพระเอกาทศรถ ทรงครองราชย์สืบต่อมา ก็ทรงดำเนินรัฐประศาสโนบายติดต่อกับต่างประเทศ ทั้งในภาคพื้นเอเซีย และยุโรป อาทิ ญี่ปุ่น แขก ปอร์ตุเกส ฝรั่งเศส ฮอลันดา อังกฤษ ทั้งนี้ทั้งนั้นมีความเฟื่องฟูถึงขีดสุดในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช


    คณะทูตานุทูตที่มาเจริญสัมพันธไมตรี จะเป็นจากปอร์ตุเกสก็ดี หรือจากฝรั่งเศสก็ดี ย่อมประกอบด้วยคณะบาทหลวงผู้เข้ามาทำหน้าที่สอนคริสตศาสนา การครั้งนี้ทางสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวของเราก็มิได้ทรงขัดขวาง เพราะทรงคำนึงถึงความจำเป็นสำหรับคริสตศาสนิกชนที่มาพำนักค้าขายและปฏิบัติราชการอยู่หรือถ้าจะมีส่วนเผยแพร่ให้คนไทยบ้าง ก็ทรงเปิดโอกาสให้เป็นไปตามอัธยาศัย เมื่อท่านราชทูตเดอโชมองต์มาเยือนเมืองสยาม เขาก็ยอมรับว่าสมเด็จพระนารายณ์ " ทรงตั้งพระทัยดีต่อศาสนาคริสตเตียน
     
  8. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ความอยู่รอดของพระพุทธศาสนา
    http://www.sriganapati.com/index.php?option=com_content&task=view&id=90&Itemid=31
    <TABLE class=contentpaneopen><TBODY><TR><TD vAlign=top align=left width="70%" colSpan=2>แก้ไขโดย Administrator </TD></TR><TR><TD class=createdate vAlign=top colSpan=2>Saturday, 15 October 2005 </TD></TR></TBODY></TABLE>

    ความอยู่รอดของพระพุทธศาสนา อุทาหรณ์จากสมัยกรุงศรีอยุธยา
    จากวารสาร สยามอารยะ เขียนโดย ด.ร. กิ่งแก้ว อัตถากร

    <TABLE class=contentpaneopen><TBODY><TR><TD vAlign=top colSpan=2>ความมั่นคงสามประการ

    จากกรณีศึกษาดูบันทึกของชาวต่างชาติที่เข้ามาในแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์ และสมัยใกล้เคียง พอจะประมวลองค์ประกอบแห่งความมั่นคงของพระพุทธศาสนาได้ 3 ประการคือ พระมหากษัตริย์ พระภิกษุ และประชาชน

    พระมหากษัตริย์ สมเด็จพระนารายณ์ทรงเป็นมหาราชซึ่งยิ่งด้วยบารมีเป็นบารมีในบุคลิกทั้งภายในและภายนอก ยังผลให้ทรงไว้ซึ่งพระเดชและพระคุณ ในขณะเดียวกันทรงเปิดโอกาสให้เสรีภาพอย่างยิ่งแก่บุคคลที่ทำงานต่างพระเนตรพระกรรณ (เช่นเจ้าพระยาวิชาเยนทร์) แก่คณะเอกอัครราชทูต (เช่น เดอโชมองต์ และ ลาลูแบร์) แก่คณะของบาทหลวง (เช่น ตาชาร์ด) แก่กองทหารฝรั่งเศส (ซึ่งเจ้าพระยาวิชาเยนทร์อ้างพระบรมราชโองการขอไปยังพระเจ้าหลุยส์ที่ 14) แก่นักวิทยาศาสตร์ (ที่มาถวายความรู้พร้อมกับคณะทูต) ฯลฯ และในความมีเสรีภาพอันเปิดกว้างเช่นนี้ พระองค์ก็สามารถทรงความเป็นที่ยำเกรงได้โดยตลอดไม่ปรากฏได้มีการบีบบังคับให้ทรงยินยอมคล้อยตามได้เลยในเรื่องที่มิใช่พระราชประสงค์

    บาทหลวงตาชาร์ดในคณะของท่านราชทูตเดอโชมองต์ซึ่งหมายนั่นมาแปลงศาสนาพระองค์ ก็ยอมรับว่าไม่อาจทำได้สำเร็จดังพรรณาถึงเหตุการณ์ตอนจะเข้าเฝ้าพร้อมกับราชทูตเดอโชมองต์ว่า " ม. เดอโชมองต์ ก็หันไปสนทนาเกี่ยวกับเรื่องการแปลงศาสนาของพระเจ้าแผ่นดิน อันเป็นวัตถุประสงค์สำคัญของการแต่งทูตมาในครั้งนี้ ม.ก๊องสตังซ์ (เจ้าพระยาวิชาเยนทร์) แสดงความประหลาดใจอยู่ และบอกท่านราชทูตว่าเป็นสิ่งที่เขามีความปรารถนาเป็ฯอย่างยิ่งที่สุดในโลกทีเดียว หากแต่ว่าเขายังมองไม่เห็นลู่ทางเลย พระเจ้าแผ่นดินทรงมีความผูกพันกับศาสนาแห่งบรรพชนของพระองค์ยิ่งนัก" (ตาชาร์ด เล่ม 1, 2517:37 ดูเปรียเทียบ เดอ โชมองต์, 2511:47-54)

    จุดใหญ่จึงมาลงที่ว่า สมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงมีศรัทธามั่นในพระพุทธศาสนา ความมั่นคงดังกล่าวมิได้แสดงด้วยการเจรจาตอบโต้หรืออภิปรายเฉพาะครั้งเฉพาะคราว หากแต่เป็นสิ่งที่ทรงแสดงด้วยกิจวัตรและพระราชกรณียกิจอันสำคัญทางศาสนา ซึ่งทำให้คนทั้งหลายแม้แต่ชาวต่างชาติต้องประจักษ์ด้วยตนเอง จนมิอาจกล้าที่จะเสนอกิจที่เป็นอื่นได้

    กาลลัวซ์ เขียนถึงสมเด็จพระนารายณ์ว่า เคยมีพระบรมราชโองการให้คัดคัมภีร์พระไตรปิฎกโดยสมบูรณ์ทั้ง 84,000 พระธรรมขันธ์ และโปรดให้นิมนต์พระไปแสดงธรรมถวายเป็นครั้งคราว

