พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    พราหมณสังยุตต์
    อรหันตวรรค
    อรรถกถา ธนัญชานีสูตร
    อรรถกถา อักโกสกสูตร
    อรรถกถา อสุรินทกสูตร
    อรรถกถา พิลังคิกสูตร
    อรรถกถา อหิงสกสูตร
    อรรถกถา ชฏาสูตร
    อรรถกถา สุทธิกสูตร
    อรรถกถา อัคคิกสูตร
    อรรถกถา สุตทริกสูตร
    อรรถกถา พหุธิติสูตร
    อุปาสกวรรค
    อรรถกถา กสิสูตร
    อรรถกถา อุทยสูตร
    อรรถกถา เทวหิตสูตร
    อรรถกถา มหาศาลสูตร
    อรรถกถา มานัตถัทธสูตร
    อรรถกถา ปัจจนิกสูตร
    อรรถกถา นวกัมมิกสูตร
    อรรถกถา กัฏฐหารสูตร
    อรรถกถา มาตุโปสกสูตร
    อรรถกถา ภิกขกสูตร
    อรรถกถา สังครวสูตร
    อรรถกถา โขมทุสสสูตร
    วังคีสสังยุตต์
    อรรถกถา นิกขันตสูตร
    อรรถกถา อรติสูตร
    อรรถกถา เปสลาติมัญญนาสูตร
    อรรถกถา อานันทสูตร
    อรรถกถา สุภาสิตสูตร
    อรรถกถา สารีปุตตสูตร
    อรรถกถา ปวารณาสูตร
    อรรถกถา ปโรสหัสสสูตร
    อรรถกถา โกณฑัญญสูตร
    อรรถกถา โมคคัลลานสูตร
    อรรถกถา คัคคราสูตร
    อรรถกถา วังคีสสูตร
    วนสังยุตต์
    อรรถกถา วิเวกสูตร
    อรรถกถา อุปัฏฐานสูตร
    อรรถกถา กัสสปโคตตสูตร
    อรรถกถา สัมพหุลสูตร
    อรรถกถา อานันทสูตร
    อรรถกถา อนุรุทธสูตร
    อรรถกถา นาคทัตตสูตร
    อรรถกถา กุลฆรณีสูตร
    อรรถกถา วัชชีปุตตสูตร
    อรรถกถา สัชฌายสูตร
    อรรถกถา อโยนิโสมนสิการสูตร
    อรรถกถา มัชฌันติกสูตร
    อรรถกถา ปทุมปุปผสูตร
    ยักขสังยุตต์
    อรรถกถา อินทกสูตร
    อรรถกถา สักกสูตร
    อรรถกถา สูจิโลมสูตร
    อรรถกถา มณิภัททสูตร
    อรรถกถา สานุสูตร
    อรรถกถา ปิยังกรสูตร
    อรรถกถา ปุนัพพสุสูตร
    อรรถกถา สุทัตตสูตร
    อรรถกถา ปฐมสุกกาสูตร
    อรรถกถา ทุติยสุกกาสูตร
    อรรถกถา จีราสูตร
    อรรถกถา อาฬวกสูตร
    สักกสังยุตต์
    ปฐมวรรค
    อรรถกถา สุวีรสูตร
    อรรถกถา สุสิมสูตร
    อรรถกถา ธชัคคสูตร
    อรรถกถา เวปจิตติสูตร
    อรรถกถา สุภาสิตชยสูตร
    อรรถกถา กุลาวกสูตร
    อรรถกถา นทุพภิยสูตร
    อรรถกถา วิโรจนอสุรินทสูตร
    อรรถกถา อารัญญกสูตร
    อรรถกถา สมุททกสูตร
    ทุติยวรรค
    อรรถกถา ปฐมเทวสูตร
    อรรถกถา ทุติยเทวสูตร
    อรรถกถา ตติยเทวสูตร
    อรรถกถา ทฬิททสูตร
    อรรถกถา รามเณยยกสูตร
    อรรถกถา ยชมานสูตร
    อรรถกถา วันทนสูตร
    อรรถกถา ปฐมสักกนมัสสนสูตร
    อรรถกถา ทุติยสักกนมัสสนสูตร
    อรรถกถา ตติยสักกนมัสสนสูตร
    สักกปัญจกะ
    อรรถกถา ทุพพัณณิยสูตร
    อรรถกถา มายาสูตร
    อรรถกถา อัจจยสูตร
    อรรถกถา อักโกธสูตร
     
  2. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๘
    <SMALL>สังยุตตนิกาย นิทานวรรค
    อภิสมัยสังยุตต์
    พุทธวรรค
    อรรถกถา ปฐมปฏิจจสมุปบาทสูตร
    อรรถกถา วิภังคสูตร
    อรรถกถา ปฏิปทาสูตร
    อรรถกถา วิปัสสีสูตร
    อรรถกถา สิขีสูตร
    อาหารวรรค
    อรรถกถา อาหารสูตร
    อรรถกถา ผัคคุนสูตร
    อรรถกถา ปฐมสมณพราหมณสูตร
    อรรถกถา ทุติยสมณพราหมณสูตร
    อรรถกถา กัจจานโคตตสูตร
    อรรถกถา ธรรมกถิกสูตร
    อรรถกถา อเจลกัสสปสูตร
    อรรถกถา ติมพรุกขสูตร
    อรรถกถา พาลบัณฑิตสูตร
    อรรถกถา ปัจจยสูตร
    ทสพลวรรค
    อรรถกถา ทุติยทสพลสูตร
    อรรถกถา อุปนิสสูตร
    อรรถกถา อัญญติตถิยสูตร
    อรรถกถา ภูมิชสูตร
    อรรถกถา อุปวาณสูตร
    อรรถกถา ปฏิจจสมุปปาทสูตร
    อรรถกถา ภิกขุสูตร
    อรรถกถา ปฐมสมณพราหมณสูตร
    อรรถกถา ทุติยสมณพราหมณสูตร
    กฬารขัตติยวรรค
    อรรถกถา ภูตมิทสูตร
    อรรถกถา หฬารขัตติยสูตร
    อรรถกถา ญาณวัตถุสูตร
    อรรถกถา ทุติยญาณวัตถุสูตร
    อรรถกถา ปฐมอวิชชาปัจจยสูตร
    อรรถกถา ทุติยอวิชชาปัจจยสูตร
    อรรถกถา นตุมหสูตร
    อรรถกถา ปฐมเจตนาสูตร
    อรรถกถา ทุติยเจตนาสูตร
    อรรถกถา ตติยเจตนาสูตร
    คหบดีวรรค
    อรรถกถา ปฐมปัญจภยเวรสูตร
    อรรถกถา ทุติยปัญจเวรภยสูตร
    อรรถกถา ทุกขนิโรธสูตร
    อรรถกถา โลกนิโรธสูตร
    อรรถกถา ญาติกสูตร
    อรรถกถา อัญญาตรสูตร
    อรรถกถา ชาณุสโสณิสูตร
    อรรถกถา โลกายติกสูตร
    อรรถกถา ปฐมอริยสาวกสูตร
    อรรถกถา ทุติยอริยสาวกสูตร
    ทุกขวรรค
    อรรถกถา ปริวีมังสนสูตร
    อรรถกถา อุปาทานสูตร
    อรรถกถา ปฐมสังโยชนสูตร
    อรรถกถา ทุติยสังโยชนสูตร
    อรรถกถา ปฐมมหารุกขสูตร
    อรรถกถา ทุติยมหารุกขสูตร
    อรรถกถา ตรุณรุกขสูตร
    อรรถกถา นามรูปสูตร
    อรรถกถา วิญญาณสูตร
    อรรถกถา นิทานสูตร
    </SMALL>
     
  3. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    มหาวรรค
    อรรถกถา อัสสุตวตาสูตรที่ ๑
    อรรถกถา อัสสุตวตาสูตรที่ ๒
    อรรถกถา ปุตตมังสสูตร
    อรรถกถา อัตถิราคสูตร
    อรรถกถา นครสูตร
    อรรถกถา สัมมสสูตร
    อรรถกถา นฬกลาปิยสูตร
    อรรถกถา โกสัมพีสูตร
    อรรถกถา อุปยสูตร
    อรรถกถา สุสิมสูตร
    อรรถกถา สมณพราหมณวรรค
    อรรถกถาอันตรเปยยาล
    อภิสมยวรรค
    อรรถกถา นขสิขาสูตร
    อรรถกถา โปกขรณีสูตร
    อรรถกถา ปฐมสัมเภชอุทกสูตร
    อรรถกถา สัมเภชอุทกสูตร
    อรรถกถา ปฐมปฐวีสูตร
    อรรถกถา ทุติยปฐวีสูตร
    ธาตุสังยุตต์
    ปฐมวรรค
    อรรถกถา ธาตุสูตร
    อรรถกถา สัมผัสสสูตร
    อรรถกถา โนสัมผัสสสูตร
    อรรถกถา เวทนาสูตร
    อรรถกถา โนเวทนาสูตร
    อรรถกถา พาหิรธาตุสูตร
    อรรถกถา สัญญาสูตร
    อรรถกถา โนสัญญาสูตร
    อรรถกถา ผัสสสูตร
    อรรถกถา โนผัสสสูตร
    ทุติยวรรค
    อรรถกถา สัตติมสูตร
    อรรถกถา สนิทานสูตร
    อรรถกถา คิญชกาวสถสูตร
    อรรถกถา หีนาธิมุตติสูตร
    อรรถกถา จังกมสูตร
    อรรถกถา สตาปารัทธสูตร
    อรรถกถา ปฐมอัสสัทธมูลกสูตร
    อรรถกถา อัสสัทธมูบกสูตร
    ทสกัมมปถวรรค
    อรรถกถา อสมาทิตสูตร
    อรรถกถา ทุสสีลสูตร
    อรรถกถา ปัญจสิกขาปทสูตร
    อรรถกถา ทสกัมมปถสูตร
    อรรถกถา อัฏฐังคิกสูตร
    อรรถกถา ทสังคิกสูตร
    จตุตถวรรค
    อรรถกถา จตัสสสูตร
    อรรถกถา ปุพพสูตร
    อรรถกถา อจริสูตร
    อรรถกถา โนเจทสูตร
    อรรถกถา ทุกขสูตร
    อรรถกถา อภินันทสูตร
    อรรถกถา อุปปาทสูตร
    อนมตัคคสังยุตต์
    ปฐมวรรค
    อรรถกถา ติณกัฏฐสูตร
    อรรถกถา ปฐวีสูตร
    อรรถกถา อัสสุสูตร
    อรรถกถา ขีรสูตร
    อรรถกถา ปัพพตสูตร
    อรรถกถา สาสปสูตร
    อรรถกถา สาวกสูตร
    อรรถกถา คงคาสูตร
    อรรถกถา ทัณฑสูตร
    อรรถกถา ปุคคลสูตร
    ทุติยวรรค
    อรรถกถา ทุคตสูตร
    อรรถกถา สุขิตสูตร
    อรรถกถา ติงสมัตตาสูตร
    อรรถกถา มาตุสูตร
    อรรถกถา เวปุลลปัพพตสูตร
     
  4. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    กัสสปสังยุตต์
    อรรถกถา สันตุฏฐสูตร
    อรรถกถา อโนตตาปีสูตร
    อรรถกถา จันทูปมสูตร
    อรรถกถา กุลูปกสูตร
    อรรถกถา ชิณณสูตร
    อรรถกถา ปฐมโอวาทสูตร
    อรรถกถา ทุติยโอวาทสูตร
    อรรถกถา ตติยโอวาทสูตร
    อรรถกถา ฌานาภิญญาสูตร
    อรรถกถา ภิกขุนูปัสสยสูตร
    อรรถกถา จีวรสูตร
    อรรถกถา ปรัมมรณสูตร
    อรรถกถา สัทธรรมปฏิรูปกสูตร
    ลาภสักการสังยุตต์
    ปฐมวรรค
    อรรถกถา สุทธกสูตร
    อรรถกถา พฬิสสูตร
    อรรถกถา กุมมสูตร
    อรรถกถา เอฬกสูตร
    อรรถกถา อสนิสูตร
    อรรถกถา ทิฏฐิสูตร
    อรรถกถา สิงคาลสูตร
    อรรถกถา เวรัมภสูตร
    อรรถกถา สคัยหกสูตร
    ทุติยวรรค
    อรรถกถา สุวัณณปาติสูตร
    อรรถกถา รูปิยปาติสูตร
    อรรถกถา สุวัณณนิกขสูตร
    ตติยวรรค
    อรรถกถา มาตุคามสูตร
    อรรถกถา ชนปทกัลยาณีสูตร
    อรรถกถา ปุตตสูตร
    อรรถกถา สมณพราหมณสูตร
    อรรถกถา ฉวิสูตร
    อรรถกถา รัชชุสูตร
    อรรถกถา ภิกขุสูตร
    จตุตถวรรค
    อรรถกถา ภินทิสูตร
    อรรถกถา มูลสูตร
    อรรถกถา ปักกันตสูตร
    อรรถกถา รถสูตร
    อรรถกถา มาตุสูตร
    ราหุลสังยุตต์
    อรรถกถา จักขุสูตร
    อรรถกถา รูปสูตร
    อรรถกถา วิญญาณสูตร
    อรรถกถา สัญญาสูตร
    อรรถกถา ตัณหาสูตร
    อรรถกถา ธาตุสูตร
    อรรถกถา ขันธสูตร
    อรรถกถา อนุสยสูตร
    อรรถกถา อปคตสูตร
    ลักขณสังยุตต์
    ปฐมวรรค
    อรรถกถา อัฏฐิสูตร
    อรรถกถา เปสิสูตร
    อรรถกถา ปิณฑสูตร
    อรรถกถา นิจฉวิสูตร
    อรรถกถา อสิสูตร
    อรรถกถา อุสุสูตร
    อรรถกถา ปฐมสูจิสูตร
    อรรถกถา ทุติยสูจิสูตร
    อรรถกถา อัณฑภารีสูตร
    ทุติยวรรค
    อรรถกถา กูปนิมุคคสูตร
    อรรถกถา คูถขาทิสูตร
    อรรถกถา นิจฉวิตถีสูตร
    อรรถกถา มังคุฬิตถีสูตร
    อรรถกถา โอกิลินีสูตร
    อรรถกถา ภิกขุสูตร
    อรรถกถา ภิกขุนีสูตร
    โอปัมมสังยุตต์
    อรรถกถา กูฏาคารสูตร
    อรรถกถา นขสิขสูตร
    อรรถกถา กุลสูตร
    อรรถกถา โอกขาสูตร
    อรรถกถา สัตติสูตร
    อรรถกถา ธนุคคหสูตร
    อรรถกถา อาณีสูตร
    อรรถกถา กลิงครสูตร
    อรรถกถา นาคสูตร
    อรรถกถา วิฬารสูตร
    อรรถกถา ปฐมสิคาลสูตร
    อรรถกถา ทุติยสิคาลสูตร
    ภิกขุสังยุตต์
    อรรถกถา โกลิตสูตร
    อรรถกถา อุปติสสสูตร
    อรรถกถา ฆฏสูตร
    อรรถกถา นวสูตร
    อรรถกถา สุชาตสูตร
    อรรถกถา ภัททิยสูตร
    อรรถกถา วิสาขสูตร
    อรรถกถา นันทสูตร
    อรรถกถา ติสสสูตร
    อรรถกถา เถรนามสูตร
    อรรถกถา กัปปินสูตร
    อรรถกถา สหายสูตร
     
