พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  2. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=26&A=7120&Z=7147&pagebreak=0

    บทนำพระวินัยปิฎกพระสุตตันตปิฎกพระอภิธรรมปิฎกค้นพระไตรปิฎกชาดกหนังสือธรรมะ


    <CENTER>พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๘
    ขุททกนิกาย วิมาน-เปตวัตถุ เถร-เถรีคาถา</CENTER>

    <CENTER></CENTER><CENTER>เถรคาถา ทวาทสกนิบาต</CENTER><CENTER></CENTER><CENTER></CENTER><CENTER>๑. สีลวเถรคาถา

    </CENTER><CENTER>คาถาสุภาษิตของพระสีลวเถระ</CENTER><CENTER></CENTER><CENTER></CENTER><CENTER></CENTER>[๓๗๘] ท่านทั้งหลายพึงศึกษาศีลในศาสนานี้ ด้วยว่าศีลอันบุคคลศึกษาดีแล้ว
    สั่งสมดีแล้ว ย่อมนำสมบัติทั้งปวงมาให้ในโลกนี้ นักปราชญ์
    เมื่อปรารถนาความสุข ๓ ประการ คือ ความสรรเสริญ ๑ การได้
    ความปลื้มใจ ๑ ความบันเทิงในสวรรค์เมื่อละไปแล้ว ๑ พึง
    รักษาศีล ด้วยว่าผู้มีศีล มีความสำรวม ย่อมได้มิตรมาก
    ส่วนผู้ทุศีลประพฤติแต่กรรมอันลามก ย่อมแตกจากมิตร นรชน
    ผู้ทุศีล ย่อมได้รับการติเตียนและความเสียชื่อเสียง ส่วนผู้มีศีล
    ย่อมได้รับการสรรเสริญและชื่อเสียงทุกเมื่อ ศีลเป็นเบื้องต้น เป็น
    ที่ตั้ง เป็นบ่อเกิดแห่งคุณความดีทั้งหลาย และเป็นประธาน
    แห่งธรรมทั้งปวง เพราะฉะนั้น พึงชำระศีลให้บริสุทธิ์ สังวร
    ศีลเป็นเครื่องกั้นความทุจริต ทำจิตให้ร่าเริง เป็นท่าที่หยั่งลง
    มหาสมุทร คือ นิพพานของพระพุทธเจ้าทั้งปวง เพราะฉะนั้น
    พึงชำระศีลให้บริสุทธิ์ ศีลเป็นกำลังหาเปรียบมิได้ เป็นอาวุธ
    อย่างสูงสุด เป็นอาภรณ์อันประเสริฐ เป็นเกราะอันน่าอัศจรรย์
    ศีลเป็นสะพาน เป็นมหาอำนาจ เป็นกลิ่นหอมอย่างยอดเยี่ยม เป็น
    เครื่องลูบไล้อันประเสริฐ บุคคลผู้สมบูรณ์ด้วยศีล ย่อมหอมฟุ้งไปทั่ว
    ทุกทิศ ศีลเป็นกำลังอย่างเลิศ เป็นเสบียงเดินทางชั้นเยี่ยม เป็น
    พาหนะอันประเสริฐยิ่งนัก เป็นเครื่องหอมฟุ้งไปทั่วทิศานุทิศ คนพาล
    ผู้มีจิตไม่ตั้งมั่นในศีล ย่อมได้รับการนินทาในเวลาที่มีชีวิตอยู่ในโลกนี้
    เมื่อตายไปแล้ว ย่อมได้รับทุกข์โทมนัสในอบายภูมิ ย่อมได้รับทุกข์
    โทมนัสในที่ทั่วไป ธีรชนผู้มีจิตตั้งมั่นด้วยดีในศีล ย่อมได้รับการ
    สรรเสริญในเวลาที่มีชีวิตอยู่ในโลกนี้ ครั้นตายไปแล้ว ก็ได้รับความสุข
    โสมนัสในสวรรค์ ย่อมรื่นเริงใจในที่ทุกสถานในโลกนี้ ศีลเท่านั้นเป็น
    ยอดและผู้มีปัญญาเป็นผู้สูงสุดในโลกนี้ ความชนะในมนุษยโลกและ
    เทวโลก ย่อมมีได้เพราะศีลและปัญญา.