    นอกจากนี้บุคลิกภายในและภายนอกของพระองค์เป็นที่รักและยำเกรงประกอบกับผู้คนไม่หาญกล้าที่จะขัดพระราชประสงค์ น่าจะมิใช่เพราะกลัวอย่างเดียว แต่น่าจะเป็นเพราะพระองค์ท่านสุภาพเสียจนต้องผ่อนปรน บาทหลวงตาชาร์ด พรรณาว่า "เป็นผู้ทรงมีความละเอียดอ่อนในเรื่องมรรยาท" และฟอร์บังก็กล่าวสนับสนุดเช่นกัน ว่า ทรงมีมรรยาทงามกับทั้งสง่าผ่าเผย

    สมเด็จพระนารายณ์ทรงกอปรด้วยความละเมียดละไม ซึ่งฝรั่งเองยอมรับว่าเป็นลักษณะเฉพาะของคนไทยและคงมีไม่น้อยทีเดียวที่โอนอ่อนตามคุณสมบัตินี้ เพื่อจุดประสงค์ในการสร้างไมตรีจิตมิตรภาพ นาเวเรต์ พ่อค้าข้าวฝรั่งเศสคนหนึ่งที่ประจำอยู่ในสยาม ถึงกับแนะนำไปยังบริษัทของเขา (ปี ค.ศ. 1682) ว่าควรพิถีพิถันในการเลือกส่งคนไปเมืองสยาม ขอให้เป็นคนดีมีอัชฌาสัย ดังข้อความต่อไปนี้ " และท่านจะส่งคนให้มาอยู่ในเมือง (สยาม) นี้แล้ว คนเหล่านั้นจะต้องเป็นผู้ดีและเป็นคนที่สุภาพเรียบร้อยจึงจะได้ มิฉะนั้นก็อย่าส่งคนมาเลยจะดีกว่า" (วาเรต์, 2511:29)

    เมื่อเป็นดังนี้ ความมุ่งมาดของคณะราชทูตเดอโชมองต์ที่จะทูลให้สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเข้ารีตเป็นอันต้องเพลาลง เจ้าพระยาวิชาเยนทร์เองก็ได้แสดงให้คณะราชทูตเห็นว่า การเพ็ดทูลน่าจะเป็นการขัดพระกรุณา และได้ถือโอกาสตัดข้อความที่ล่อแหลมออกไปพอสมมควร เมื่อทำหน้าที่ล่ามถวายเวลาท่านราชทูตและคณะบาทหลวงเข้าเฝ้า ทังฟอร์บังยังยืนยันว่า "พระนารายณ์ไม่เคยทรงพระราชดำริจะเข้ารีตเลยและไม่มีมนุษย์ใดกล้ากราบบังคบทูลแนะนำให้ทรงเลื่อมใสคริสตศสนาด้วย"

    พระภิกษุ ความเคร่งครัดในพระธรรมวินัยหรือขัอวัตรปฏิบัติเป็นบารมีอันยิ่งใหญ่ของพระภิกษุในพระพุทธศาสนา วินัยบัญญัติทั้ง 227 ข้อนับเป็นการแจงวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมของคำสั้น ๆ ที่พระพุทธองค์ทรงใช้สำหรับประมวลทางอันเป็นอริยมรรคสายนี้มุ่งสละความยึดติดในโลกดังนั้นการประพฤติใด้มีเค้าความเป็นโลก โลกย่อมต้องฝืนแล้วขจัดออก ผู้ให้ทำได้จึงได้รับความยกย่องนับถือเพราะหากยังทำตนเหมือนคนทั่วไปจะไปนับถือกันทำไมเล่า?

    มิใช่แต่ชาวพุทธเท่านั้นที่ยอมรับความจริงในข้อนี้ แม้ในหมู่ชาวคริสต์เองก็อดมิได้ที่เห็นว่า วินัยทำให้พระภิกษุเป็นบุคคลที่พิเศษควรแก่การคารวะ และก็วินัยอีกนั้นแหล่ะที่ทำให้พระภิกษุเป็นแกนสำคัญแห่งความอยู่รอดของพระพุทธศาสนา ฟอร์บังวิเคราะห์สาเหตุแห่งการที่คริสตศาสนาไม่ประสบความสำเร็จในการแผ่ขยายในประเทศสยามว่า เนื่องมาจาก "จรรยาวัตรของพระภิกษุสงฆ์" (ฟอร์บัง น.24-56) ซึ่งอาจจำแนกได้เป็น สองหัวข้อดังนี้

    1. จรรยาวัตรเกี่ยวกับการบริโภค กล่าวคือ "ไม่เสพสุราเมรัยฉันแต่ของที่คนใจบุญถวายไปวัน ๆ ของที่ได้มากเกินกว่าความจำเป็น ก็มอบให้คนจนไม่เก็บไว้สำหรับวันรุ่งขึ้นเลย" และสำหรับอาการที่ภิกขาจารก็สำรวม "เพียงแต่ถือบาตรไปยืนนิ่งๆ " (ฟอร์บัง, 2513:24 5-6) ยิ่งกว่านั้นยัง "ทรมานอดอาหาร" อีกด้วย

    2. จรรยาวัตรเกี่ยวกับการสังคม คือพระภิกษุไม่คลุกคลีด้วยหมู่คณะ ไม่ข้องในอิสตรี จริงเป็นผู้ "สงบกามารมณ์" ทั้งยังคำนึงถึงที่อันควรโคจรด้วย จึงไม่ปรากฏว่าพระภิกษุเดินท่องเที่ยวไปไหน จะเห็นก็แต่เวลาออกบิณฑบาตทั้งฟอร์บังและบาทหลวงตาชาร์ดเอง ยอมรับว่าความเคร่งครัดน่าเลื่อมใส่ยิ่งกว่า ผู้ที่ถือว่าเคร่งในคริสตศาสนาเสียอีก " พระภิกษุสงฆ์เป็นตัวอย่างที่ดีอยู่แล้ว สังเกตดูภายนอกก็เห็นจะประพฤติดีกว่าผู้ที่มีศรัทธาแก่กล้าของเรามาก (ฟอร์บัง, 2513:24 )