  5. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๙
    <SMALL>สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค
    ขันธสังยุตต์
    มูลปัณณาสก์
    นกุลปิตวรรค
    อรรถกถา นกุปิตุสูตร
    อรรถกถา เทวทหสูตร
    อรรถกถา หลิททิกานิสูตร
    อรรถกถา ทุติยหลิททิการนิสูตร
    อรรถกถา สมาธิสูตร
    อรรถกถา ปฏิสัลลานสูตร
    อรรถกถา อุปาทานปริตัสสนาสูตร ที่ ๑
    อรรถกถา อุปาทานปริตัสสนาสูตร ที่ ๒
    อรรถกถา อตีตานาคตปัจจุปันนสูตร ที่ ๑
    อรรถกถา อตีตานาคตปัจจุปันนสูตร ที่ ๓
    อนิจจวรรค
    อรรถกถา อานันทสูตร
    ภารวรรค
    อรรถกถา ภารสูตร
    อรรถกถา ปริญญาสูตร
    อรรถกถา ปริชานสูตร
    อรรถกถา ฉันทราคสูตร
    อรรถกถา อฆมูลสูตร
    อรรถกถา ปภังคุสูตร
    นตุมหากวรรค
    อรรถกถา นตุมหากสูตร ที่ ๑
    อรรถกถา นตุมหากสูตร ที่ ๒
    อรรถกถา ภิกขุสูตร ที่ ๑
    อรรถกถา ภิกขุสูตร ที่ ๒
    อรรถกถา อานันทสูตร ที่ ๑
    อรรถกถา อานันทสูตร ที่ ๒
    อรรถกถา อนุธรรมสูตร ที่ ๑
    อัตตทีปวรรค
    อรรถกถา อัตตทีปสูตร ที่ ๑
    อรรถกถา ปฏิปทาสูตร ที่ ๒
    อรรถกถา อนิจจสูตร ที่ ๑
    อรรถกถา อนิจจสูตร ที่ ๒
    อรรถกถา สมนุปัสสนาสูตร
    อรรถกถา ปัญจขันธสูตร
    อรรถกถา โสณสูตร
    อรรถกถา นันทิขยสูตร
    มัชฌิมปัณณาสก์
    อุปายวรรค
    อรรถกถา อุปายสูตร
    อรรถกถา พีชสูตร
    อรรถกถา อุทานสูตร
    อรรถกถา อุปาทานปริวัฏฏสูตร
    อรรถกถา สัตตัฏฐานสูตร
    อรรถกถา พุทธสูตร
    อรรถกถา ปัญจวัคคิยสูตร
    อรรถกถา มหาลิสูตร
    อรรถกถา อาทิตตสูตร
    อรรถกถา นิรุตติปถสูตร
    </SMALL>
     
  6. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อรหันตวรรค
    อรรถกถา อุปาทิยสูตร
    อรรถกถา มัญญมานสูตร
    อรรถกถา อภินนทมานสูตร
    อรรถกถา อนิจจสูตร
    อรรถกถา ทุกขสูตร
    อรรถกถา อนัตตนิยสูตร
    อรรถกถา รชนิยสัณฐิตสูตร
    อรรถกถา ราธสูตร
    ขัชชนิยวรรค
    อรรถกถา ขัชชนิยวรรค
    อรรถกถา อรหันตสูตรที่ ๑
    อรรถกถา อรหันตสูตรที่ ๒
    อรรถกถา สีหสูตร
    อรรถกถา ขัชชนิยสูตร
    อรรถกถา ปิณโฑลยสูตร
    อรรถกถา ปาลิเลยยสูตร
    อรรถกถา ปุณณมสูตร
    เถรวรรค
    อรรถกถา อานันทสูตร
    อรรถกถา ติสสสูตร
    อรรถกถา ยมกสูตร
    อรรถกถา อนุราธสูตร
    อรรถกถา วักกลิสูตร
    อรรถกถา อัสสชิสูตร
    อรรถกถา เขมกสูตร
    อรรถกถา ฉันนสูตร
    อรรถกถา ราหุลสูตรที่ ๑
    ปุปผวรรค
    อรรถกถา นทีสูตร
    อรรถกถา ปุปผสูตร
    อรรถกถา เผณปิณฑสูตร
    อรรถกถา โคมยปิณฑสูตร
    อรรถกถา นขสิขาสูตร
    อรรถกถา สามุททสกสูตร
    อรรถกถา คัททูลสูตรที่ ๑
    อรรถกถา คัททูลสูตรที่ ๒
    อรรถกถา นาวาสูตร
    อรรถกถา สัญญาสูตร
     
  7. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    จุลปัณณาสก์
    อันตวรรค
    อรรถกถา อันตสูตร
    อรรถกถา ทุกขสูตร
    อรรถกถา สักกายสูตร
    อรรถกถา ปริญเญยยสูตร
    อรรถกถา สมณสูตร
    ธัมมกถิกวรรค
    อรรถกถา อวิชชาสูตร
    อรรถกถา วิชชาสูตร
    อรรถกถา ธรรมกถิกสูตรที่ ๑
    อรรถกถา ธรรมกถิกสูตรที่ ๒
    อรรถกถา พันธนสูตร
    อรรถกถา ปริมุจจิตสูตร
    อรรถกถา สีลสูตร
    อรรถกถา สุตวาสูตร
    อรรถกถา กัปปสูตรที่ ๑
    อรรถกถา กัปปสูตรที่ ๒
    อรรถกถา อวิชชาวรรค
    อรรถกถา กุกกุฬวรรค
    ทิฏฐิวรรค
    อรรถกถา อัชฌัตติกสูตร
    อรรถกถา เอตังมมสูตร
    อรรถกถา เอโสอัตตสูตร
    อรรถกถา อานันทสูตร
    ราธสังยุตต์
    ปฐมวรรค
    อรรถกถา มารสูตร
    อรรถกถา สัตตสูตร
    อรรถกถา ภวเนตติสูตร
    อรรถกถา ปริญเญยยสูตร
    อรรถกถา ปฐมสมณพราหมณสูตร
    ทุติยวรรค
    อรรถกถา มารสูตร
    อรรถกถา มารธรรมสูตร
    อรรถกถา อายาจนวรรค
    อรรถกถา อุปนิสินวรรค
    ทิฏฐิสังยุตต์
    โสตาปัตติวรรค
    อรรถกถา วาตสูตร
    อรรถกถา เอตังมมสูตร
    อรรถกถา นัตถิทินนสูตร
    อรรถกถา กโรโตสูตร
    อรรถกถา เหตุสูตร
    อรรถกถา มหาทิฏฐิสูตร
    อรรถกถา อันตวาสูตร
    อรรถกถา ทุติยคมนาทิวรรค
    อรรถกถา อรูปีอัตตสูตร
    อรรถกถา รูปีจอรูปีจอัตตสูตร
    อรรถกถา เนวรูปีนารูปีอัตตาสูตร
    อรรถกถา เอกันตสุขีสูตร
    อรรถกถา เอกันตทุกขีสูตร
    อรรถกถา ตติยเปยยาล
    อรรถกถา จตุตถเปยยาล
    อรรถกถา จักขุสุตตาทิสูตร
    อรรถกถา อุปปาทสังยุต
    อรรถกถา กิเลสสังยุต
    อรรถกถา สารีปุตตสังยุต
    อรรถกถา สูจิมุขีสูตร
    อรรถกถา นาคสังยุต
    อรรถกถา สุทธกสูตร
    สุปัณณสังยุตต์
    อรรถกถา สุทธกสูตร
    อรรถกถา หรติสูตร
    คันธัพพกายสังยุตต์
    อรรถกถา สุทธกสูตร
    อรรถกถา มูลคันธทาตาสูตร
    วลาหกสังยุตต์
    อรรถกถา เทสนาสูตร
    อรรถกถา อุณหวลาหกทานูปการาทิสูตร
    อรรถกถา สีตวลาหกสูตร
    อรรถกถา อุณหวลาหกสูตร
    อรรถกถา อัพภวลาหกสูตร
    อรรถกถา วาตวลาหกสูตร
    อรรถกถา วัจฉโคตตสังยุต
    อรรถกถา สมาธิสมาปัตติสูตร
    อรรถกถา ฐิติสูตร
    อรรถกถา วุฏฐานสูตร
    อรรถกถา กัลลิสูตร
    อรรถกถา อารัมมณสูตร
    อรรถกถา โคจรสูตร
    อรรถกถา อภินีหารสูตร
    อรรถกถา สักกัจจการีสูตร
    อรรถกถา สาตัจจการีสูตร
    อรรถกถา สัปปายการีสูตร
     
  8. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๑๐
    <SMALL>สังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค</SMALL> พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๑๑
    <SMALL>สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค</SMALL> พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๑๒
    <SMALL>อังคุตตรนิกาย
    เอก-ทุก-ติกนิบาต</SMALL> พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๑๓
    <SMALL>อังคุตตรนิกาย
    จตุกกนิบาต</SMALL> พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๑๔
    <SMALL>อังคุตตรนิกาย
    ปัญจก-ฉักกนิบาต</SMALL> พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๑๕
    <SMALL>อังคุตตรนิกาย
    สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต</SMALL> พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๑๖
    <SMALL>อังคุตตรนิกาย
    ทสก-เอกาทสกนิบาต</SMALL> พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๑๗
    <SMALL>ขุททกนิกาย
    ขุททกปาฐ-ธรรมบท-
    อุทาน-อิตอวุตตก-สุตตนิบาต</SMALL> พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๑๘
    <SMALL>ขุททกนิกาย
    วิมาน-เปตวัตถุ เถระ-เถรีคาถา</SMALL> พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๑๙
    <SMALL>ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑</SMALL> พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๒๐
    <SMALL>ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๒</SMALL> เล่ม ๒๑
    <SMALL>ขุททกนิกาย มหานิทเทส</SMALL> เล่ม ๒๒
    <SMALL>ขุททกนิกาย จูฬนิทเทส</SMALL> เล่ม ๒๓
    <SMALL>ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค</SMALL> เล่ม ๒๔
    <SMALL>ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๑</SMALL> เล่ม ๒๕
    <SMALL>ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๒
    พุทธวังสะ-จริยาปิฎก</SMALL>
    http://th.wikisource.org/wiki/อรรถกถา_สัมมาทิฏฐิสูตร
     
  9. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ขอเชิญชวนทุกๆท่าน เข้าไปฟังเสียงพระธรรมเทศนากัน

    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=alt1 width="100%">[​IMG] palungjit.org

    </TD><TD class=alt2 vAlign=top noWrap>ยินดีต้อนรับ คุณ sithiphong
    คุณมาครั้งล่าสุดเมื่อ วันนี้ เวลา 07:41 AM
    ข้อความส่วนตัว: ยังไม่ได้อ่าน 0, รวม 2606.

    </TD></TR></TBODY></TABLE><!-- / breadcrumb, login, pm info --><!-- nav buttons bar -->
    <TABLE class=tborder style="BORDER-TOP-WIDTH: 0px" cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR align=middle><TD class=vbmenu_control>แผงควบคุมส่วนตัว</TD><TD class=vbmenu_control>คู่มือการใช้</TD><TD class=vbmenu_control>รายชื่อสมาชิก</TD><TD class=vbmenu_control>ปฏิทิน</TD><TD class=vbmenu_control>ข้อความใหม่</TD><TD class=vbmenu_control id=navbar_search style="CURSOR: hand" state="false" unselectable="true">ค้นหา<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("navbar_search"); </SCRIPT> [​IMG] </TD><TD class=vbmenu_control id=usercptools style="CURSOR: hand" state="false" unselectable="true">ลิงค์ที่ใช้บ่อย<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("usercptools"); </SCRIPT> [​IMG] </TD><TD class=vbmenu_control>Log out</TD></TR></TBODY></TABLE>​
    <!-- / nav buttons bar --><!--
    --><!-- NAVBAR POPUP MENUS --><!-- header quick search form --><FORM action=search.php?do=process method=post> </FORM><!-- / header quick search form --><!-- user cp tools menu -->
    <!-- / user cp tools menu --><!-- / NAVBAR POPUP MENUS --><!-- PAGENAV POPUP -->
    <!-- / PAGENAV POPUP --><TABLE id=table1 borderColor=#ffffff cellSpacing=0 width="100%" bgColor=#f7f3f7 border=4><TBODY><TR><TD vAlign=center><!-- --><CENTER></CENTER></TD></TR></TBODY></TABLE><!--TOPIC--><SCRIPT src="SpryAssets/SpryTabbedPanels.js" type=text/javascript></SCRIPT><LINK href="SpryAssets/SpryTabbedPanels.css" type=text/css rel=stylesheet><STYLE type=text/css><!--.style2 { color: #FFFFFF}.style6 { font-size: 0.8em}.style7 { font-size: 0.9em}--></STYLE><TABLE id=AutoNumber13 style="BORDER-COLLAPSE: collapse" borderColor=#111111 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top width="97%"><TABLE id=AutoNumber12 style="BORDER-COLLAPSE: collapse" borderColor=#111111 height="100%" cellSpacing=0 cellPadding=0 width="99%" border=0><TBODY><TR></TR><TR><TD></TD><TR><TD vAlign=top align=middle bgColor=#ffffff>
    • Home
    • เสียงธรรมเทศนา
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR></TBODY></TABLE>​

    หรือ
    http://palungjit.org/index.php

    โมทนาบุญกับทุกๆท่านครับ

    .
     
  10. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ปลูกข้าวย่อมได้ข้าวเสมอ
    ปลูกมะม่วงย่อมได้มะม่วงเสมอ
    ปลูกเผือกย่อมได้เผือกเสมอ
    เลี้ยงปลาช่อนย่อมได้ปลาช่อนเสมอ
    เลี้ยงไก่ย่อมได้ไก่เสมอ

    ทำดีย่อมได้ดี ทำชั่วย่อมได้ชั่ว คนอื่นไม่รู้ไม่เห็น แต่ตนเองย่อมรู้ย่อมเห็น ผลกรรมจะตามไปทุกๆที่เสมอ

    โมทนาสาธุครับ

    .
     
  11. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=thead>ขณะนี้มีคนกำลังดูกระทู้นี้อยู่ : 11 คน ( เป็นสมาชิก 5 คน และ บุคคลทั่วไป 6 คน ) </TD><TD class=thead width="14%"></TD></TR><TR><TD class=alt1 width="100%" colSpan=2>sithiphong, เสรีพิสิษฐ์, guawn+, ice_jade, nemesis_2523 </TD></TR></TBODY></TABLE>

    มากันเยอะเลยครับ

    .
     
  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    บทเรียนชีวิต พิชิต กุลเกียรติเดช "ผมมีวันนี้ได้เพราะสติ"
    http://matichon.co.th/matichon/matichon_detail.php?s_tag=01fun01231250&day=2007-12-23&sectionid=0140

    วันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 ปีที่ 30 ฉบับที่ 10879

    โดย สกุณา ประยูรศุข




    <TABLE cellSpacing=5 cellPadding=1 width="20%" align=left border=0><TBODY><TR bgColor=#f8b8cb><TD>[​IMG]

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    หลายสิบปีที่เขาเดินบนถนนแห่งความโชคร้าย ท้อแท้ และสิ้นหวัง!

    เขาพยายามจะวิ่งหนีสิ่งเหล่านั้น...แต่ทันทีที่เขาหยุดพัก ความโชคร้าย ท้อแท้

    และสิ้นหวังก็ไล่ตามมาทัน

    เขาจึงสั่งสมประสบการณ์จากความโชคร้าย ท้อแท้ และสิ้นหวังเหล่านั้น

    จนรู้ว่า...แท้จริงแล้วคนเราต้องมี "สติ"

    มี "สติ" ในการดำเนินชีวิต

    มี "สติ" รู้จักแยกแยะปัญหา-แก้ไขปัญหา

    "สติคือสิ่งที่ทำให้ผมมีวันนี้"

    เขาหมายถึงวันที่เป็นเจ้าของธุรกิจมูลค่ามากกว่า 100 ล้าน ประกอบด้วยกิจการเรือยอชต์สำราญล่องน้ำเจ้าพระยาชื่อ แกรนด์ เพิร์ล จำนวน 3 ลำ และภัตตาคารอาหารฝรั่งเศส ลา กรองด์ แปร์ ที่ริเวอร์ ซิตี้ ริมแม่น้ำเจ้าพระยา

    พิชิต ปัจจุบันอายุ 52 ปี เกิดเมื่อปี 2498 ในครอบครัวชนชั้นกลางย่านสำเหร่ กทม. พ่อแม่เปิดร้านขายของ ไม่ได้ร่ำรวยอะไร มีพี่น้องร่วมท้องเดียวกัน 7 คน เขาเป็นคนที่ 4 ความโชคร้ายเริ่มย่างกรายสู่ชีวิตเขาตั้งแต่วัยหนุ่ม

    เริ่มด้วยการติดยาเสพติดที่มาจากกลุ่มเพื่อน ต่อมาต้องติดคุกติดตะรางเพราะความเข้าใจผิด และเมื่อหันเหไปทำธุรกิจ ก็ยังถูกหลอกจนสิ้นเนื้อประดาตัว แม้แต่ภรรยาที่ร่วมทุกข์ร่วมสุขกันมายังนอกใจ

    เรื่องราวหดหู่เหล่านี้เขาผ่านมาได้อย่างไร?

    เจ้าของบทเรียนชีวิตบทนี้ขอฝากไว้เป็น..อุทาหรณ์

    - ทำไมเกิดมาโชคร้ายอย่างนี้?

    อาจเป็นเพราะชาติปางก่อนที่ทำไว้หรือเปล่าไม่รู้ เราโชคร้าย เราซวยติดคุกติดตะรางโดยที่เราไม่ได้ผิด แล้วพ่อแม่ก็ส่งไปอยู่เมืองนอก เป็นคนเดียวในครอบครัวที่ถูกส่งไป

    - ไปที่ไหน?

    ไต้หวัน-เรื่องร้ายๆ มันเริ่มจากตอนทำวงดนตรีกับเพื่อน ช่วงนั้นมียาเสพติดเข้ามาด้วยเพื่อนผมหลายคนตกเป็นทาสมัน ผมเองไม่อยากเห็นเพื่อนมีสภาพอย่างนั้น ก็จะพิสูจน์ให้เพื่อนเห็นว่าของอย่างนี้มันไม่ติดก็ได้ แต่พอพิสูจน์บ่อยครั้งขึ้นผมเลยพลัดหลงไปกับมัน

    - แล้วเรื่องติดคุก?

    มันก็บานปลายมาจากเพื่อนผมไปทะเลาะกับจิ๊กโก๋ต่างถิ่นแล้วยิงกัน ผมเห็นจิ๊กโก๋ถูกยิงต่อหน้าก็เข้าไปช่วยจะพาส่งโรงพยาบาล แต่ชาวบ้านที่ออกมาดูหาว่าผมเป็นคนยิง ผมวิ่งหนี ตอนเช้าตำรวจไปจับผมที่บ้านทั้งๆ ที่ไม่มีความผิด อยู่ที่คลองเปรม 3 เดือน ชีวิตในคุกมันหดหู่ ลำบากมาก ที่บ้านช่วยเหลือจนได้รับการปล่อยตัว วันที่ผมเดินออกจากประตูคุก ผมดีใจจนน้ำตาไหลบอกตัวเองว่า "กูจะทิ้งอดีตอันเลวร้ายไว้ที่นี่ให้หมด"

    - จากนั้นไปอยู่ไต้หวัน

    ครับ พอดีพ่อมีเพื่อนที่นั่นเป็นคนรู้จักกันก็ฝากฝังให้ดูแลเพราะเราไม่รู้จักใครเลย เขาให้ไปอยู่โรงเรียนประจำชื่อ "ฉิว ซือ" เป็นโรงเรียนของภริยาเจียง ไค เช็ค เป็นโรงเรียนที่ดีที่สุดแพงที่สุด บ้านของคนรู้จักที่นั่นเขารวยมาก แต่ให้ผมอยู่ห้องเก็บของฝุ่นคลั่ก มีที่นอนเล็กๆ และตู้เสื้อผ้าแบบรูดซิป ตอนนั้นอายุ 19 ไปอยู่ 5 ปี

    - เรียนจบไหม?

    ไม่จบ คือพอดีตอนนั้นที่บ้านเขามาทำโรงงานทอผ้ากัน ผมไม่รู้จะเรียนอะไรเลยเรียนทอผ้าดีกว่า

    ทั้งที่ตัวเองก็ไม่ได้สนใจเรื่องทอผ้าเลย ไปเรียนคณะวิศวกรรมทอผ้า ที่มหาวิทยาลัยหงเจี่ย แต่ไม่ค่อยเอาใจใส่ ชอบสนุก เที่ยวมากกว่า และชอบเอ็นเตอร์เทนสาวๆ แต่ดีที่เราได้ภาษาจีนเพราะเรียนมาตั้งแต่ 7 ขวบ

    ที่เก่งคือเขียนพู่กันจีน จะชอบมาก

    - เดี๋ยวนี้ยังเขียนได้อยู่หรือเปล่า?

    เขียนได้ครับ คิดว่าจะไปลองดูเหมือนกัน เพราะไม่ได้เขียนมาหลายสิบปีแล้ว

    - เรียนไม่จบแล้วกลับมาเมืองไทยทำอะไร?

    ที่ต้องกลับเมืองไทยเพราะผมมีภรรยา มันเป็นอุบัติเหตุบังเอิญเขาตั้งครรภ์ ผมก็ตัดสินใจว่าจะต้องทำอะไรสักอย่าง คิดว่าถ้าเรียนต่อคงไม่มีอะไร ไม่มีความสุขแน่ จะเอาเงินที่ไหนไปส่งเสียเขา แล้วเขาจะอยู่ยังไง สังคมจะมองเขายังไง เลยตัดสินใจพาเขากลับมาเมืองไทย

    ตอนแรกพ่อเขา-พ่อตาผมจะให้เอาเด็กออก ผมไม่ยอมบอกเขาว่าผมจะรับผิดชอบเอง ภรรยาผมเขาโผเข้ามากอดเลย ซาบซึ้งมาก เพราะทีแรกเขามองผมว่าเป็นคนไม่รับผิดชอบ เป็นเพลย์บอย

    - กลับมาอยู่กับพ่อแม่ตามเดิม

    ครับ ต้องอาศัยท่าน แล้วผมก็ช่วยพ่อขายของ ทำงานทุกอย่างในร้าน ตอนหลังพี่ชายไปเปิดโรงงาน แต่ผมยังช่วยพ่ออยู่ เพราะอยากสร้างผลงานให้เขาเห็นคาดว่าจะได้แบ่งสมบัติบ้าง ผมบอกพ่อว่าไม่เอาเงินเดือน

    เพราะเห็นพี่ชายบอกว่าผมใช้ไปเกือบ 2 ล้านตอนที่อยู่ไต้หวัน ผมเลยขอแค่อาศัยอยู่กิน แต่ขอให้ภรรยาผม 500 บาท เพราะจะเก็บเป็นค่าซื้อตั๋วเครื่องบินให้เขากลับไปเยี่ยมบ้าน

    ผมไปทำงานให้พี่ชายด้วย เพราะอยากได้เงินไปไต้หวันกับภรรยา พี่เองก็บอกว่าถ้าทำงานดีๆ เขาจะให้หมื่นหนึ่ง แต่เอาเข้าจริงวันที่จะไปเขาไม่ให้และยังด่าผมหยาบคาย ผมเสียใจมากร้องไห้เดินออกจากบ้าน ขึ้นแท็กซี่ไปเยาวราช เอาทองสินสอดทั้งหมดไปขายเอาเงินไปซื้อตั๋วแทน

    - กลับเมืองไทยอีกไหม?

    ผมกลับคนเดียว ภรรยาและลูกยังอยู่ที่ไต้หวัน กลับมาก็อยู่กับพี่ชายเหมือนเดิมเพราะไม่มีที่ไป ทำงานให้เขาเหมือนกรรมกร ลากข้าวสาร จนวันหนึ่งผมไม่สบาย ไปขนข้าวสาร ทีนี้ตะขอมันลื่นเกี่ยวไม่อยู่

    กระสอบข้าวสารตกพื้นแตกกระจาย พี่ชายเขาโกรธมากด่าผมเสียๆ หายๆ หยาบคายจนผมทนไม่ได้ เสียใจมาก หยิบตะขอปาใส่พี่ชายวิ่งเข้าไปต่อยกัน จากวันนั้นก็แตกกันเลย ความเป็นพี่น้องไม่มีเหลือ

    ผมโกรธแค้นพ่อแม่ไปด้วยที่ท่านใจดำกับผม

    - แล้วทีนี้ทำยังไง

    ไปของานเพื่อนทำ เป็นเซลส์แมนขายเครื่องไฟฟ้า แต่ก็ทำไม่ได้ ต้องไปเคาะตามหมู่บ้านบางทีโดนด่าพ่อด่าแม่ โดนไล่ไปให้พ้น ก็โทร.ไปปรึกษาภรรยาที่ไต้หวัน เขาบอกให้ไปสมัครเป็นไก๊ด์ที่บริษัทเพื่อนของพ่อเขาที่เมืองไทย ผมก็ไปแต่เขาไม่รับ เลยบอกว่าทำงานให้ฟรีๆ กวาดพื้น เช็ดโต๊ะ กะให้เขาเห็นใจ แต่ทำฟรีอยู่ 3 เดือน ก็ยังไม่รับเราทำงานเลย (หัวเราะ)

    ในที่สุดเจ้าของบริษัทมาบอกว่า ให้ภรรยาผมมาทำดีกว่าเพราะเขาพูดเก่ง ได้ทั้งไต้หวัน จีนกลาง ฮกเกี้ยน ผมโทร.บอกภรรยา เขาเลยพาลูกกลับมาเมืองไทยมาอยู่ด้วยกัน ผมเลยต้องอยู่บ้านเลี้ยงลูก ส่วนภรรยาไปทำงาน

    - เริ่มมีเงินมากขึ้น?

    ใช่ แต่ก็รู้สึกไม่ดีที่ภรรยาไปทำงาน เพราะหลังๆ เขาเริ่มห่างเหินไม่กลับบ้าน แล้วเขาก็ไปอยู่กับคนอื่น

    วันหนึ่งทางบริษัททัวร์เขาต้องการไก๊ด์เพิ่ม ให้ผมไปสมัคร ก็ไปทำทัวร์วัดพระแก้ว ไก๊ด์คนอื่นอธิบายเรื่องพระแก้วมรกตแค่สิบห้านาทีก็เดินออก แต่ผมเล่าตั้งแต่พระพุทธศาสนามาจากอะไร พระแก้วมรกตมาจากไหน

    คนไทยนับถือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ยังไง ทำไมต้องแขวนพระ จนทำให้ลูกทัวร์อยากได้พระเครื่องขึ้นมาบ้าง

    นั่นแหละทำให้กลายมาเป็นธุรกิจทำเงินให้กับผมมากมายมหาศาล

    คือผมไปหาหลวงปู่ที่วัดข้างบ้าน เอาพระไปให้ท่านปลุกเสกแล้วถ่ายภาพไว้ให้ลูกทัวร์ดูว่าพระนี้ผ่านกรรมวิธีปลุกเสกมีความศักดิ์สิทธิ์นะ แล้วก็บริจาคปัจจัยให้วัด ทำอยู่ 12 ปี ได้เงินราวๆ 200 ล้าน

    - ไม่รู้สึกผิด

    ผมเชื่อว่าที่ผมได้อย่างนั้น เพราะผมพูดสิ่งที่ดีๆ เกี่ยวกับพระพุทธศาสนา ทำให้คนเลื่อมใส ให้คนทำความดี สิ่งเหล่านี้คือสามัญสำนึกที่เกิดขึ้น

    - คราวนี้รวยแล้ว?

    ตอนนั้นผมอายุ 33 มีเงินสดอยู่ประมาณ 15 ล้าน และทรัพย์สินอีกมากมาย พอเริ่มมีเงิน เริ่มอยากเที่ยวมากขึ้น มาวันหนึ่งไปรู้จักคนคนหนึ่งเป็นเจ้าของไนท์คลับย่านเพลินจิต เจ้าของร้านมาทำความรู้จักกับผมแล้วเอ่ยปากขอยืมเงิน 3 แสนบาท จะให้ดอกเบี้ยผม 10% ผมก็บอกเขาว่าจะช่วย แต่ไม่เอาดอก ขอแค่เงินต้นคืน รู้จักกันสองวันเท่านั้น แต่ผมก็คิดว่าเขาคงไม่โกงเพราะมีร้านเป็นหลักฐาน แต่ที่สุดเขาก็ไม่คืน หลบหน้า

    - สูญเงิน3แสน

    ผมตามทวง เขาบอกไม่มีเงินให้ แต่ให้ผมไปร่วมหุ้นกับเขาในไนท์คลับ ผมก็คิดว่าเออ.. ถ้าไปร่วมหุ้นอาจได้เงินคืน ผิดคาด..ปรากฏว่าผมต้องจ่ายเงินไปอีก 2 ล้านกว่าบาท เพราะร้านเขาติดหนี้รวมทั้งหมด 2.9 ล้าน ผมไม่จ่ายก็ไม่ได้เพราะเขาจะไม่ให้เปิดร้าน มารู้ทีหลังว่าคนคนนี้ไม่ใช่คนดี เป็นนักการพนัน และเป็นหนี้สินเยอะมาก

    - สุดท้ายได้เงินคืนไหม?