    บาทหลงตาชาร์ดเมื่อคราวเรือแตกที่จันทบุรี ได้ไปอาศัยค้างคืนอยู่ที่วัดแห่งหนึ่ง ได้เห็พระภิกษุ 3 รูปเข้าไปสวดมนต์ทำวัตรเช้าเข้าโบสถ์ ใจหนึ่งก็มีอคติรังเกียจว่าเป็นเรื่องนอกศาสนาของตน อีกใจหนึ่งกลับรู้สึกประทับใจ "ข้าพเจ้ายอมรับสารภาพว่า ตัวอย่างของบุคคลที่น่าสงสารเหล่านี้ ก่อให้เกิดความประทับใจเสียยิ่งกว่าธรรมเทศนาและหนังสือธรรมะใด ๆ ซึ่งเราต้องใช้ความอ่อนน้อมในการประพฤติปฏิบัติต่อพระพักตร์พระผู้เป็นเจ้าประเสริฐ ไม่ว่าเราจะอยู่ต่อหน้าพระพักตร์พระองค์ในโบสถ์หรือกล่าวขวัญถึงพระองค์ในขณะสวดอ้อนวอนอยู่ก็ตาม เราได้เห็นชาวยุโรปน้อยคนนักที่แสดงอาการสงบเสงี่ยมถึงขนาดนี้และอยู่ในอิริยาบถเดียวเป็นเวลาช้านานในการสวดมนต์"(ตาชาร์ด เล่ม 2 , 2519:93-4)

    ประชาชน ประชาชนคนไทยสมัยกรุงศรีอยุธยา เป็นคนมีศรัทธามั่นคงในพระพุทธศาสนาพอสมควรทีเดียว ในสายตาชาวต่างประเทศแล้ว คนไทยเป็นคนมีคุณสมบัติ 2 ประการ คือใจบุญ กับ อ่อนนอกแข็งใน

    ก. ลักษณะความใจบุญ ปรากฏในกรณียกิจต่อพระศาสนาหนึ่ง ต่อเพื่อนมนุษย์หนึ่ง และต่อสัตว์ดิรัจฉานหนึ่ง

    ในกรณียกิจที่เกี่ยวกับพระศาสนานั้น คนไทยทำบุญถวายสังฆทานเป็นประจำ ส่วนถาวรวัตถุเล่าก็มิได้ทอดทิ้ง สร้างวัดเป็นเรื่องที่นิยมกันมาก ตาชาร์ดเล่าว่า "ไม่มีใครเลยที่ว่าเมื่อเดินทางไปสักหนึ่งลิเออแล้ว จะไม่พบวัดเข้าสักแห่ง" โดยเฉพาะเกาะเมืองอยุธยามีวัดไม่ต่ำกว่า 145 วัด ต่อเนื้อที่ประมาณ 8 ตารางกิโลเมตร

    ท่านอัครราชทูตลาลูแบร์ กลับไปเขียนบันทึกเล่านิสัยคนไทยว่า "ชาวสยามผู้ใดมั่งมีพอแล้วก็ไม่เว้นที่จะสร้างพระอุโบสถและฝังทรัพย์สมบัติอันมีค่าบรรดาที่เหลือใช้เหลือสอยไว้" (ลาบูแบร์ เล่ม 1,2510:553) ความจริงคนไทยก็มิใช่คนร่ำรวยเท่าใดนัก เพราะทำกสิกรรม และถึงจะค้าขายก็พอประมาณ แต่ไม่ว่าจะมีเงินทองของมีค่าอย่างไรขึ้น ก็ภูมิใจอุทิศถวายต่อพระพุทธศาสนาเท่านั้น เรียกว่า เห็นพระพุทธศาสนาเป็นที่พึ่งระลึกอย่างเดียว ไม่ได้สุรุ่ยสุร่ายจ่ายแจกไปในเรื่องไร้สาระ

    บาทหลวงตาชาร์ด อดแสดงความทึ่งไม่ได้ เมื่อได้เห็นพระพุทธรูปทองคำที่มีราคาสูงยิ่ง " เราไม่เข้าใจเลยว่าประชาชนพลเมืองที่ค่อนข้างยากจนเหล่านี้ไปได้ทองคำมาจากไหนมากมายถึงขนาดนี้ และก็ไม่สามารถหักห้ามมิให้รู้สึกประทับใจได้เลยเมื่อได้เห็นพระพุทธรูป ซึ่งเพียงองค์เดียวเท่านั้นก็มีมูลค่ากว่าตู้ศักดิ์สิทธิ์ ( Tabernacie ) ทุกแห่งในโบสถ์ฝรั่งทั้งหลายของทวีบยุโรปรวมกัน พระพุทธรูปล้วนเป็นทองคำและประดับอัญมณี" (ตาชาร์ด เล่ม 1, 2517:61)

    ในกรณียที่เกี่ยวกับเพื่อนมนุษย์ คนไทยเป็นคนสุภาพ (ลาลูแบร์ เล่ม 1, 2510:239) ผู้ชายไม่ดุร้าย (ฟอร์บัง, 2513:246) และเด็ก ๆ ว่าง่าย (ฟอร์บัง,2512:24 6 ลาลูแบร์ เล่ม1, 2510:239) ลักษณะการปฏิบัติต่อกันจึงเป็นเรื่องของถ้อยทีถ้อยอาศัยกัน มีความ เอื้อเฟื้อต่อกันไม่มีคนที่รวยมากและที่จนมาก ดังที่ฟอร์บังตั้งข้อสังเกตว่า " เราจะไม่แลเห็นคนที่จนต้องมาขออาหารมารับประทาน"

    ในกรณีที่เกี่ยวกับสัตว์ ในสมัยกรุงศรีอยุธยา คนไทยแม้จะยังไม่ถือมังสวิรัติก็ไม่เบียดเบียนสัตว์ใหญ่ มีปรกติกินอาหารปลา ลาลูแบร์สังเกตว่าไม่มีโรงฆ่าสัตว์เพราะ " ชาวสยามไม่ค่อยชอบบริโภคเนื้อสัตว์" ส่วนเรื่อง "บูชายัญ" นั้นไม่มีกระทำกันเลย ในกรณีนี้ ลาลูแบร์อ้างถึงหลักพระพุทธศาสนาด้วยว่าพระบรมศาสดาห้ามการฆ่าสัตว์ตัดชีวิต