    ไม่ได้ แต่เขาจ่ายเป็นเรือแทน แล้วมารับผมไปดู เจ้าของอยู่แถวบางนา เขายืนยันพาผมไปดูให้ได้บอกว่าซื้อไว้แล้ว 2 ล้านบาท ต้องจ่ายอีก 2 ล้าน รวมเป็น 4 ล้าน ผมก็เอาเงิน 2 ล้านให้เขาไปจะได้จบๆ แต่สุดท้ายมารู้จากเจ้าของเรือ ว่าเขาไม่ได้จ่ายแม้แต่บาทเดียว สรุปแล้วหมดไปประมาณ 6 ล้านบาท ไม่รวมมูลค่าของเรือ

    - เอามาทำเรือสำราญ

    ยั้งง..งง ทีแรกคิดว่าจะตกแต่งเอามาใช้ส่วนตัว แต่ปรากฏว่าเอาขึ้นแล้วเรือใช้การไม่ได้เลย ส่วนที่อยู่ใต้น้ำทั้งหมดใช้ไม่ได้ เครื่องก็เสีย ก็ไปหาอู่ซ่อมเป็นคนจีนด้วยกัน ปรากฏว่าไปโดนเขาหลอกอีก คือ ดึงเรือผมไว้เฉยๆ แต่ส่งบิลมาเก็บเงินกับผม 16 เดือน

    คราวนี้หมดเลยครับเงิน 15 ล้านในธนาคาร และรถเบนซ์อีก 2 คัน รวมๆ แล้ว 20 ล้าน จ่ายเป็นค่าซ่อมเรือ ผมล้มทั้งยืน ไม่มีอะไรเหลือเลย

    - แล้วรอดมาได้ยังไง

    บังเอิญวันหนึ่งผมเจอช่างใหญ่คนหนึ่งในอู่เรือนั้นนั่นแหละ เป็นช่างมีฝีมือ ตอนนั้นผมถอดใจแล้ว แต่หัวหน้าช่างคนนี้มาคุยกับผม เล่าเรื่องให้ผมฟังทั้งหมดว่าผมถูกหลอก ช่างคนนี้เขาทะเลาะกับเจ้าของอู่ เขาบอกให้ผมเอาเรือออกจากที่นี่แล้วเขาจะซ่อมให้เอง แต่ให้ผมสัญญาว่าผมต้องไม่ทิ้งเขา เขาจะเอาลูกน้องออกไปให้หมด ไปทำเรือให้ผม ผมตกลง ก็เอาเรือไปที่เจริญนคร ซอย 39 แต่ก็เหมือนหนีเสือปะจระเข้ โดนทีมนี้หลอกอีก หมดเนื้อหมดตัวเลยทีนี้

    - แล้วตอนไหนที่ดวงดีขึ้น

    มีเพื่อนเป็นลูกชายจอมพล ช่วยเจรจาให้แบงก์กรุงเทพปล่อยกู้ให้ โดยผมเอาที่ดินไปค้ำประกันได้เงินมา 10 ล้าน แต่เรือก็ยังไม่เสร็จ คราวนี้เจ้าหนี้ตามทวงเงินอุตลุด ผมต้องหลบหน้า สรุปว่าหมดเวลาไป 3 ปี หมดเงินไป 30 ล้านบาท ก็ยังไม่ได้เรือ

    ผมทุกข์ใจมากตอนนั้น หมดหนทาง เลยไปขอความช่วยเหลือจากพี่สาว เอาที่ดินที่เหลืออยู่ไปขายให้พี่สาว 8 ล้านบาท ให้เขาช่วยซื้อแล้วเอาเงินไปจ่ายหมุนหนี้

    วันหนึ่งมีเพื่อนมาหาที่บ้าน ชวนไปลาว ให้ผมขับรถไปให้ ขากลับมาแวะที่ จ.สกลนคร เพื่อนบอกให้ไปไหว้หลวงปู่มั่น บอกว่าท่านศักดิ์สิทธิ์มาก ผมก็คุกเข่าลงไปไหว้ท่าน พูดว่า "หลวงปู่ครับเรื่องสิ่งศักดิ์สิทธิ์ผมเคยเชื่อ ผมทำดีมาช่วยเหลือคนมา ทำไมผมไม่ประสบความสำเร็จ เจอแต่คนหลอกผม ทำดีไม่ได้ดี

    ถ้าหลวงปู่ศักดิ์สิทธิ์จริงขอให้ผมกลับมายืนได้ แก้ปัญหาปลดหนี้ได้เมื่อไหร่ผมจะเชื่อว่าหลวงปู่ศักดิ์สิทธิ์ แล้วผมจะกลับมาบวชแก้บน"

    - ดีขึ้นเลยทีนี้

    หลังจากกลับกรุงเทพฯ เออ..มันเหมือนกับว่าเริ่มมองเห็นทางแก้ปัญหา ก็คิดว่าเราต้องเผชิญกับมัน ไม่ใช่หลบหนี ตัดสินใจเจรจาประนอมหนี้ บอกเจ้าหนี้ทั้งหลายด้วยเหตุผลว่า ถ้าเขาให้เวลาผมหาเงินก็จะมีเงินมาใช้หนี้เขา แต่ถ้าเขาทวงอย่างนี้ จะเอาผมเข้าคุก เขาก็จะไม่ได้เงินคืน นั่นแหละครับ ทุกอย่างเริ่มคลี่คลาย

    ผมไปคุยกับเจ้าของโรงแรม ให้ผมเข้าไปทำเรือสำราญรับแขกของโรงแรม อย่ารู้ชื่อเลยอยู่ริมน้ำนี่แหละ แบ่งรายได้กัน เรือของผม อาหารเครื่องดื่มของเขา ก็พอได้กำไรขึ้นมาบ้าง แต่พอเขาเปลี่ยนจีเอ็มคนใหม่เขาไม่เอาผม เขาจะทำเอง ผมเลยออกมาหาร้านริมน้ำทำเอง เป็นก้าวสำคัญที่ผมคิดหนักที่สุด ผมตัดสินใจออกมา พอออกมาผมประสบความสำเร็จเลย ภายใน 1 ปี ผมได้ตลาดมาทั้งหมด 50% ของนักท่องเที่ยวญี่ปุ่น อเมริกัน และยุโรป

    บุคคลสำคัญๆ ก็ทัวร์เรือผม มาร์กาเร็ต แทตเชอร์, วลาดิเมียร์ ปูติน, เมกาวาตี บุตโต, กษัตริย์สวีเดน

    - ทำไมใช้ชื่อเพิร์ล ออฟ สยาม

    ตอนแรกเป็นชื่อนี้ แต่เดี๋ยวนี้ปลดระวางหมดแล้ว เป็น แกรนด์ เพิร์ล 1-2-3 เพราะเรือนี่เป็นคำศัพท์ที่ใช้เฉพาะผู้หญิง แล้วไข่มุกเป็นของล้ำค่าสำหรับสุภาพสตรี เลยตั้งชื่อเป็นไข่มุกแห่งสยาม จากลำเล็กเป็นลำใหญ่เบ้อเริ่ม ก็เปลี่ยนชื่อเป็นแกรนด์ เพิร์ล

    - ตอนนี้เหลือหนี้เท่าไหร่?

    ประมาณ 30 กว่าล้าน

    มรสุมที่เกิดกับผมหนักหนาพอสมควร แต่ผมก็คิดว่ายังมีคนอื่นที่หนักกว่า ผมอยากให้ทุกคนมีสติ เพราะการมีสติจะทำให้เราคิดออก จากหนักให้เป็นเบาก่อน แล้วค่อยๆ ดีขึ้นทีละขั้น ทีละตอน เพราะมันต้องใช้เวลา ต้องลำบาก

    ตอนนั้นผมแค้นใจว่าทำไมต้องถูกคนโน้นหลอก คนนี้หลอก แต่มาวันนี้เมื่อคิดย้อนกลับไป ผมต้องขอบคุณคนพวกนั้น ที่เขามาหลอกผม ไม่อย่างนั้นผมก็ไม่มีวันนี้ และคนแบบนั้นเขาไม่หลอกเราคนเดียว เขาหลอกไปทั่ว ถึงยังไงๆ เขาก็ได้รับกรรม

    - ฝากไว้เป็นบทเรียน

    ครับ ผมว่าทุกปัญหาแก้ไขได้ ถ้ามีปัญหาอย่าคิดสั้นกับตัวเอง เพราะเป็นสิ่งที่ไม่ดีมากๆ ขอให้ต่อสู้ต่อไป โลกใบนี้ไม่ได้โหดร้ายอย่างที่คิด การคิดสั้นเป็นการคิดที่ผิด ขอให้คิดว่าเวลาและโอกาสยังมาไม่ถึง เราอาจจะลำบาก โชคชะตาคนเราบทจะแย่ก็แย่ซ้ำซ้อน มาถี่ๆ มาเรื่อยๆ แต่บทจะดีมันก็ดีขึ้นเรื่อยๆ ถ้าเราคิดสั้นเสียก่อนก็จะตัดโอกาสเราไป

    ถ้าเรามีความอดทน และทำให้ดีที่สุด ความดีของเราจะสนองตอบแทนเรา

    ผมเชื่อมั่นในการทำความดี
     
  13. narongwate

    narongwate เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2007
    โพสต์:
    885
    ค่าพลัง:
    +3,840
    บุญกิริยาวัตถุ

    บุญกิริยาวัตถุ

    เมื่อได้ยินคำว่า บุญ เวลานี้ผู้คนทั้งหลายแทบจะลืมเลือนความหมายที่แท้จริงของมันไป ที่แย่ยิ่งกว่านั้น คนจำนวนมากไม่เชื่อด้วยซ้ำว่าบุญมีจริง จึงไม่ใส่ใจในการประพฤติดี ขณะเดียวกันยังมีผู้คนอีกจำนวนหนึ่งอาศัยความไม่เข้าใจในเรื่องบุญของผู้คนเป็นเครื่องมือทำมาหากิน ซ้ำเติมกันเข้าไปอีก วันนี้จึงขอโอกาสแลกเปลี่ยนความรู้ความเห็นเกี่ยวกับเรื่องบุญ ตามประสบการณ์จริง และการเรียนรู้จากครูบาอาจารย์มาเล่าสู่กันฟัง
    บุญคือเครื่องยังให้เกิดความสำเร็จ มีคุณลักษณะที่เอิบอาบ ชุ่มชื่น สงบ สันติและ ฉลาด บุญทำให้บุคคลธรรมดา ๆ กลายเป็นพระโพธิสัตว์ พระพุทธเจ้า พระราชาได้ บุญมีลักษณะที่เป็นพลังงาน แต่คงไม่สามารถเขียนออกมาเป็นสมการคณิตศาสตร์ได้ กระนั้นก็ดี เราสามารถรับรู้ทราบถึงพลังงานแห่งบุญได้ เช่น ผู้มีบุญ ผู้ใจบุญ ถ้าอยู่ใกล้ใคร เขาก็จะให้พลังที่สงบสุข และสันติต่อผู้อยู่ใกล้

    บุญมีกรรมเป็นผู้ควบคุม มีกรรมเป็นนาย บุญมีลักษณะพิเศษอีกแบบหนึ่ง คือน้ำท่วมไม่หาย ไฟไหม้ไม่หมด โจรปล้นไม่ได้

    พระพุทธเจ้าสอนให้พวกเราทำบุญ 10 อย่าง
    1.ให้ทาน
    2.รักษาศีล
    3.เจริญภาวนา
    4.แผ่เมตตา
    5.ฟังธรรม
    6.ทำหน้าที่ของพ่อแม่ ลูก และหน้าที่อื่น ๆตามสถานภาพ
    7.อ่อนน้อมถ่อมตน
    8.ยินดีเมื่อเห็นคนอื่นทำดี(อนุโมทนา)
    9.ปฏิบัติธรรม
    10.ทำความเห็นของตนให้ตรง และถูกต้อง

    1. ทาน พระพุทธเจ้าสอนให้ทำทานมีความมุ่งหมาย 2 ประการ คือ
    1.1. เป็นเครื่องมือที่จะลดความตระหนี่ เป็นเครื่องลดความยึดมั่นถือมั่น ซึ่งถ้าไม่ซ้อมที่จะลดความยึดมั่นถือมั่นไว้ ชีวิตหลังความตายย่อมผูกอยู่กับสิ่งที่ยึดถือนั้น
    1.2. เป็นเครื่องสร้างสัมพันธภาพกับสรรพสิ่งรอบ ๆตัวเรา ทั้งที่มองเห็นและไม่เห็น
    ทาน แบ่งเป็นหมวดต่าง ๆได้แก่
    ก. วัตถุทาน ได้แก่ทรัพย์สินเงินทอง เสื้อผ้าอาหาร รวมถึงวัตถุธาตุทุกชนิด จัดเป็นทานขั้นต่ำสุด
    ข. ทานจากการบริจาคอวัยวะ เลือดเนื้อ เป็นทานที่สูงขึ้นมาอีกขั้น
    ค. อภัยทาน เป็นทานที่สูงขึ้นมาอีก
    ง. ธรรมทาน จัดเป็นทานขั้นสูงสุด มีคำกล่าวว่า สัพพะทานัง ธัมมะทานัง ชินาติ การให้ธรรมเป็นทาน ชนะการให้ทั้งปวง หรือแม้การสนับสนุนให้ผู้อื่นแสดงธรรมก็ถือว่าได้ร่วมในธรรมทานเช่นกัน


    ในเรื่องผลของทานนี้จะเกิดมากน้อยมีปัจจัยควรพิจารณาหลายประการ

    1. ผู้รับ ผู้รับที่มีความดีมาก หรือมีความบริสุทธิ์มากย่อมเป็นเนื้อนาบุญอันดี ทำน้อย ได้ผลมาก เช่น พระอรหันต์ บิดามารดา ซึ่งมักให้ผลมากและทันที ผู้ทรงฌาณ ผู้ทรงศีล 227 ผู้ถือศีล 8 ผู้ทรงศีล 5 ผู้ไม่มีศีล สัตว์เดรัจฉาน ตามลำดับ
    2. ผู้ให้ ผลของทานเกิดขึ้นเรียงตามลำดับชั้นแบบเดียวกัน คือผู้ให้ที่มีศีลมาก ทำทานย่อมมีผลมากกว่าผู้มีศีลน้อยกว่า
    3. วัตถุทานที่นำมาเป็นทาน มีข้อพิจารณา คือ
    3.1 ความบริสุทธิ์ของการได้มา เงินที่โกงมาทำบุญย่อมไม่ได้บุญสักเท่าไร
    3.2 ความจำเป็นของผู้รับทานนั้น เช่นถวายผ้าผืนแรกแก่พระภิกษุ ผ้าผืนนี้ย่อมได้อานิสงส์มากกว่าผืนที่สอง หรือถวายอาหารมื้อแรกแก่พระผู้ออกจากนิโรธสมาบัตินับเป็นมหาทาน
    3.3 ความสำคัญของวัตถุนั้นต่อผู้ให้ ถ้าสิ่งนั้นยิ่งสำคัญต่อเจ้าของมากเมื่อสละให้ได้ ย่อมเกิดกุศลมาก

    2. การรักษาศีล ศีล แปลว่า สภาวะปกติ แล้วแต่ว่าปกติของผู้ใด จะเป็นของผู้ใดก็ตามข้อกำหนดกติกานั้นต้องไม่ทำให้ตนเองและผู้อื่นเดือดร้อน เช่น ศีล 5 สำหรับความเป็นมนุษย์ ศีล 8 สำหรับผู้ถือบวชเบื้องต้น ศีล 227 สำหรับพระภิกษุ อริยะกันตะศีล เป็นศีลที่พระอริยะเจ้าชอบใจ
    ศีลนั้นเป็นบุญอย่างไร ยกประเด็นง่าย ๆ แต่ละข้อ เช่นผู้ไม่ละเมิดศีล 5ข้อ 1 เรื่องการฆ่า หรือทำร้ายชีวิตอื่นและตนเองย่อมเป็นผู้มีร่างกายดี สุขภาพใจดี มีอายุยืนยาว ไม่ถูกอาฆาตปองร้าย ผู้ไม่ละเมิดศีล ข้อ 2 ข้อว่าลักทรัพย์ และ ข้อ 4.ข้อที่ว่าด้วยเรื่องวาจา ย่อมเป็นที่เชื่อถือ เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป แม้จะทำการค้าขายก็ย่อมได้เครดิตดี ผู้ไม่ละเมิดศีลข้อ 3.ข้อว่าการผิดต่อบุตร ภรรยา ผู้อื่น ย่อมไม่เป็นที่หวาดระแวง เกลียดชังของสังคมรอบข้าง ส่วนผู้ไม่ละเมิดศีลข้อ 5ว่าด้วยเรื่องสุรา และยาเสพติด และยังหมายรวมถึงการเสพสิ่งมึนเมาอื่น ๆ ย่อมเป็นผู้ที่มีร่างกาย ไม่ถูกเบียดเบียนจากโรค ทรัพย์ไม่ถูกเบียดเบียน ที่สำคัญ สติ และปัญญาย่อมบริบูรณ์อยู่ตามสภาพที่มันเป็น โอกาสทำผิดพลาดย่อมน้อยลง เหล่านี้ย่อมเป็นผลบุญที่เกิดกับผู้ถือศีล แม้กระทั่งในตอนท้ายบทให้ศีลของพระ ยังยืนยันว่า ศีลทำให้เกิดโภคทรัพย์ ศีลทำให้สู่สุขคติ และศีลเป็นเครื่องมือสู่พระนิพพาน