    ลาลูแบร์ตั้งข้อสังเกตว่า เหตุที่คนไทยสามารถครองความดีมีศีลธรรมไว้ได้ก็เนื่องจาก "ใช้ชีวิตสันโดษ" นี้หมายถึงการไม่ปรนเปรอตนเองด้วยความสุขมีความพอใจในการสร้างประโยชน์และถวรวัตถทางศาสนาเป็นส่วนใหญ่จึงทำให้พระพุทธศาสนามีหลักฐานมั่นคง และกุลบุตรก็นิยมบวชเพื่อศึกษาเล่าเรียนเพื่อสืบทองพระธรรมคำสอน

    ข. ลักษณะอ่อนนอกแข็งใน คนไทยมีลักษณะนิสัยไม่ขัดคอใครซึ่งหน้า ถึงแม้จะไม่เห็นด้วยก็รู้จักผ่อนปรนเพื่อเป็นการรักหน้า ทั้งของตนเองและของผู้อื่น ฟอร์บังตั้งข้อสังเกตว่า " คนไทยเป็นคนว่านอนสอนง่ายเพราะฉะนั้นจะสั่งให้ทำอะไรก็ทำตามความต้องการ" ยกตัวอย่างเช่นว่า เมื่อ บาทหลวงมาแสดงธรรมคนไทยก็ไม่ขัด และดูจะให้ความสนใจดีโดยตลอด " เมื่อผู้สั่งสอนศาสนาเราแสดงคริสต์ธรรม คนไทยซึ่งเป็นคนว่านอนสอนง่ายนั่งฟังธรรมปริยายนั้นเหมือนฟังคนเล่านิทานให้เด็กฟัง ความพอใจฟังของเขานั้นไม่ว่าจะสอนศาสนาใดก็ชอบฟังเท่านั้น" นิสัยโอนอ่อนผ่อนปรนทำนองนี้ ยังมีปรากฏในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น กาลลัวซ์ เมื่อเขียนถึงคนไทยช่วงที่บาทหลวง ปาลเลอกัวส์ มาเผยแพร่ศาสนา ก็ตั้งข้อสังเกตไว้เช่นกันว่า คนไทยนั้น " ไม่รังเกียจต่อการปฏิบัติในศาสนาของชาติต่างด้าว แต่ก็มีศรัทธาในศาสนา ประจำชาติของตนอยู่เหนือสิ่งอื่นใด" (กาลลัวซ์,2514:22)

    สรุป

    ตราบใดที่พุทธบริษัทยังคงกอปรด้วยศรัทธาในพระพุทธศาสนา อีกทั้งจริยาวัตรอันทรงธรรมทรงวินัย ตามสมควรแก่สถานภาพของตน ตราบนั้นพระสัทธธรรมคำสอนของพระบรมศาสดาก็จะยังคงดำรงอยู่ ความอยู่รอดของพระพุทธศาสนาย่อมมีส่วนชี้ให้เห็ฯว่ามนุษย์จะยังคงมีเสรีภาพที่เลือกทางเดินของตน ด้วยความรับผิดชอบในเจตนคติ และผลทั้งหลายอันจะเกิดขึ้น ปัญหาเป็ฯสิ่งที่เราสร้างและการจะหมดปัญหาก็ต้องเป็นสิ่งที่เราแก้ปัญหาเป็นเสิ่งที่เพิ่มพูนได้ ความทุกข์ทั้งหลายเป็นเรื่องมาจากกิเลส อัตตวาทุปาทานในตัวเอง หรือในรูปแบบแห่งเทววิสัยยังมิใช่ทางอันประเสริฐ ผู้เห็นคุณค่าของอริยมรรค ย่อมคุ้มคอรงพระสัทธธรรมคำสอนในพระพุทธศาสนาด้วยประการดังกล่าวแล้วข้างต้นแล


    หมายเหตุ: เอกสารอ้างอิง
    กาลลัวซ์, เอเตียน ราชอาณาจักรสยาม แปลโดย สันต์ ท. โกมลบุตร กรมศิลปากร, 2514. 113 หน้า
    โชมองต์, เดอ. ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 40-41 เล่ม 24 คุรุสภา, 2511. 324 หน้า
    ตาชาร์ด, บาทหลวง (เล่ม 1) จดหมายเหตุการเดินทางสู่ประเทศสยาม แปลโดย สันต์ ท. โกมลบุตร กรมศิลปากร 2517. 145 หน้า
    ตาชาร์ด, บาทหลวง (เล่ม 2 ) จดหมายเหตุการเดินทางครั้งที่สอง แปลโดย สันต์ ท. โกมลบุตร กรมศิลปากร 2519. 296 หน้า
    ฟอร์บัง. จดหมายเหตุฟอร์บัง ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 80 เล่ม 50 คุรุสภา 2513. 267 หน้า
    ลาลูแบร์, เดอ. จดหมายเหตุลาลูแบร์ฉบับสมบูรณ์ เล่ม 1 แปลโดย สันต์ ท. โกมลบุตร สำนักพิมพ์ก้าวหน้า 2510. 639 หน้า
    เวเรต์. ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 44 เล่ม 26 คุรุสภา 2511. 290 หน้า
    Voltaire. Philosophical Dictionary trans. by Peter Gay. Basic Book, Inc., New York, 1962


    </TD></TR><TR><TD class=modifydate align=left colSpan=2>แก้ไขล่าสุดเมื่อ ( Wednesday, 02 November 2005 ) </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  9. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  10. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  11. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=thead>ขณะนี้มีคนกำลังดูกระทู้นี้อยู่ : 7 คน ( เป็นสมาชิก 3 คน และ บุคคลทั่วไป 4 คน ) </TD><TD class=thead width="14%"></TD></TR><TR><TD class=alt1 width="100%" colSpan=2>nongnooo, :::เพชร:::, sithiphong </TD></TR></TBODY></TABLE>

    หวาดดีครับ ...ท่านพี่ทั้ง2ครับ
     
  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    พระราชดำรัส ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
    http://mettadham.ca/kingrama5's address_2.htm

    พระราชดำรัสแก่พระสงฆ์
    ในการที่จะตรวจสอบพระไตรปิฎก ที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม พ.ศ. 2431

    .........
    การซึ่งมีความประสงค์จะให้ตรวจสอบพระไตรปิฎก ลงพิมพ์ไว้ในครั้งนี้นั้น ด้วยเห็นว่าแต่ก่อนมา ประเทศที่นับถือพระพุทธศาสนา ยังมีอำนาจปกครองบ้านเมืองโดยลำพังตัว พระเจ้าแผ่นดินเป็นผู้นับถือพระพุทธศาสนา ได้ทำนุบำรุงอุดหนุนการศาสนาอยู่หลายประเทศด้วยกันคือ เมืองลังกา เมืองพม่า เมืองลาว เมืองเขมร แลกรุงสยาม เมื่อเกิดวิบัติอันตราย พระไตรปิฎกขาดสูญบกพร่องไปในเมืองใด ก็อาศัยหยิบยืมกันมาลอกคัดคงฉบับบริบูรณ์ ถ่ายเทกันไปกันมาได้ แต่ในกาลทุกวันนี้ ประเทศลังกาแลพม่าตกอยู่ในอำนาจอังกฤษ ผู้ปกครองรักษาบ้านเมืองไม่ได้นับถือพระพุทธศาสนา ..... หาได้อุดหนุนพระพุทธศาสนาอย่างหนึ่งอย่างใดไม่ พระสงฆ์ซึ่งปฏิบัติตามพระพุทธศาสนา ก็ต่างคนต่างประพฤติตามลำพังตน คนที่ชั่วมากกว่าดีอยู่เป็นธรรมดา ก็ชักพาให้ พระปริยัติธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า วิปริตผิดเพี้ยนไปตามอัธยาศัย ส่วนเมืองเขมรนั้นเล่า ก็ตกอยู่ในอำนาจของฝรั่งเศษ ไม่มีกำลังที่จะอุดหนุนพระพุทธศาสนาให้เป็นการมั่นคงถาวรไปได้ ส่วนเมืองลาวอยู่ในพระราชอาณาเขต เจ้านายแลไพร่บ้านพลเมืองก็นับถือพระพุทธศาสนาวิปริตแปรปรวนไป ด้วยเจือผีสางเทวดา จะเอาเป็นหลักฐานมั่นคงไม่ได้ ถ้าพระไตรปิฎกวิปริตคลาดเคลื่อนไปในเวลานี้ จะหาที่สอบสวนคัดลอกเหมือนอย่างแต่ก่อนนั้นไม่มีแล้ว การพระพุทธศาสนายังเจริญมั่นคงถาวรอยู่ แต่ในประเทศสยามนี้แห่งเดียว จึงเป็นการสมควรที่จะสอบสวนพระไตรปิฎกให้ถูกต้องบริบูรณ์ แล้วสร้างขึ้นไว้ให้มากฉบับแพร่หลาย จะได้เป็นหลักฐานเชื้อสายของพระศาสนธรรม คำสั่งสอนแห่งพระพุทธเจ้าสืบไปภายหน้า ก็ธรรมอันใดที่พระพุทธเจ้าได้ตรัสสั่งสอน ย่อมเป็นธรรมอันวิเศษอุดมยิ่ง ซึ่งจะทำให้สัตว์พ้นจากทุกข์ภัยได้จริง เป็นธรรมวิเศษเที่ยงแท้ ย่อมเป็นที่ปราถนาของผู้ซึ่งมีปัญญา ..... จึงเป็นธรรมที่ควรสงวนไว้ ให้เป็นประโยชน์แก่ชนภายหน้า จึงได้คิดจัดการครั้งนี้ เพื่อรักษาพระไตรปิฎกไว ้มิให้วิปริตผิดผันเป็นการยกย่องพระพุทธศาสนา ให้ตั้งมั่นถาวรสืบไป .....
    ..... ขอพระเถรานุเถร แลพระสงฆ์ทั้งปวง จงเห็นแก่ตัวหม่อมฉัน ผู้มีความเลื่อมใสในพระพุทธศาสนาอันยิ่งใหญ่ ....
    ..........
     
  13. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    ยังคงคึกคักกันเช่นเคยนะครับ เห็นกระทู้พระวังหน้าเกิดขึ้นมากมายก็น่ายินดี แสดงว่าความสนใจมีขนาดของวงที่กว้างมากยิ่งขึ้น ก็ต้องยอมรับกันว่ามีทั้งบวก และลบ ที่ยอมรับว่าจริงก็มี ที่ยอมรับว่าจริง แต่มีข้อมูลที่คลาดเคลื่อนก็มี ที่ไม่ยอมรับว่าจริงก็มี ก็ต่างความเห็นซึ่งก็ดีแล้วครับ เป็นไปตามธรรมชาติที่ต่างกัน หากเหมือนกันมากๆคงมีปัญหาอีกนั่นแหละ หากจะเป็นปัญหาให้ได้ มันก็จะมีเรื่องให้มีปัญหาได้ทั้งนั้นละครับ ผมก็ถือคติว่าพูดมากก็ผิดมาก พูดน้อยก็ผิดน้อย ไม่พูดไม่ผิดเลย ช่วงนี้ขอเก็บเนื้อเก็บตัวก่อนครับตามสะดวกเถิดท่านจะคิดว่ามี หรือไม่มีก็แล้วแต่ท่าน แต่จะมีซักกี่ท่านที่ได้อ่านหนังสือแหล่งอื่นๆที่นอกเหนือจากหนังสือพระเครื่องที่หลายๆท่าน"เรียบเรียง" ไม่ได้คิดเอง ค้นคว้าทดสอบเอง หาข้อมูลเชื่อมโยงอ้างอิงจากที่ต่างๆที่เป็นข้อมูลดิบเอง ความรู้ตรงนี้ยังรอการค้นคว้าอีกมากครับ สร้างสมดุลของปัญญา และศรัทธาในรูปแบบของปัจเจกบุคคลให้ได้ มีซักกี่ท่านที่เคยเข้าไปในพระอุโบสถพระแก้ววังหน้าไปดูจิตรกรรมฝาผนัง ไปดู ไปสังเกตุสีที่ใช้ในพระอุโบสถ ไม่เคยมีความรู้ ไม่เคยไปดู ไม่เคยไปสังเกตุ ไม่เคยอ่านประวัติความเป็นมาของเครื่องถ้วยเบญจรงค์ ไม่รู้วิธีการทำ แต่บอกว่าเป็นพระลิเก พระเก๊ หึ..หึ.. อย่าพูดไปเลยครับ อายเขา...หากไม่พูด ไม่เอ่ย ก็คงไม่มีผู้ใดว่าท่านด้อยปัญญาหรอก...