    3. เจริญภาวนา การเจริญภาวนาเป็นบุญอย่างไร คำตอบคือเมื่อเจริญภาวนา ด้วยความตั้งใจ แล้วจิตเข้าถึงภาวะที่ฉลาด สว่าง สะอาด สงบ นั่นคือบุญที่เกิดกับจิตเช่นกัน จะสังเกตเห็นว่า ภาวะจิตที่เป็นบุญนั้นจะเหมือนกัน คือมีความสงบเป็นพื้น และความสงบสุขลักษณะนี้จะเป็นสุขที่ยั่งยืน เพราะเป็นสุขที่ไม่อิงอามิส ไม่พึ่งวัตถุ

    4. แผ่เมตตา การแผ่เมตตาเป็นบุญอย่างไร หลายท่านคงมีประสบการณ์ในการแผ่เมตตา ไม่มากก็น้อย หลังจากได้ทำทาน หรือหลังจากสวดมนต์ และหลายท่านอาจไม่ทราบได้ว่าที่ทำนั้น ทำไปเพื่ออะไร การแผ่เมตตาหรือการอุทิศส่วนกุศลนั้น เป็นบุญเพราะเราได้แบ่งบุญของเราซึ่งได้มายาก ทำได้ยาก ให้แก่ผู้อื่น เป็นการให้อีกรูปแบบหนึ่ง เป็นกระบวนการ ทำทาน ได้บุญแล้วเอาบุญไปแจกต่อ ถามว่าเช่นนี้บุญที่เราอุตส่าห์ทำมาจะน้อยลงหรือไม่ คำตอบคือไม่ และนอกจากบุญส่วนเดิมไม่น้อยลงแล้ว ยังได้ตอบแทนต่อสรรพสัตว์ ญาติของตน เทวดาฟ้าดิน และอื่น ๆ อีกมากมายที่เรามองเห็นและไม่เห็น เมื่อเทวดา และสรรพสัตว์เหล่านี้ มาเวียนเกิดเวียนตายเกี่ยวเนื่องกับเรา เราผู้เคยเป็นผู้ให้ย่อมได้รับผลตอบแทนทางดีเสมอ ผลก็คือได้บุญ 2 ต่อนั่นเอง
    การแผ่เมตตาที่ได้บุญมากคือมีอานิสงส์มากได้แก่การแผ่เมตตาไปโดยไม่ประมาณ กล่าวคือผู้รับมีจำนวนมาก ส่วนการแผ่เมตตาอย่างเฉพาะเจาะจง เช่นต่อญาติ ผู้ใหญ่ มิตรสหาย นั่นก็นับว่าดีอยู่ แต่บุญที่ผู้ให้จะได้จะไม่มากเท่ากับการแผ่เมตตาโดยมิประมาณ
    ส่วนผลต่อจิตของผู้ทำ ย่อมนำมาซึ่งความปล่อยวาง นำมาซึ่งเมตตาธรรมในดวงจิต และนำมาซึ่งกุศลจิตคือจิตที่ฉลาด สะอาด สว่าง ของผู้ทำ โดยเฉพาะผู้ที่แผ่เมตตาให้แก่ทุกคนแม้แต่ศัตรู อย่างจริงใจ ไม่เสแสร้ง ย่อมมีอานิสงส์ให้จิตนั้นมีความสะอาด ฉลาด เป็นจิตที่เป็นกุศลมากมหาศาล ตรงกับคำสอนของศาสนาคริสต์ซึ่งสอนให้อภัยต่อศัตรู (อย่างจริงใจ)
    ปริมาณอานิสงส์ของการแผ่เมตตานั้นมีกล่าวไว้ในพระไตรปิฎกว่าผู้ที่เจริญเมตตาแม้ชั่วงูแลบลิ้น มีอานิสงส์มากกว่าสร้างพระมหาเจดีย์เสียอีก (แต่ต้องเป็นเมตตาจิตอย่างจริงใจ) ผู้เจริญเมตตาก่อนตายย่อมไปเกิดในที่ดี เกิดท่ามกลางกัลยาณชน เกิดเป็นผู้มีทรัพย์ มีปัญญา แต่การที่จะเป็นผู้เจริญเมตตาก่อนตายได้ ต้องเป็นผู้ที่ได้ทำสิ่งนี้บ่อยๆ ครั้ง มิใช่นาน ๆ ทำที
    ตัวอย่างของคำแผ่เมตตา
     
  14. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

    (เปลี่ยนทางมาจาก สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์)
    ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา
    <!-- start content -->สมเด็จพระมหาสมณเจ้าเจ้ากรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ทรงเป็นสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 8 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ประทับอยู่ ณ วัดบวรนิเวศวิหาร ได้รับมหาสมณุตมาภิเษก เมื่อ ปี พ.ศ. 2434 เมื่อพระชนมายุได้ 82 พรรษา เป็นพระมหาสมณเจ้า ฯ ได้ 10 เดือน ก็สิ้นพระชนมเมื่อปี พ.ศ. 2435 พระชมมายุได้ 83 พรรษา
    เมื่อสมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระปรมานุชิตชิโนรสสิ้นพระชนม์ เมื่อปี พ.ศ. 2396 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ มิได้ทรงสถาปนาพระเถระรูปใด ขึ้นเป็นสมเด็จพระสังฆราช อีกจนตลอดรัชกาล เป็นเวลา 15 ปี ในระหว่างนั้น สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศ ฯ ทรงดำรงพระอิศริยยศ เป็น พระจ้าวรวงศ์เธอกรมหมื่นบวรรังษีสุริยพันธุ์ ทรงดำรงสมณฐานันดร เป็นที่สองรองจากสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส
    เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า ฯ ขึ้นครองราชย์ ก็ยังมิได้ทรงสถาปนาพระเถระรูปใดเป็นสมเด็จพระสังฆราช เป็นระยะเวลาถึง 23 ปี จึงได้ทรงสถาปนาสมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาปวเรศฯ ขณะดำรงพระอิศริยยศเป็น พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระ เป็นสมเด็จพระสังฆราช
    สมเด็จพระมหาสมณเจ้า ฯ เป็นพระราชโอรสในสมเด็จกรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ์ ประสูติปี พ.ศ. 2352 เมื่อพระชนมายุได้ 13 พรรษา ได้ทรงผนวชเป็นสามเณร ณ วัดมหาธาตุ ฯ ทรงผนวชเป็นพระภิกษุ เมื่อปี พ.ศ. 2372 ได้ศึกษาพระปริยัติธรรมในสำนักพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า ฯ ณ สำนักวัดมหาธาตุ ฯ ทรงแตกฉานในภาษาบาลี พระนิพนธ์ที่แสดงให้เห็นถึงพระปรีชาสามารถในภาษาบาลีคือ พระนิพนธ์เรื่อง สุคตวิทัตถิวิธาน ซึ่งทรงนิพนธ์เป็นภาษาบาลี นอกจากนี้ยังได้ทรงนิพนธ์เรื่องเบ็ดเตล็ดอื่น ๆ เป็นภาษาบาลีอีกหลายเรื่อง นับว่าพระองค์ทรงเป็นปราชญ์ทางภาษาบาลี ที่สำคัญพระองค์หนึ่ง ทรงเป็นพระราชาคณะ มีสมณศักดิ์เสมอพระราชาคณะสามัญ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า ฯ เมื่อปี พ.ศ. 2394 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า ฯ ได้ทรงสถาปนา พระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าฤกษ์ เป็นกรมหมื่นบวรรังษีสุริยพันธุ์ ทรงอิศริยยศเป็นประธานาธิบดีแห่งพระสงฆ์ธรรมยุตินิกาย นับว่าทรงเป็นเจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุติพระองค์แรก ทรงดำรงสมณฐานันดรเป็นที่สอง รองจากสมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระปรมานุชิตชิโนรส ซึ่งทรงดำรงตำแหน่งสมเด็จ พระมหาสังฆปรินายก คือ สมเด็จพระสังฆราช
    เมื่อปี พ.ศ. 2416 ทรงเป็นพระราชอุปัธยาจารย์ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า ฯ ซึ่งในปีเดียวกันนี้ ทรงได้รับโปรดเกล้า ฯ ให้เป็นสมเด็จพระเจ้าบรมวงเธอกรมพระปวเรศวริยาลงกรณ์ การที่เลื่อนพระอิศริยยศครั้งนี้ แม้ว่าพระองค์จะไม่ทรงรับถวาย มหาสมณุตมาภิเษกในที่สมเด็จพระสังฆราช แต่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า ฯ ก็ถวายพระเกียรติยศในทางสมณศักดิ์สูงสุด เท่ากับทรงเป็นสมเด็จพระสังฆราช
    สมเด็จพระมหาสมณเจ้า ฯ ทรงรับถวายมหาสมณุตมาภิเษก ในปี พ.ศ. 2438 เมื่อพระชนมายุได้ 82 พรรษา ด้วยเหตุผลที่ว่า เจ้านายชั้นเดียวกันสิ้นพระชนม์แล้วทั้งสิ้น มีเจ้านายผู้ใหญ่เจริญพระชนมายุเหลืออยู่แต่พระองค์เพียงพระองค์เดียว
    สมเด็จพระมหาสมณเจ้า ฯ นอกจากจะเป็นปราชญ์ทางภาษาบาลีแล้ว ยังทรงมีพระปรีชาสามารถ ในด้านต่าง ๆ พอประมวลได้ดังนี้ คือ
    ด้านสถาปัตยกรรม ทรง ออกแบบพระปฐมเจดีย์ องค์ที่เป็นอยู่ปัจจุบัน เมื่อปี พ.ศ. 2396
    ด้านโบราณคดี ทรงเป็นนักอ่านศิลาจารึกรุ่นแรกของไทยได้ศึกษาและรวบรวมจารึกต่าง ๆ ในประเทศไทยไว้มาก และได้ ทรงอ่านจารึกสุโขทัยหลักที่ 2 ที่เป็นอักษรขอม เป็นพระองค์แรก
    ด้านประวัติศาสตร์ ทรงนิพนธ์ลิลิตพงศาวดารเหนือ เรื่องพระปฐมเจดีย์ และพระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า ฯ เป็นต้น
    ด้านดาราศาสตร์ ทรงพระนิพนธ์ ตำราปักขคณนา (คำนวนปฏิทินทางจันทรคติ) ไว้อย่างพิสดาร
    ด้านวิทยาศาสตร์ ทรงบันทึกจำนวนฝนตกเป็นรายวัน ติดต่อกันเป็นเวลาถึง 45 ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2389 ถึงปี พ.ศ. 2433 เพื่อเป็นการเก็บสถิติน้ำฝนในประเทศไทย เรียกบันทึกนี้ว่า จดหมายเหตุบัญชีน้ำฝน
    ด้านกวี ทรงพระนิพนธ์เรื่องต่าง ๆ ทั้งที่เป็นภาษาไทยและภาษาบาลี ไว้เป็นจำนวนมาก ที่เป็นภาษาไทย ทรงนิพนธ์ไว้จำนวนมาก เช่น ได้ลงพระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า ฯ กาพย์เสด็จนครศรีธรรมราช ลิลิตพงศาวดารเหนือ เป็นต้น
    ทรงให้กำเนิดพระกริ่งในประเทศไทย ทรงสร้างพระกริ่งที่เรียกกันว่า พระกริ่งปวเรศ ซึ่งเป็นต้นแบบของพระกริ่ง ในยุคต่อมาของไทย
    ด้านพระศาสนา ทรงเป็นองค์ประธานชำระและแปลพระไตรปิฎก พิมพ์พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทยขึ้นเป็นครั้งแรก ทรงกำหนดพระราชบัญญัติ และประกาศคณะสงฆ์ต่าง ๆ

    บทความนี้ นำข้อความบางส่วนมาจากเว็บไซต์หรือสื่ออื่น หอมรดกไทย ซึ่งเจ้าของเว็บไซต์หรือสื่อดังกล่าว อนุญาตให้เผยแพร่ต่อได้ โดยไม่สงวนลิขสิทธิ์
    <TABLE class=toccolours style="MARGIN: 0px auto; BORDER-COLLAPSE: collapse" cellSpacing=0 cellPadding=4 border=1><TBODY><TR style="TEXT-ALIGN: center"><TD width="30%">สมัยก่อนหน้า:
    สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระปรมานุชิตชิโนรส
    </TD><TD style="TEXT-ALIGN: center" width="40%">พระสังฆราช <SMALL>(สมัยที่ {{{สมัยที่}}})</SMALL>
    พ.ศ. 2434-พ.ศ. 2435
    </TD><TD width="30%">สมัยถัดไป:
    สมเด็จพระสังฆราช (สา ปุสฺสเทโว)
    </TD></TR></TBODY></TABLE><!-- Pre-expand include size: 4431/2048000 bytesPost-expand include size: 1586/2048000 bytesTemplate argument size: 423/2048000 bytes#ifexist count: 0/500--><!-- Saved in parser cache with key thwiki:pcache:idhash:6105-0!1!0!!th!2 and timestamp 20071224093811 -->ดึงข้อมูลจาก "http://th.wikipedia.org/wiki/สมเด็จพระมหาสมณเจ้า_กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์".
    หมวดหมู่: บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2352 | บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2435 | พระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ | สมเด็จพระสังฆราชเจ้า
     
  15. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=2 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=maintitle vAlign=top>พระองค์ที่ ๘ : สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์</TD></TR></TBODY></TABLE>

    http://www.dhammajak.net/board/viewtopic.php?t=13428

    กุหลาบสีชา ผู้โพส

    [​IMG]

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="94%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=postbody vAlign=top>พระประวัติและปฏิปทา
    สมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ ๘ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์
    สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์
    (พระองค์เจ้าฤกษ์) พ.ศ. ๒๓๙๖-๒๔๓๕

    วัดบวรนิเวศวิหาร ราชวรวิหาร
    แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร


    นับแต่ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส
    สิ้นพระชนม์ เมื่อปี พ.ศ. ๒๓๙๖ ในรัชกาลที่ ๔ แล้ว
    พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมิได้ทรงสถาปนาพระเถระรูปใด
    เป็นสมเด็จพระสังฆราชอีกจนตลอดรัชกาล เป็นเวลา ๑๕ ปี

    ฉะนั้น ในรัชกาลที่ ๔ จึงว่างสมเด็จพระสังฆราชจนเกือบตลอดรัชกาล
    เพราะสมเด็จฯ กรมพระยาปรมานุชิตชิโนรส
    ทรงดำรงตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราชอยู่เพียงปีเศษตอนต้นรัชกาลเท่านั้น