    ผมเคยคุยกับคุณหนุ่มว่า การนำเสนอเรื่องราวของหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรนี้เป็นเหมือนดาบ ๒ คม บ้างเชื่อ บ้างไม่เชื่อ อันนี้ไม่ขอกล่าวดีกว่าครับ ตามแต่วาระของแต่ละท่านจะได้รับทราบ พระอภิญญามากมายท่านถึงอยู่ตามป่าเขาไม่ยุ่งเกี่ยวกับผู้คนทางโลก กรรมของการปรามาสนั้นรุนแรงมาก ท่านใดอยากเสี่ยงเพียงเพราะสนุกปาก สนุกมือ หรือโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ก็ตามสะดวกไม่ขอขัดครับ กรรมใครกรรมมัน ผมคุยกับคุณหนุ่มว่า คุณทำงานยาก ส่วนของผมทำงานง่ายกว่า คุณเผยแพร่เรื่องราวของพระเหนือโลก ผมเผยแพร่เรื่องราวของท่านเจ้าคุณนรรัตนราชมานิต วัดเทพศิรินทราวาส
    http://palungjit.org/showthread.php?t=107236

    ส่วนของผมนั้นง่ายกว่ามาก เพราะเหตุใดหรือ?? ก็เพราะเรื่องราวของท่านได้มีบันทึกไว้ชัดเจนดีแล้ว ทั้งเรื่องราวของเหตุการณ์ต่างๆ เรื่องราวของวัตถุมงคล และการอ้างอิงของตัวบุคคล อีกทั้งลูกศิษย์ลูกหาที่จะสืบทอดบอกเล่าเรื่องราวก็มีมากมายล้วนมีตำแหน่ง และความเข้มแข็งของคามคิด ความเคารพนับถือความศรัทธา เรื่องราวของท่านโดดเด่นมากในสมัยรัชกาลที่ ๖ จึงมีความชัดเจนไม่คลุมเคลือ ง่ายต่อการศึกษาไม่ว่าจะเป็นหลักธรรม หลักการคิด ปฏิปทา คำสอน กรรมฐานที่ท่านแนะนำเหล่านี้ล้วนเป็นความจริง ผมจึงขอยกย่องว่าคุณหนุ่มเป็นหัวหมู่ทะลวงฟัน ซึ่งก็เป็นไปตามกำหนดทุกอย่างแล้วครับ ไม่อยากเป็นก็ต้องเป็น เป็น fight บังคับ...
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 19 กุมภาพันธ์ 2008
  14. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    ธรรมะของหลวงปู่ก็ค้นหา ทบทวนปฏิบัติกันไป พระพิมพ์ก็หาจนถึงที่สุดกันไป ที่สุดก็จะเลิกหากันเองครับ ต่อเมื่อตนเองรู้สึกว่า"เพียงพอ"แล้วนั่นเอง...

    ความจริง..ความเห็นที่ว่า พระพิมพ์นั้นไม่มีจริง เป็นเรื่องหลอกกันนั้นพิสูจน์ง่ายมากครับ อยู่ที่ว่าผู้พิสูจน์ต้องเตรียมทำกาย วาจา ใจให้พร้อมแล้วที่จะรับผลกรรมนั้นๆ ผมขอยกตัวอย่างประกอบเพียงกรณีเดียว แล้วท่านลองพิจารณากันเป็นลำดับต่อไปตามกำลังของแต่ละท่าน เรื่องราวเหล่านี้ผมมั่นใจว่าผมไม่ได้ลอกใครเขามา ไม่ได้ลอกตำราเล่มไหนมา และไม่มีตำราเล่มไหนกล้าบอกท่านขนาดนี้ ตั้งแต่วันที่ได้รับพระพิมพ์นี้มาแล้ว...

    พระพิมพ์วังหน้าที่โรยทอง ผสมผงทอง ที่คุณหนุ่มเคย post ไว้ หากท่านใดได้อ่านมาบ้างแล้ว ลำพังคนธรรมดาๆทั่วไปก็ไม่ทราบหรอกครับว่าทองที่โรยนั้นเป็นทองคำแท้ หรือทองเหลือง แต่หากจะทดสอบนั้นไม่ยากครับ แต่อย่าลืมไปอ่านข้อความข้างบนก่อนลงมือทดสอบนะครับ หากไปพบท่านผู้ดูแลพระพิมพ์ท่านไปฟ้องผู้พิพากษาท่านที่ยมโลก ท่านจะได้จดจำได้ว่าทำกรรมอะไรมา...นำน้ำกรดมาหยดที่"ทอง"นั้น หากเกิดเป็นสีเขียวฟู่ๆ แบบนี้ทองเหลือง หากไม่เปลี่ยนแปลงนั่นคือทองคำแท้ คนทำปลอมจะนำ"ทองคำแท้"มาผสมหรอกหรือ ท่าทางจะว่างมาก และรวยมากขนาดนั้น ความคิดหลังจากทดสอบว่าหากเป็นทองคำจริง ท่านคิดอย่างไร จะเหมือนกรณีของพระปางไสยาสน์ที่ถูกลอกทองคำเปลวไปหรือไม่ ทองเก่า หรือทองใหม่ ท่านว่าเจ้าของร้านทองเขาดูไม่เป็นหรือ? นั่นคืออาชีพเขา...ลองคิดดู ก็เป็นส่วนของพระพิมพ์ ขอนำเสนอเอาไว้แต่เพียงเท่านี้ครับ
     
  15. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    เหตุที่ผมต้องตั้งกระทู้นี้ขึ้น เนื่องจากเมื่อสักประมาณ 13 ปีที่แล้ว ผมได้เห็นลูกค้าของพี่ท่านนึงในออฟฟิตผม นำรูปพระสงฆ์รูปหนึ่ง ซึ่งลูกค้าของพี่ท่านนึงนำมาให้พี่ท่านนี้ และบอกว่า เป็นหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร ผมเห็นรุปปั๊บ สะดุดใจทันที่ เกิดความศรัทธาในองค์หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร รูปนี้เป็นรูปพระภิกษุนั่งเอียงคอ (ซึ่งต่อมาอีกเป็น 10 ปี ผมจึงได้รู้ว่า เป็นรูปของสามเณรคำต้น องค์นี้เท่าที่ผมทราบมาเมื่อ 3 ปีที่แล้ว ปราชิกเนื่องจากเสพเมถุน) ผมเกิดความอยากได้มาก ในตอนนั้น ผมชอบถ่ายรูปมาก ผมจึงได้ขอรูปจากพี่ท่านนี้ มาถ่ายรูปเพื่อเก็บไว้บูชา แต่ในขณะนั้น ฟ้าครึ้มมาก เหมือนฝนกำลังจะตก ผมเดินออกไปข้างนอก พนมมืออธิษฐานว่า หากหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรมีจริง ขอให้ฟ้าเปิด ผมจะขอถ่ายรูป เมื่ออธิษฐานเสร็จแล้วฟ้าเปิดทันที ผมจึงนำรูปนี้ขึ้นไปถ่ายบนดาดฟ้าที่ออฟฟิต ผมถ่ายรุปจนเสร็จ เมื่อผมเดินลงมาถึงชั้นล่าง (จากอาคาร 3 ชั้น) ฝนได้ตกลงมาทันที หลังจากนั้น ผมใช้ระยะเวลา 10 ปี ตามหาหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร ว่าหลวงปู่ท่านเป็นใคร หนังสือกี่เล่มผมก็ซื้อ แต่เมื่อระยะเวลาผ่านมา 10 ปี ผมได้มาพบกับท่านอาจารย์ประถม อาจสาคร ซึ่งผมเองเคารพท่านเป็นครูบาอาจารย์ผมคนนึง ท่านได้สอนผมในหลายๆเรื่อง หลายๆสิ่ง หลายๆอย่าง ได้อ่านหนังสือที่ท่านได้เขียนขึ้น มานั่งวิเคราะห์ตามบทความที่ท่านอาจารย์ประถมท่านเขียนขึ้น และท่านอาจารย์ประถม ท่านเองก็สอนให้รู้จักการวิเคราะห์เรื่องราวต่างๆ ผมขอกราบขอบพระคุณท่านอาจารย์ประถม อาจสาคร มา ณ ที่นี้ด้วยครับ
    <O:p</O:p

    เมื่อผมได้รู้จักกับเรื่องราวของหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร รู้ว่าหน้าตาของหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรทั้ง 5 พระองค์เป็นอย่างไร รู้ว่าหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรทั้ง 5 พระองค์มายังสุวรรณภูมิเพื่ออะไร อีกทั้งได้เรียนรู้เรื่องของประวัติศาสตร์ของชาติไทยในสมัยรัชกาลที่ 4 ,รัชกาลที่ 5 และรัชกาลที่ 6 เหตุใดจึงต้องสร้างพระพิมพ์(หรือพระเครื่อง) ,พระบูชา ,วัตถุมงคลต่างๆอีกมากมายมหาศาล ,ศาสนสถานและศาสนวัตถุต่างๆ เพราะเหตุในการช่วยกันดูแลและรักษาพระพุทธศาสนา ให้ดำรงคงอยู่ตราบเท่าพุทธดำรัสองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระนามสมณโคดม คือ 5,000 ปี และอีกสิ่งหนึ่งก็คือ การช่วยกันดูแลและปกป้องประเทศไทยของเราทุกคนไว้ ให้อยู่ยั้งยืนยงตลอดไปเพื่อลูกหลานของคนไทยในอนาคต<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    เรื่องราวของหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรไม่ว่าจะเป็นประวัติขององค์หลวงปู่ ,พระพิมพ์(หรือพระเครื่อง)และวัตถุมงคลที่หลวงปู่ท่านอธิษฐานจิต เป็นเพียงองค์ประกอบหนึ่งในการที่จะเป็นสิ่งที่ช่วยเป็นกำลังใจของบุคคลที่เคารพในองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ,เคารพในองค์หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร เพื่อเป็นกำลังให้กับ"พุทธบริษัท 4"ในการดูแล ,รักษา และปกป้องพระพุทธศาสนาและประเทศไทย<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    ดังนั้น การที่เราจะช่วยทั้งชาติไทย และพระศาสนาได้นั้น มิใช่แต่เพียงว่า จะมุ่งแต่ปฏิบัติตนเองให้พ้นทุกข์เพื่อพระนิพพานเท่านั้น แต่ต้องร่วมด้วยช่วยกันทั้งการดูแล ,รักษา และปกป้อง ชาติไทย และศาสนาพุทธ ให้ยืนยงกันต่อไปในทุกๆด้าน หากมีแต่คนที่มุ่งปฏิบัติตนเองให้พ้นทุกเพื่อพระนิพพานเพียงอย่างเดียว ศาสนาพุทธและประเทศไทย จะอยู่รอดได้หรือ และจะมีคนสักกี่คนที่ทำได้เช่นนั้น อีกประการที่จะให้ลองไปคิด ไปวิเคราะห์กันก็คือ เหตุใดตั้งแต่ในสมัยโบราณนับตั้งแต่สมัยพระเจ้าอโศกมหาราชหรือก่อนหน้านั้น จึงต้องสร้างศาสนวัตถุและศาสนสถานไว้อย่างมากมาย <O:p</O:p
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 19 กุมภาพันธ์ 2008
  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ส่วนเรื่องของใครจะเชื่อหรือไม่เชื่อ จะปรามาสพระวังหน้าหรือพระกรุวัดพระแก้ว ก็แล้วแต่เขา หนทางการดำรงชีวิต หนทางเพื่ออนาคต มีหลายๆทาง มีทั้งไปเป็นเทวดาบนสวรรค์ ,ไปเป็นพรหมในพรหมโลก ,ไปเป็นสัตว์นรกในนรก ,ไปเป็นสัตว์เดรัชฉาน ,เปรต ,สัมภเวสีหรือโอปาติกะบนโลกมนุษย์ ,กลับมาเป็นมนุษย์บนโลกมนุษย์อีก หรือไปพระนิพพาน เพราะเหตุของการปรามาสพระวังหน้าหรือพระกรุวัดพระแก้ว ปรามาสองค์ผู้อธิษฐานจิต( เช่นหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรทั้ง 5 พระองค์(พระอุตรเถระเจ้า,พระโสณเถระเจ้า,พระมูนียะเถระเจ้า,พระฌาณียะเถระเจ้าและพระภูริยะเถระเจ้า)หรือองค์ใดองค์หนึ่ง ,หลวงปู่กรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ ,สมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี ,หลวงปู่แสง(เป็นพระอาจารย์สมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี) ,หลวงพ่อเงิน วัดบางคลาน ,หลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า ,หลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก ,หลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว ,หลวงปู่สมเด็จกรมพระปรมานุชิตชิโนรส ,หลวงปู่สมเด็จกรมพระยาปวเรศ ,ท่านเจ้ามา ฯลฯ ,พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ,พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ,พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ,พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว , เทพเทวาทั้ง 16 ชั้นฟ้า ,ช่างสิบหมู่แห่งวังหน้าและวังหลวง ,ขุนนางชั้นผู้ใหญ่อีกมาก ,ช่างชาวบ้านอีกมาก ฯลฯ ลองคิดดูกันเล่นๆก็พอ ไม่ต้องไปคิดจริงจัง ว่าอยากจะเดินไปทางไหน
    <O:p</O:p