    เมื่อ สมเด็จฯ กรมพระยาปรมานุชิตชิโนรส
    ทรงดำรงตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราชนั้น
    สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์
    ทรงดำรงพระอิศริยยศเป็น พระเจ้าวรวงศ์เธอกรมหมื่นบวรรังษีสุริยพันธุ์
    ทรงดำรงสมณฐานันดรเป็นที่สองจาก สมเด็จฯ กรมพระปรมานุชิตชิโนรส
    มาในรัชกาลที่ ๕ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวก็มิได้โปรดเกล้าฯ
    สถาปนาพระเถระรูปใดเป็นสมเด็จพระสังฆราช
    ตลอดช่วงต้นแห่งรัชกาล เป็นเวลาถึง ๒๓ ปี

    ฉะนั้น ในช่วงต้นรัชกาลที่ ๕ จึงว่างสมเด็จพระสังฆราชอยู่ถึง ๒๓ ปี
    จึงได้ทรงสถาปนา สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์
    ขณะทรงดำรงพระอิศริยยศเป็น พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระ
    เป็นสมเด็จพระสังฆราช นับเป็นพระองค์ที่ ๘ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์


    พระประวัติในเบื้องต้น

    สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์
    เป็นพระราชโอรสใน สมเด็จกรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ์
    และเจ้าจอมมารดาน้อยเล็ก ประสูติเมื่อวันจันทร์ เดือน ๕ ขึ้น ๗ ค่ำ
    ปีมะเส็ง พุทธศักราช ๒๓๕๒ ตรงกับวันที่ ๑๔ กันยายน พุทธศักราช ๒๓๕๒
    อันเป็นวันเริ่มสวดมนต์ ตั้งพระราชพิธีบรมราชาภิเษก
    พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒
    จึงได้พระราชทานนามว่า
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="94%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=postbody vAlign=top>[​IMG]

    รัชกาลที่ ๕ ขณะทรงผนวชเป็นพระภิกษุ เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๑๖


    ทรงเป็นพระราชอุปัธยาจารย์

    พ.ศ. ๒๔๑๖ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕
    ทรงผนวชเป็นพระภิกษุ ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม
    สมเด็จฯ กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ขณะทรงพระอิศริยยศ
    เป็นกรมหมื่นบวรรังษี สุริยพันธุ์ ทรงเป็นพระราชอุปัธยาจารย์
    สมเด็จพระสังฆราช (สา ปุสฺสเทโว) ขณะทรงดำรงสมณศักดิ์ที่
    พระสาสนโสภณ เป็นพระราชกรรมวาจาจารย์
    เมื่อทรงผนวชแล้ว เสด็จประทับที่พระพุทธรัตนสถานมนทิราราม
    ในพระบรมมหาราชวังชั้นใน
    โดยทรงเชิญเสด็จ สมเด็จฯ กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์
    และนิมนต์พระราชาคณะผู้ใหญ่ต่างวัดเข้าไปอยู่ด้วยพอครบคณะสงฆ์
    ทรงผนวชอยู่ ๑๕ วันก็ทรงลาผนวช

    หลังจากเสด็จออกทรงผนวชเป็นพระภิกษุแล้ว
    พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชปรารภ
    ที่จะถวายมหาสมณุตมาภิเษกพระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นบวรรังษี สุริยพันธุ์
    ในตำแหน่งที่สมเด็จพระสังฆราช
    แต่สมเด็จมหาสมณเจ้าฯ พระองค์นั้นไม่ทรงรับ
    ทรงถ่อมพระองค์อยู่ว่า เป็นพระองค์เจ้าในพระราชวังบวรฯ
    จักข้ามเจ้านายที่เป็นพระเจ้าบรมวงศ์เธอทั้งทรงเจริญพระชนมายุกว่าก็มี
    จักเป็นที่ทรงรังเกียจของท่าน จึงทรงรับเลื่อนเพียงเป็นกรมพระ
    เสมอด้วยเจ้านายชั้นผู้ใหญ่ในชั้นเท่านั้น
    จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนพระอิสริยยศเป็น
    สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระปวเรศวริยาลงกรณ์ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๑๖

    การที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเลื่อนพระอิศริยยศ
    พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระปวเรศวริยาลงกรณ์ ครั้งนี้
    แม้ว่าพระองค์จะไม่รับถวายมหาสมณุตมาภิเษก ในที่สมเด็จพระสังฆราช
    แต่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
    ก็ถวายพระเกียรติยศในทางสมณศักดิ์สูงสุดเท่ากับทรงเป็นสมเด็จพระสังฆราช
    ดังปรากฏในคำประกาศเลื่อนกรมว่า

    “สมควรเป็นสังฆปรินายกประธานาธิบดี มีสมณศักดิ์อิศริยยศ
    ใหญ่ยิ่งกว่าบรรดาสงฆ์บรรพสัชทั้งปวงในฝ่ายพุทธจักร”


    ฉะนั้น ในช่วงต้นรัชกาลมาจนถึง พ.ศ. ๒๔๓๔
    เป็นเวลา ๒๓ ปี จึงว่างสมเด็จพระสังฆราช


    ทรงรับมหาสมณุตมาภิเษก

    พ.ศ. ๒๔๓๔ อันเป็นบั้นปลายแห่งพระชนม์ชีพ
    แห่งสมเด็จพระมหาสมณเจ้าพระองค์นั้น
    พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
    จึงทรงถวายมหาสมณุตมาภิเษก
    ขณะเมื่อทรงรับถวายมหาสมณุตมาภิเษกนั้น
    สมเด็จพระมหาสมณเจ้าฯ ทรงเจริญพระชนมายุถึง ๘๒ พรรษาแล้ว
    มาในคราวนี้ ทรงยอมรับถวายมหาสมณุตมาภิเษก
    เพราะเจ้านายชั้นเดียวกันสิ้นพระชนม์แล้วทั้งสิ้น
    มีเจ้านายผู้ใหญ่เจริญพระชนมายุเหลืออยู่แต่พระองค์เพียงพระองค์เดียว

    [​IMG]
    สมเด็จฯ กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์


    การพระราชพิธีมหาสมณุตมาภิเษก
    (ของเดิมเขียน มหาสมณุตมาภิเศก)

    ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งพระราชพิธีสงฆ์ในพระอุโบสถวัดบวรนิเวศวิหาร
    มีเทียนชัยและเตียงพระสวดภาณวารตั้งพระแท่นเศวตฉัตร
    ในนั้น ตั้งพระแท่นสรงที่ศาลากำแพงแก้ว
    โรงพิธีพราหมณ์ตั้งริมคูนอกกำแพงบริเวณนั้นออกมา
    มีสวดมนต์ตั้งน้ำวงด้ายวัน ๑ พระสงฆ์ ๒๐ รูป
    รุ่งเช้าจุดเทียนชัยสมเด็จพระมหาสมณเจ้าพระองค์นั้น
    โปรดเกล้าฯ ให้กรมหมื่นวชิรญาณวโรรสทรงจุด
    พระสงฆ์เข้าพระราชพิธี ๓๐ รูป สวดมนต์ ๓ เวลาและสวดภาณวาร ๓ วัน ๓ คืน
    เช้าวันที่ ๒๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๓๔ สรงแล้ว เสด็จขึ้นพระแท่นเศวตรฉัตร
    มีประกาศกระแสพระบรมราชโองการทรงสถาปนาแล้ว
    ทรงรับพระสุพรรณบัฏ เครื่องยศ ดอกไม้ธูปเทียนและต้นไม้ทองเงินของหลวงแล้ว
    ทรงถวายศีล เป็นเสร็จการรับมหาสมณุตมาภิเษกเพียงเท่านี้
    ต่อนั้นทรงธรรม ๔ กัณฑ์อนุโลมตามบรมราชาภิเษกกัณฑ์ทศพิธราชธรรมจรรยา
    เปลี่ยนเป็นไตรสิกขาและ ทรงรับดอกไม้ธูปเทียนของ
    พระสงฆ์พระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการ


    (มีต่อ ๒)
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  17. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="94%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=postbody vAlign=top>[​IMG]

    พัดยศสมณศักดิ์


    ประกาศการมหาสมณุตมาภิเศก

    “ศุภมัสดุ พระพุทธศาสนกาล เป็นอดีตภาคล่วงแล้ว ๒๔๓๔
    ปัตยุบันกาล จันทรคตินิยม สสสังวัจฉรกรรติกมาศกาฬปักษ์
    พาระสีดิถี ศุกรวาร สุริยคติกาล รัตนโกสินทรศก ๑๑๐
    พฤศจิกายนมาศ สัตตวีสติมวารปริเฉทกาลกำหนด

    พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ บดินทรเทพยมหามงกุฏ
    บุรุษรัตนราชรวิวงศ์ วรุตมพงศ์บริพัตรวรขัติยราชนิกโรดม
    จาตุรัตนบรมมหาจักรพรรดิราชสังกาศอุภโตสุชาติสังสุทธเคราะหณี
    จักรีบรมนารถ มหามกุฏราชวรางกูรสุจริตมูลสุสาธิต อรรคอุกฤษฐไพบูลย์
    บูรพาดูลย์กฤาฎาภินิหารสุภาธิการรังสฤษดิ ธัญญลักษดิ
    ธัญญลักษณวิจิตรโสภาคยสรรพางค์ มหาชโนตมางคประณตบาทบงกชยุคล
    ประสิทธิสรรพศุภผลอุดมบรมสุขุมาล ทิพยเทพาวตาร
    ไพศาลเกียรติคุณอดุลยพิเศษสรรพเทเวศรานุรักษ์ วิสิฐศักดิสมญา
    พินิตประชานารถเปรมกระมลขัตยราชประยูร มูลมุขมาตยาภิรมย์
    อุดมเดชาธิการ บริบูรณ์คุณสารสยามาทินคร วรุตเมกราชดิลก
    มหาปริวารนายกอนันต์ มหันตวรฤทธิเดช สรรพวิเศษศิรินธร
    อเนกชนิกร สโมสารสมมต ประสิทธิวรยศมโหดมบรมราชสมบัติ
    นพปดลเสวตรฉัตราดิฉัตร ศิริรัตโนปลักษณมหาสวามินทร์
    มเหศวรมหินทรมหารามาธิราชวโรดม บรมนารถ ชาติอาชาวไศรย
    พุทธาทิไตรรัตนสรณารักษ์ อดุลยศักดิอรรคนเรศราธิบดี
    เมตตากรุณาสีตลหฤทัย อโนปมัยบุญการ สกลไพศาลมหารัษฎาธิบดินทร์
    ปรมินทรธรรมิกมหาราชาธิราช บรมนารถบพิตรพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

    ทรงพระราชดำริว่า พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระปวเรศวริยาลงกรณ์
    ได้ดำรงพระยศเปน พระเจ้าบรมวงศ์เธอพระองค์เจ้าต่างกรมผู้ใหญ่
    แลเปนสังฆปรินายกปธานาธิบดีมีสมณะศักดิใหญ่ยิ่งกว่าบรรดาสงฆบรรพสัช
    ทั่วพระราชอาณาเขตร มาตั้งแต่วันศุกร์ เดือน ๓ ขึ้น ๖ ค่ำ
    ปีระกาเบญจศก จุลศักราช ๑๒๓๕ ล่วงมาจนกาลบัดนี้
    มีพระชนมายุเจริญยิ่งขึ้นจนไม่มีพระบรมวงศานุวงศ์พระองค์ใด
    ในมหาจักรีบรมราชตระกูลนี้ ที่ล่วงลับไปแล้วก็ดี ที่ยังดำรงอยู่ดี
    จะได้มีพระชนมายุยืนยาวมาเสมอด้วยพระชนมายุสักพระองค์เดียว
    เปนเหตุให้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว แลพระบรมวงศานุวงศ์ทรงยินดี
    มีความเคารพนับถือยิ่งขึ้นกว่าแต่ก่อน

    อีกประการหนึ่งฝ่ายบรรพชิต บรรดาพระสงฆ์ซึ่งมีสมณศักดิ์ในเวลานี้
    ก็ไม่มีผู้ใดซึ่งจะมีพรรษาอายุเจริญยิ่งกว่าพระชนมายุแลพรรษา
    ก็ย่อมเปนที่ยินดีเคารพนับถือยิ่งใหญ่ในสมณะมณฑลทั่วทุกสถาน

    อนึ่งแต่ก่อนมา เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
    พระราชทานมหาสมณุตมาภิเศกแด่พระเจ้าบรมวงศ์เธอ
    กรมสมเด็จพระปรมานุชิตชิโนรส ก็ด้วยทรงพระราชปรารถ
    พระชนมายุซึ่งเจริญยิ่งกว่าพระบรมวงศานุวงศ์ทั้งปวง

    อีกประการหนึ่ง ด้วยการที่ทรงผนวชมาช้านาน
    ทรงคุณธรรมทางฏิบัติในพระพุทธสาสนา
    แลได้เปนครูอาจารย์แห่งราชตระกูลแลมหาชน เป็นอันมากเป็นที่ตั้ง
    ก็ถ้าจะเทียบแต่ด้วยคุณธรรมการปฏิบัติในทางพระพุทธสาสนาฤา
    ด้วยการที่เป็นครูอาจารย์ของพระบรมวงศานุวงศ์แลมหาชนเปนอันมากนี้
    ก็พิเศษกว่า ด้วยได้ทรงเปนพระอุปัธยาจารย์ในพระเจ้าแผ่นดิน
    และพระบรมวงศานุวงศ์มีเจ้าฟ้า แลพระองค์เจ้าต่างกรม แลพระองค์เจ้า
    จนตลอดข้าราชการเป็นอันมาก จนถึงในครั้งนี้ก็ยังได้ทรงเปนพระอุปัธยาจารย์
    ในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชสยามมกุฏราชกุมาร
    ซึ่งยังทรงผนวชเปนสามเณรอยู่ในบัดนี้
    เพราะฉะนั้นบรรดาบรมราชตระกูลแลตระกูลทั้งปวงทั้งในสมณะมณฑล
    ทั่วทุกหมู่เหล่าย่อมมีความเคารพนับถือในพระองค์ทั้งสองประการ
    คือเป็นพระเจ้าบรมวงศ์ซึ่งทรงมีพระชนมายุเจริญ
    ยิ่งกว่าพระบรมวงศานุวงศ์ทั้งปวง แลทั้งเปนพระอุปัธยาจารย์ด้วยอีกฝ่ายหนึ่ง
    จึงมีความนิยมยินดีที่จะใคร่ให้ได้ดำรงพระยศอันยิ่งใหญ่
    เสมอกรมสมเด็จพระปรมานุชิตชิโนรส โดยรับมหาสมณุตาภิเศกแลเลื่อนกรม
    เป็นพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมสมเด็จพระ ให้เต็มตามความยินดีเลื่อมใส
    จะได้เปนที่เคารพสักการบูชา เป็นที่ชื่นชมยินดีของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
    แลพระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการผู้ใหญ่ผู้น้อยแลอเนกนิกรมหาชนบรรดา
    ซึ่งนับถือพระพุทธศาสนาทั่วหน้า

    จึงมีพระบรมราชโองการมาณพระบัณฑูรสุรสิงหนาทโปรดเกล้าฯ
    ให้ตั้งการมหาสมุตาภิเศก แลเลื่อนพระอิสริยยศ
    พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระปวเรศวริยาลงกรณ์
    ขึ้นเปนกรมสมเด็จพระ มีพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัตรว่า

    พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมสมเด็จพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์บวรรังสีสุริยพันธุ์
    ปิยพรหมจรรย์ธรรมวรยุตร ปกิบัติสุทธิคณะนายก ธรรมนิติสาธกปวรัยบรรชิต
    สรรพธรรมิกกิจโกศล สุวิมลปรีชาปัญญาอะค มหาสมณุดม บรมพงศาธิบดี
    จักรีบรมนารถ มหาเสนานุรักษ์อนุราชวรางกูร ปรมินทร
    บดินทร์สูริย์หิโตปัธยาจารย์ มโหฬารเมตยาภิธยาไศรย
    ไตรปิฎกโหรกลาโกศล เบญจปดลเสวตรฉัตร
    ศิริรัตโนปลักษณมหาสมณุตมาภิเศกาภิสิต ปรมุกฤฐสมณศักดิธำรง
    มหาสงฆปรินายก พุทธสาสนดิลกโลกุตม มหาบัณฑิตย์ สุนทรวิจิตรปฏิภาณ
    ไวยัติญาณมหากระวี พุทธาทิศรีรัตนไตรยคุณารักษ์
    เอกอรรคมหาอนาคาริยรัตน์ สยามาธิโลกยปฏิพัทธพุทธบริสัษยเนตร
    สมณคณินทราธิเบศร์ สกลพุทธจักโรปการกิจ
    สฤษดิศุภการมหาปาโมกษประธานวโรดม บรมนารถบพิตร
    เสด็จสถิตย์ ณ วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร พระอารามหลวง (มุสิกนาม)


    ให้ทรงศักดินา ๑๕๐๐๐ ตามพระราชกำหนด
    อย่างพระองค์เจ้าต่างกรมตำแหน่งใหญ่ ในพระบรมมหาราชวัง
    แลดำรงพระยศฝ่ายสมณศักดิ์เป็นเจ้าคณะใหญ่แห่งพระสงฆ์ทั้งกรุงเทพฯ
    แลหัวเมืองทั่วพระราชอาณาเขต พระราชทานนิตยภัทรบูชาเดือนละ ๑๒ ตำลึง
    ขออาราธนาให้ทรงรับธุระพระพุทธศาสนาเปนภาระสั่งสอน
    ช่วยระงับอธิกรณ์พระภิกษุสงฆ์สามเณรทั่วไป
    โดยสมควรแก่พระอิศริยยศสมณศักดิ์
    จงทรงเจริญพระชนมายุพรรณศุขพลปฏิภาณคุณสารสมบัติสรรพศิริสวัสดิ
    พิพัฒมงคล วิบูลยศุภผลจิรฐิติกาลในพระพุทธศาสนาเทอญฯ”
    *

    หมายเหตุ : อักขรวิธีตามต้นฉบับ


    (มีต่อ ๓)
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  18. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="94%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=postbody vAlign=top>[​IMG]

    สมเด็จฯ กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์


    ทรงเป็นปราชญ์ทางภาษาบาลี

    สมเด็จฯ กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์
    ทรงพระอัจฉริยภาพในหลายด้าน ซึ่งคนส่วนมากไม่ค่อยจะได้รู้จัก
    ประการแรก ทรงเป็นปราชญ์ทางภาษาบาลี
    ที่สำคัญพระองค์หนึ่งในยุคกรุงรัตนโกสินทร์ ซึ่งมีอยู่จำนวนไม่มากนัก
    ผลงานด้านภาษาบาลีที่สำคัญของพระองค์ก็คือ
    พระนิพนธ์เรื่อง “สุคตวิทิตถิวิธาน”
    ซึ่งทรงวิเคราะห์ และอธิบายเรื่องคืบพระสุคต
    พระนิพนธ์เรื่องนี้ ทรงพระนิพนธ์เมื่อ พ.ศ. ๒๓๘๘ ในปลายรัชกาลที่ ๓
    และได้รับการตีพิมพ์ครั้งแรกในลังกา
    ในตอนต้นรัชกาลที่ ๕ สำหรับในประเทศไทยนั้น
    เพิ่งจะมารู้จักพระนิพนธ์เรื่องนี้เมื่อต้นรัชกาลที่ ๖
    นอกจากพระนิพนธ์เรื่องนี้แล้ว
    พระองค์ยังทรงพระนิพนธ์เรื่องอื่นๆ เป็นภาษาบาลีไว้อีกหลายเรื่อง
    ส่วนพระนิพนธ์ในภาษาไทยก็ทรงไว้หลายเรื่องเช่นกัน ทั้งทางคดีโลกและคดีธรรม
    และทรงพระปรีชาสามารถทั้งในทางร้อยแก้วและร้อยกรอง ที่สำคัญ
    เช่น ลิลิตพงศาวดารเหนือ โครงพระราชประวัติในรัชกาลที่ ๔


    ทรงเป็นสถาปนิก

    พ.ศ. ๒๓๙๖ อันเป็นปีที่ ๒ ในรัชกาลที่ ๔ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
    ทรงพระราชดำริที่จะปฏิสังขรณ์พระปฐมเจดีย์ ซึ่งองค์เดิมเป็นพระเจดีย์ขนาดย่อม
    ให้เป็นพระมหาเจดีย์สำหรับเป็นที่สักการบูชาของมหาชนสืบไทย
    จึงโปรดเกล้าฯ ให้ สมเด็จเจ้าพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์
    แต่ยังทรงเป็นกรมหมื่นออกแบบพระเจดีย์
    และทรงโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุนนาค)
    เป็นแม่กองปฏิสังขรณ์ เมื่อสมเด็จเจ้าพระยาฯ ถึงแก่พิราลัย
    ก็โปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ (ขำ บุนนาค)
    เป็นผู้บัญชาการทำการปฏิสังขรณ์ต่อมาจนสำเร็จ
    พระปฐมเจดีย์ดังที่ปรากฏให้เห็นอยู่ในปัจจุบันนี้
    จึงเป็นผลงานออกแบบของ สมเด็จกรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์


    ทรงเป็นนักโบราณคดี

    เมื่อครั้งพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวยังทรงผนวชอยู่
    ได้เสด็จธุดงค์ไปยังหัวเมืองต่างๆ เป็นเหตุให้ทรงพบ
    ศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่ ๑ และจารึกอื่นๆ ในเวลาต่อมาอีกมาก
    และพระองค์ทรงพยายามศึกษา จนสามารถทรงอ่านข้อความในจารึกดังกล่าวนั้นได้
    ซึ่งอำนวยประโยชน์ต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ของชาติไทยอย่างมหาศาล

    สมเด็จกรมพระยาปวเรศฯ ซึ่งทรงเป็นศิษย์ใกล้ชิด
    ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระองค์หนึ่ง ก็ได้ทรงดำเนินรอยตาม
    เป็นเหตุให้ทรงเชี่ยวชาญในทางโบราณคดีพระองค์หนึ่งของไทย
    ในยุคนั้น ทรงเป็นนักอ่านศิลาจารึกรุ่นแรกของไทย
    ได้ศึกษาและรวบรวมจารึกต่างๆ ในประเทศไทยไว้มาก
    และได้ทรงอ่านจารึกสุโขทัยหลักที่ ๒ (อักษรขอม) เป็นพระองค์แรก


    ทรงเป็นนักประวัติศาสตร์

    นอกจากจะทรงสนพระทัยในการศึกษาทางโบราณคดีแล้ว
    สมเด็จกรมพระยาปวเรศฯ ยังทรงสนพระทัยในเรื่องประวัติศาสตร์ด้วย
    ดังจะเห็นได้จากผลงานทางด้านประวัติศาสตร์ที่ทรงพระนิพนธ์ไว้หลายเรื่อง
    เช่น ลิลิตพงศาวดารเหนือ เรื่องพระปฐมเจดีย์
    พระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ เป็นต้น


    ทรงเป็นนักดาราศาสตร์และโหราศาสตร์

    สมเด็จกรมพระยาปวเรศฯ ทรงเป็นที่เลื่องลือว่า
    เชี่ยวชาญในทางโหราศาสตร์เป็นอันมากแต่ไม่ทรงนิยมการพยากรณ์
    ในด้านดาราศาสตร์ก็ทรงเชี่ยวชาญเป็นอย่างยิ่ง
    ได้ทรงพระนิพนธ์ “ตำราปักขคณนา”
    (คือตำราการคำนวณปฏิทินทางจันทรคติ) ไว้อย่างพิสดาร
    พระนิพนธ์อันเป็นผลงานของพระองค์ในด้านนี้ไม่ค่อยได้ตีพิมพ์ออกเผยแพร่
    คนทั่วไปจึงไม่ค่อยรู้จักพระอัจฉริยภาพของพระองค์ในเรื่องดังกล่าวเหล่านี้มากนัก


    ทรงเป็นนักวิทยาศาสตร์

    สมเด็จกรมพระยาปวเรศฯ ทรงบันทึกจำนวนฝนตกเป็นรายวัน
    ติดต่อกันเป็นเวลาถึง ๔๕ ปี เริ่มแต่ปี พ.ศ. ๒๓๘๙ ในรัชกาลที่ ๓
    จนถึง พ.ศ. ๒๔๓๓ ในรัชกาลที่ ๕ เพื่อเป็นการเก็บสถิติน้ำฝนในประเทศไทย
    นับว่าทรงมีความวิริยะอุตสาหะเป็นอย่างยิ่ง
    ทรงเรียกบันทึกของพระองค์ว่า “จดหมายเหตุบัญชีน้ำฝน”
    และในจดหมายเหตุนี้ยังได้ทรงบันทึกเหตุการณ์บ้านเมืองที่สำคัญๆ ไว้ด้วย
    นับเป็นจดหมายเหตุทางประวัติที่มีค่ามากเรื่องหนึ่ง


    ทรงเป็นกวี

    สมเด็จกรมพระยาปวเรศฯ ทรงพระนิพนธ์เรื่องราวต่างๆ ไว้มาก
    ทั้งที่เป็นภาษาไทยและภาษาบาลี ในส่วนที่เป็นภาษาไทยนั้น
    ทรงพระนิพนธ์เป็นโคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ไว้ก็จำนวนมาก
    เช่น โคลงพระราชประวัติรัชกาลที่ ๔
    กาพย์เสด็จนครศรีธรรมราช ลิลิตพงศาวดารเหนือ เป็นต้น
    จึงกล่าวได้ว่าพระองค์ทรงเป็นกวีนักอักษรศาสตร์
    ที่สำคัญพระองค์หนึ่งในยุคกรุงรัตนโกสินทร์


    ทรงให้กำเนิดพระกริ่งในประเทศไทย

    เมื่อกล่าวถึงเรื่องพระกริ่ง คนส่วนมากก็คงจะเคยได้ยินเรื่อง พระกริ่งปวเรศ
    ซึ่งนิยมนับถือกันว่าเป็นยอดแห่งพระกริ่งในสยามพระกริ่งปวเรศเป็นพุทธศิลป์
    ที่สมเด็จกรมพระยาปวเรศฯ ได้ทรงพระดำริสร้างขึ้นในรัชกาลที่ ๕
    นับเป็นการให้กำเนิดพระกริ่งขึ้นในประเทศไทยเป็นครั้งแรก
    และได้เป็นแบบอย่างให้มีการสร้างพระกริ่ง กันขึ้นในเวลาต่อมาจนกระทั่งทุกวันนี้

    [​IMG]
    รัชกาลที่ ๕


    พระอวสานกาล

    สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์
    ทรงเป็นที่เคารพนับถือของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
    รัชกาลที่ ๕ ตลอดถึงพระบรมวงศานุวงศ์เป็นอันมาก
    ทรงเป็นที่ปรึกษาในกิจการบ้านเมืองที่สำคัญๆ
    ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าฯ มาตลอดพระชนมชีพ
    ดังจะเห็นได้จากความในพระราชหัตถเลขา
    ที่กราบทูลสมเด็จพระมหาสมณเจ้าพระองค์นั้น บางตอนว่า

    “ทุกวันนี้หม่อมฉันเหมือนตัวคนเดียว
    ได้อาศัยอยู่แค่สมเด็จกรมพระกับสมเด็จเป็นที่พึ่งที่ปรึกษา
    เป็นพระบรมวงศ์ผู้ใหญ่ ขอให้ทรงพิเคราะห์การให้ละเอียดด้วย”


    ในบั้นปลายแห่งพระชนมชีพ สมเด็จฯ กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์
    ทรงประชวรต้อกระจก ในที่สุดพระเนตรมืด ครั้ง พ.ศ. ๒๔๓๕
    ทรงประชวรพระโรคกลัดพระบังคนหนัก จัดเข้าในพระโรคชรา
    สิ้นพระชนม์เมื่อเช้าตรู่ของวันพฤหัสบดีที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ. ๒๔๓๕
    ตรงกับวันขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๑๑ สิริรวมพระชนมายุได้ ๘๓ พรรษา
    ทรงครองวัดบวรนิเวศวิหาร เป็นเวลา ๔๑ ปี
    ทรงดำรงตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราชอยู่เพียง ๑๑ เดือนเศษ
    ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๓๙๖ ก็สิ้นพระชนม์
    ได้พระราชทานพระโกศกุดั่งใหญ่ทรงพระศพ

    พระศพ สมเด็จกรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์
    ประดิษฐานอยู่ ณ พระตำหนักเดิม (คือที่เสด็จประทับ) วัดบวรนิเวศวิหาร
    เป็นเวลาถึง ๘ ปี จึงได้พระราชทานเพลิงพระศพ ณ พระเมรุ ท้องสนามหลวง
    เมื่อวันที่ ๑๖ มกราคม พ.ศ. ๒๔๔๓

    [​IMG]
    รัชกาลที่ ๖


    ทรงสถาปนาเปลี่ยนคำนำพระนาม

    สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์
    ขณะเมื่อทรงดำรงพระสมณฐานันดรเป็น สมเด็จพระมหาสังฆปริณายก
    ที่สมเด็จพระสังฆราชนั้น ยังไม่มีคำนำพระนามที่บ่งบอกถึงพระเกียรติยศ
    ในทางสมณศักดิ์ คือเรียกพระนามไปตามพระอิศริยยศแห่งบรมราชวงศ์ว่า
    “พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมสมเด็จ พระยาปวเรศวริยาลงกรณ์”
    มาในรัชกาลที่ ๖ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
    จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาเปลี่ยนคำนำพระนามเป็น
    “สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์”
    ในคราวเดียวกันกับที่ทรงสถาปนา
    สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส
    เมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๔ จึงได้เรียกกันว่า
    สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ แต่นั้นเป็นต้นมา


    (มีต่อ ๔)
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  19. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    [​IMG]

    พระอุโบสถ ประดับหินอ่อนดูตระการตา


    ประวัติและความสำคัญของวัดบวรนิเวศวิหาร

    วัดบวรนิเวศวิหาร หรือ วัดบวรนิเวศวิหาร ราชวรวิหาร
    เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร
    ตั้งอยู่ต้นถนนตะนาวและถนนเฟื่องนคร เขตบางลำภู กรุงเทพมหานคร
    แต่เดิมวัดนี้เป็นวัดใหม่อยุ่ใกล้กับวัดรังษีสุทธาวาส
    ต่อมาได้รวมเข้าเป็นวัดเดียวกัน โดยกรมพระราชวังบวรมหาศักดิพลเสพย์
    ในรัชกาลที่ ๓ ทรงสร้างขั้นใหม่ สร้างขึ้นด้วยศิลปะไทยผสมจีน
    ภายในพระอุโบสถ มีพระพุทธรูปสำคัญอยู่ ๒ องค์ คือ
    พระประธาน อัญเชิญมาจากวัดสระตะพาน เพชรบุรี และพระพุทธชินสีห์
    อัญเชิญมาจากวิหารทิศเหนือ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จังหวัดพิษณุโลก
    ถัดจากพระอุโบสถออกไปเป็นเจดีย์กลมขนาดใหญ่
    สร้างสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔
    หุ้มกระเบื้องสีทอง ในรัชกาลปัจจุบัน รอบฐานพระเจดีย์มี ศาลาจีนและซุ้มจีน
    ถัดออกไปเป็นวิหารเก๋งจีน นอกจากนี้ก็มีจิตรกรรมฝาผนังฝีมือขรัวอินโข่ง