    แต่เมื่อมีของจริง ย่อมมีของปลอมมาเป็นธรรมดา เพราะเหตุของผลประโยชน์จากหลายๆกลุ่ม หลายๆพวก หลายๆสาเหตุและปัจจัย คงต้องใช้วิจารณญาณในการพิจารณาสิ่งต่างๆเหล่านี้ให้ดี ให้ถ่องแท้ และควรจะมีผู้ที่รู้เรื่องของพระวังหน้าหรือพระกรุวัดพระแก้วเป็นผู้ที่แนะนำได้ เมื่อพูดมาถึงตรงนี้ อาจมีคำถามมาถามแน่ว่า ผมคงจะตั้งตัวเป็นผู้รู้ในเรื่องพระวังหน้าหรือพระกรุวัดพระแก้วแน่นอน ผมขอบอกตรงนี้เลยว่า สิ่งที่ผมได้เรียนรู้มานั้น เพียงแค่ผมเรียนรู้จากท่านอาจารย์ประถมมา ผมเรียนรู้มายังไม่ถึง 1 % เลยครับ และท่านอาจารย์ประถม ท่านบอกว่า เรื่องของพระวังหน้าหรือพระกรุวัดพระแก้ว ต้องเรียนรู้กันไปทั้งชีวิต เรียนกันไม่มีวันจบสิ้น ดังนั้นผมคงเป็นผู้รู้ไม่ได้แน่ แต่ผมต้องเรียนรู้ไปพร้อมๆกับคณะของผมครับ<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    โมทนาสาธุครับ<O:p</O:p
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 19 กุมภาพันธ์ 2008
  17. ตั้งจิต

    ตั้งจิต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2005
    โพสต์:
    1,574
    ค่าพลัง:
    +5,485
    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=thead>ขณะนี้มีคนกำลังดูกระทู้นี้อยู่ : 11 คน ( เป็นสมาชิก 2 คน และ บุคคลทั่วไป 9 คน ) </TD><TD class=thead width="14%"></TD></TR><TR><TD class=alt1 width="100%" colSpan=2>ตั้งจิต, nongnooo</TD></TR></TBODY></TABLE>
    ไปทอดผ้าป่าด้วยมั้ยครับ
     
  18. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    เปล่าครับ...แม่ของเจ้าโด ไม่ให้visa ครับ
     
  19. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    เรื่องนี้ผมจะเล่าให้ฟังว่า เคยมีผู้ที่คิดสกปรก คิดไม่ดี นำพระวังหน้าหรือพระกรุวัดพระแก้วที่มีผงทอง นำมาตำให้ละเอียด แล้วร่อนนำผงทองออกมา มีพระวังหน้าหรือพระกรุวัดพระแก้วเป็นจำนวนเท่าไหรแล้วที่ถูกทุบละเอียดเพื่อนำผงทองออกมา สำหรับพระพิมพ์นั้น บอกได้แต่เพียงว่า ไม่น่าจะต่ำกว่าเลข 6 หลักกลางๆครับ

    สำหรับคนพวกนี้ อบายภูมิทุกชั้น ยินดีต้อนรับคนเหล่านี้แน่นอน แต่ถ้าหากท่านใดที่ไม่เชื่อผม ผมไม่ว่าอะไร แต่สามารถที่จะลองพิสูจน์ดูได้ ไม่ยากครับ แต่ท่านใดที่ลองแล้ว ก็ไม่ต้องมาบอกผมนะครับ เพราะว่าผมไม่รู้จัก จักไม่ต้องไปเยี่ยมในที่ต่างๆ หุหุหุ

    .
     
  20. jirautes

    jirautes เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    195
    ค่าพลัง:
    +575
    กระผมอยากทราบว่าวันที่ 21 ก.พ 51 ที่วัดมีพระให้ร่วมทำบุญบูชาเพื่อทอดผ้าป่า เพื่อสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้ง หรือไม่ครับ กระผมและครอบครัวจะไปร่วมทำบุญที่วัดด้วยครับ ** กระผมขอร่วมทำบุณญบูชาพระสมเด็จอกครุฑ 1 องค์เพื่อร่วมทำบุญครับ ** กระผมและครอบครัวได้เคยร่วมทำบุญทอดกระฐิน
    กับทางวัดแล้วครั้งหนึ่งเมื่อเมื่อวันอาทิตย์ที่ 11 พ.ย 2550 (ได้รับพระนาคปรกสมัยสุโขทัย 1 องค์และพระพิมพ์สี่เหลี่ยมหลวงปู่สุข 1 องค์)
    กระผมและครอบครัวขออนุโมทนากับทุกๆท่านที่ร่วมทำบุญทอดผ้าป่าเพื่อสร้าง
    พระเจดีย์ศรีผาผึ้ง สาธุๆๆๆ
     

แชร์หน้านี้

Loading...