    [​IMG]
    สององค์พระประธานในพระอุโบสถ


    พระประธานในพระอุโบสถ คือ พระพุทธชินสีห์
    ซึ่งสันนิษฐานว่าสร้างสมัยพระยาลิไทแห่งกรุงสุโขทัย
    พร้อมๆ กับพระพุทธชินราชที่พิษณุโลกและพระศรีศาสดา
    พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ระหว่างทรงครองวัดนั้น
    ได้โปรดเกล้าฯ ให้อัญเชิญพระศรีศาสดาและพระพุทธชินสีห์
    มาประดิษฐสถานที่วัดบวรนิเวศวิหารจนบัดนี้

    นอกจากนี้ ใต้ฐานพุทธบัลลังก์พระพุทธชินสีห์
    พระประธานในพระอุโบสถวัดบวรนิเวศวิหาร
    ยังเป็นที่บรรจุพระบรมราชสรีรางคาร พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
    ผู้ทรงเคยผนวช ณ วัดนี้เมื่อยังทรงดำรงพระราชอิสริยยศที่
    สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชเจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร

    วัดบวรนิเวศวิหารได้รับการทะนุบำรุง และสร้างสิ่งก่อสร้างต่างๆ ขึ้น
    จนเป็นวัดสำคัญวัดหนึ่ง โดยเฉพาะในสมัยปลายรัชกาลที่ ๓
    เมื่อพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงอาราธนา
    สมเด็จพระอนุชาธิราชเจ้าฟ้ามงกุฏ ซึ่งผนวชเป็นพระภิกษุ อยู่วัดสมอราย
    (วัดราชาธิวาส) เสด็จมาครอง เมื่อปี พ.ศ. ๒๓๗๕
    ทำให้วัดนี้ได้รับการบูรณะปฏิสังขรณ์ และเสริมสร้างสิ่งต่างๆ ขึ้น

    เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นพระราชาคณะ
    เสด็จประทับที่วัดนี้แล้วทรงบูรณะปฏิสังขรณ์
    และสร้างถาวรวัตถุต่างๆ เพิ่มเติมขึ้นหลายอย่าง
    พร้อมทั้งได้รับพระราชทาน ตำหนักจากรัชกาลที่ ๓ ด้วย

    ในสมัยต่อมาวัดนี้ เป็นวัดที่ประทับของพระมหากษัตริย์
    เมื่อทรงผนวชหลายพระองค์ เช่นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕
    และพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบัน
    จึงทำให้วัดนี้ได้รับการทะนุบำรุงให้คงสภาพดีอยู่เสมอ

    ในปัจจุบันนี้ ศิลปกรรมโบราณวัตถุ และศิลปวัตถุหลายสิ่งหลายอย่าง
    ยังอยู่ในสภาพดีพอที่จะชม และศึกษาได้เป็นจำนวนไม่น้อย


    ศิลปกรรมล้ำค่าภายในวัดบวรนิเวศวิหาร

    วัดบวรนิเวศวิหารนี้มีศิลปกรรม และถาวรวัตถุที่มีค่าควรแก่การศึกษาไม่น้อย
    แบ่งออกเป็นศิลปกรรมในเขตพุทธาวาสและศิลปกรรมในเขตสังฆวาส
    เขตทั้งสองนี้ถูกแบ่งโดยกำแพงและคูน้ำ มีสะพานเชื่อมถึงกันเดินข้ามไปมาได้สะดวก
    ศิลปกรรมที่สำคัญของวัดนี้ที่น่าสนใจ มีดังนี้


    ศิลปกรรมในเขตพุทธาวาส

    ศิลปกรรมในเขตพุทธาวาสที่สำคัญเริ่มจากพระอุโบสถ
    ซึ่งสร้างขึ้นตั้งแต่สร้างวัดในรัชกาลที่ ๓ แต่ได้รับการบูรณะซ่อมแซมต่อมาอีกหลายครั้ง
    รูปแบบของพระอุโบสถ ที่สร้างตามแบบพระราชนิยมในสมัยรัชกาลที่ ๓
    มีมุขหน้ายื่นออกมา เป็นพระอุโบสถและมีปีกยื่นออก ซ้ายขวา
    เป็นวิหารมุขหน้าที่เป็นพระอุโบสถมีเสาเหลี่ยมมีพาไลรอบซุ้มประตู หน้าต่าง
    และ หน้าบันประดับด้วยลายปูนปั้นพระอุโบสถหลังนี้ได้รับการบูรณะ
    ในสมัยรัชกาลที่ ๔ โดยโปรดเกล้าฯ ให้มุงกระเบื้องเคลือบลูกฟูก
    ประดับ ลายหน้าบันด้วยกระเบื้องเคลือบสี และโปรดเกล้าฯ ให้ ขรัวอินโข่ง
    เขียนภาพจิตรกรรมฝาผนัง ภายในพระอุโบสถ

    ส่วนภายนอกได้รับการบูรณะ บุผนังด้วยหินอ่อนทั้งหมด
    เสาด้านหน้าเป็นเสาเหลื่ยมมีบัวหัวเสาเป็นลายฝรั่ง
    ซุ้มประตูหน้าต่างปิดทองประดับกระจก ด้านหน้ามีใบเสมารุ่นเก่าสมัยอู่ทอง
    ทำด้วยหินทรายแดงนำมาจากวัดวังเก่า เพชรบุรี
    ส่วนใบเสมาอื่นทำแปลกคือติดไว้กับผนังพระอุโบสถแทน การตั้งไว้บนลานรอบ
    พระอุโบสถ หลังพระอุโบสถเป็นเจดีย์กลมสมัยรัชกาลที่ ๔
    ต่อมาได้หุ้มกระเบื้องสีทอง ในรัชกาลปัจจุบัน

    พระอุโบสถหลังนี้มีรูปแบบที่มีลักษณะเฉพาะต่างไปจากพระอุโบสถทั่วไป
    เพราะเป็นการผสมกันระหว่างศิลปะแบบพระราชนิยมของรัชกาลที่ ๓
    ซึ่งกระเดียดไปทางศิลปะจึนและศิลปะแบบรัชกาลที่ ๔ ซึ่งเป็นศิลปะที่มีอิทธิพลฝรั่ง
    จึงทำให้พระอุโบสถหลังนี้มีลักษณะผสมของอิทธิพลศิลปะต่างชาติทั้งสองแบบ
    แต่ทั้งหมดตั้งอยู่บนพื้นฐานของศิลปะไทย

    เมื่อมองโดยรวมแล้วพระอุโบสถหลังนี้จึงมีเอกลักษณ์เฉพาะตน
    ที่งดงามแปลกตาไม่น้อยทีเดียว

    ศิลปกรรมภายในพระอุโบสถ นอกเหนือไปจากพระพุทธรูปแล้ว
    ก็มีภาพจิตรกรรมฝาผนัง ที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
    โปรดเกล้าฯ ให้ขรัวอินโข่งเขียนขึ้น เป็นงานจิตรกรรมฝาผนังที่มีค่ายิ่ง
    เพราะเป็นรูปแบบของจิตรกรรมหัวเลี้ยวหัวต่อของการรับอิทธิพลยุโรป
    มาผสมผสานกับแนวคิดตามขนบนิยมของไทย

    ภาพจิตรกรรมฝาผนังนี้ สันนิษฐานว่า
    เขียน ตั้งแต่สมัยที่พระภิกษุเจ้าฟ้ามงกุฏฯ เข้าครองวัด
    โดยเขียนบนผนังเหนือ ประตูหน้าต่างขึ้นไป มีอยู่ ๑๖ ตอน
    เริ่มต้นจากทางหลังของผนังด้านซ้ายทางทิศตะวันตก
    นับเป็นผนังที่ ๑ วนทักษิณาวัตพระพุทธรูปในพระอุโบสถตามลำดับ
    มีคำจารึกพรรณาเขียนไว้ที่ช่องประตู หน้าต่างรวม ๑๖ บาน

    นอกจากภาพจิตรกรรมฝาผนังแล้ว
    ที่เสาพระอุโบสถเขียนภาพแสดงปริศนาธรรมเปรียบด้วย น้ำใจคน ๖ ประเภท
    เรียกว่า ฉฬาภิชาติ ด้วย ภายในพระอุโบสถนี้ มีพระพุทธรูปสำคัญอยู่ ๒ องค์ คือ

    พระประธานเป็นพระพุทธรูปหล่อ โลหะขนาดใหญ่
    หน้าพระเพลากว้าง ๙ ศอก ๑๒ นิ้ว กรมพระราชวังบวรฯ ผู้สร้างวัด
    ได้ทรง อัญเชิญมาจากวัดสระตะพาน เพชรบุรี โดยรื้อออกเป็นท่อนๆ
    แล้วนำมาประกอบขึ้นใหม่ สันนิษฐานว่าเดิมเป็นพระทวาราวดี พระศกเดิมโต
    พระยาชำนิหัตถการ นายช่างกรม พระราชวังบวรฯ เลาะออก
    ทำพระศกใหม่ด้วยดินเผาให้เล็กลง ลงรักปิดทองมีพระสาวกใหญ่
    นั่งคู่หนึ่ง เป็นพระปั้นหน้าตัก ๒ ศอก

    ส่วนพระพุทธรูปอีกองค์หนึ่งคือ พระพุทธชินสีห์
    ซึ่งอัญเชิญมาจากวิหารทิศเหนือ วัดพระศรีรัตน มหาธาตุ พิษณุโลก
    โดยอัญเชิญมาทั้งองค์เมื่อฤดูน้ำปี พ.ศ.๒๓๗๓ และ
    ในปีต่อมาได้ปิดทอง กาไหล่ พระรัศมี ฝังพระเนตรใหม่ และตัดพระอุณาโลม
    พระพุทธรูปองค์ นี้ เป็นพระพุทธรูป ที่งดงามอย่างยิ่ง องค์หนึ่ง

    ถัดจากพระอุโบสถออกไปเป็นเจดีย์กลม ขนาดใหญ่สร้างสมัยรัชกาลที่ ๔
    หุ้มกระเบื้องสีทอง ในรัชกาลปัจจุบัน รอบฐานพระเจดีย์มี ศาลาจีนและซุ้มจีน
    หลังเจดีย์ออกไปเป็นวิหารเก๋งจีน ข้างในมีภาพเขียนฝีมือช่างจีน
    เทคนิคและฝีมืออยู่ในเกณฑ์ดี

    ถัดเก๋งจีนเป็น วิหารพระศาสดา เป็นวิหารใหญ่แบ่งเป็น ๒ ห้อง
    ด้านหลัง เป็นพระพุทธไสยาสน์ สมัยสุโขทัย
    ฝาผนังมีจิตรกรรมเรื่องพระพุทธประวัติและชาดก
    ด้านหน้าประดิษฐานพระศาสดา
    รัชกาลที่ ๔ โปรดเกล้าฯ ให้อัญเชิญมาจากวัดสุทัศน์เทพวราราม

    ในบริเวณพุทธาวาสนั้นมีศิลปกรรมน่าสนใจอีกหลายอย่างเช่น
    พระพุทธบาทจำลอง ซึ่งเป็นพระพุทธบาทโบราณสมัยสุโขทัย
    ประดิษฐานอยู่ในศาลาข้าง พระอุโบสถพลับพลา เปลื้องเครื่อง
    สร้างเป็นเครื่องแสดงว่าวัด นี้รับพระกฐินโดยขบวนพยุหยาตรา
    ที่พระเจ้าแผ่นดิน เสด็จเปลื้องเครื่องทรงในศาลานี้ก่อนเสด็จเข้าวัด

    นอกจากนี้ที่ซุ้มประตูด้านหน้าพระอุโบสถบานประตูมีรูปเซี่ยวกาง
    แกะสลักปิดทอง เป็นฝีมือช่างงดงามทีเดียว

    [​IMG]
    พระตำหนักปั้นหยา


    ศิลปกรรมในเขตสังฆวาส

    ศิลปกรรมในเขตสังฆวาสส่วนใหญ่สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๓ และรัชกาลที่ ๔
    เพื่อเป็น ตำหนักที่ประทับของพระมหากษัตริย์ที่ผนวชในวัดนี้
    เริ่มจากตำหนักปั้นหยา ซึ่งเป็นตึกฝรั่ง ๓ ชั้น
    พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสร้างพระราชทานพระภิกษุเจ้าฟ้ามงกุฏ
    เมื่อทรงอาราธนาให้เสด็จมาประทับที่วัดนี้
    และประทับอยู่ที่ พระตำหนักปั้นหยา ตลอดเวลาผนวช
    ต่อมา ตำหนักนี้ได้เป็นที่ประทับของเจ้านายหลายพระองค์
    ที่ผนวชและประทับอยู่ที่วัดนี้
    รูปทรงของ ตำหนักเป็นตึกก่ออิฐถือปูนหน้าจั่วประดับด้วยกระเบื้องเคลือบ
    อยู่ซ้ายมือของกลุ่มตำหนักต่างๆ

    ถัดจากตำหนักปั้นหยาคือ พระตำหนักจันทร์
    เป็นตำหนักที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
    ทรงสร้างด้วยทรัพย์ของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจันทราสรัทธาวาส
    กรมขุนพิจิตเจษฐฃฏาจันทร์ถวายเป็นที่ประทับของ
    สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระวชิรญาณวโรรส
    ในบริเวณตำหนักจันทร์ด้าน ทิศตะวันออกติดกับรั้วเหล็กมีศาลาเล็กๆ
    มีพาไล ๒ ด้าน ฝาล่องถุนก่ออิฐถือปูนโถงเป็นเครื่องไม้ หลังคามุงกระเบื้อง
    ศาลาหลังนี้เดิมเป็นพลับพลา ที่ประทับของสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี
    ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสร้างไว้ในสวนพระราชวังเดิม
    โปรดเกล้าฯ ให้ย้ายมาปลูกไว้ เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๕๒

    ในกลุ่มพระตำหนักนี้ ยังมี พระตำหนักเพชร
    อีกตำหนักหนึ่งอยู่ขวามือเมื่อเข้าจากหน้าวัด
    เป็นตำหนักสองชั้นแบบฝรั่ง มุขหน้าประดับด้วยลวดลายไม้ฉลุงดงาม
    ตำหนักนี้พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสร้างถวายเป็นท้องพระโรง
    ของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส
    อย่างไรก็ตามศิลปกรรมและถาวรวัตถุของวัดบวรนิเวศวิหาร
    ยังมีอีกหลายอย่าง ซึ่งส่วนใหญ่ยังคงอยู่ในสภาพดี


    (มีต่อ ๕)
     
  20. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    [​IMG]
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="94%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=postbody vAlign=top>พระมหาเจดีย์ใหญ่ ตั้งโดดเด่นเป็นสง่า


    ความสำคัญของวัดบวรนิเวศวิหาร

    ในประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาในประเทศไทย
    วัดบวรนิเวศวิหาร ถือเป็นวัดที่มีความเคลื่อนไหว
    ทางศาสนาที่สำคัญๆ หลายประการ ถือกำเนิดขึ้น อาทิ

    - ความพยายามในการปฏิรูปสงฆ์ไทย ซึ่งทำให้เกิด
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

แชร์หน้านี้

Loading...