    <CENTER></CENTER>

    เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๖ บรรทัดที่ ๗๑๒๐ - ๗๑๔๗. หน้าที่ ๓๐๗ - ๓๐๘.
    http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=26&A=7120&Z=7147&pagebreak=0
    ศึกษาอรรถกถานี้ ได้ที่ :-
    http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=26&i=378
    สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖
    http://84000.org/tipitaka/read/?สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่_๒๖</U>
    http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/mean_reverse.php?text=26&Aindex=%CA%D2%C3%BA%D1%AD

    บันทึก ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๖
    การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจาก พระไตรปิฎก ฉบับสยามรัฐ.
    หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ DhammaPerfect@yahoo.com


    .
    <!-- / message --><!-- sig -->
     
  3. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE class=tborder id=post843876 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">03-12-2007, 12:30 AM <!-- / status icon and date --></TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #12212</TD></TR></TBODY></TABLE>


    http://www.84000.org/tipitaka/book/bookpn01.html



    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=450 align=center background="" border=0><TBODY><TR><TD align=middle colSpan=2 vspace="0" hspace="0">พระพุทธพจน์ </TD></TR><TR><TD vspace="1" hspace="0">

    เย นํ ททนฺติ สทฺธาย

    </PRE>
    </TD><TD width="60%" vspace="1" hspace="0">

    วิปฺปสนฺเนน เจตสา

    </PRE>
    </TD></TR><TR><TD vspace="1" hspace="0">

    ตเมว อนฺนํ ภชติ

    </PRE>
    </TD><TD vspace="1" hspace="0">อสฺมึ โลเก ปรมฺหิ จ</TD></TR><TR><TD colSpan=2 vspace="0" hspace="0">บุคคลเหล่าใดมีใจผ่องใส ย่อมให้ข้าวด้วยศรัทธา
    บุคคลเหล่านั้นย่อมได้ข้าวนั้นเอง ทั้งโลกนี้และโลกหน้า
    </TD></TR><TR><TD vspace="1" hspace="0">
    ตสฺมา วิเนยฺย มจฺเฉรํ
    </TD><TD width="60%" vspace="1" hspace="0">
    ทชฺชา ทานํ มลาภิภู
    </TD></TR><TR><TD vspace="1" hspace="0">ปุญฺญานิ ปรโลกสฺมึ</TD><TD vspace="1" hspace="0">

    ปติฏฺฐา โหนฺติ ปาณินํ

    </PRE>
    </TD></TR><TR><TD colSpan=2 vspace="1" hspace="0">เพราะเหตุนั้นพึงเปลื้องความตระหนี่เสีย แล้วให้ทาน
    บุญเท่านั้น เป็นที่พึ่งของสัตว์ในโลกหน้า
    </TD></TR><TR><TD align=middle colSpan=2 vspace="1" hspace="0"><SMALL>จาก เสรีสูตร สังยุตตนิกาย สคาถวรรค ข้อ ๒๘๔</SMALL></TD></TR></TBODY></TABLE></P>


    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="90%" align=center bgColor=white border=0><TBODY><TR><TD align=middle vspace="0" hspace="0">ทานที่มีผลมาก มีอานิสงส์มาก</TD></TR><TR><TD align=right vspace="0" hspace="0">ประณีต ก้องสมุทร</TD></TR></TBODY></TABLE>


    <CENTER>สารบัญ</CENTER>


    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="80%" align=center background="" border=0><TBODY><TR><TD width="80%" vspace="0" hspace="0">

    เรื่อง

    </PRE></TD></TR><TR><TD width="80%" vspace="0" hspace="0">[SIZE=+0]ทานที่มีผลมาก มีอานิสงส์มาก[/SIZE]</TD></TR><TR><TD vspace="0" hspace="0">[SIZE=+0]การใช้ทรัพย์ ๕ ประการ[/SIZE]</TD></TR><TR><TD vspace="0" hspace="0">[SIZE=+0]มหาทาน[/SIZE]</TD></TR><TR><TD vspace="0" hspace="0">[SIZE=+0]ทานของสัตบุรุษนัยที่ ๑[/SIZE]</TD></TR><TR><TD vspace="0" hspace="0">[SIZE=+0]ทานของสัตบุรุษนัยที่ ๒[/SIZE]</TD></TR><TR><TD vspace="0" hspace="0">[SIZE=+0]กาลทาน ๕ อย่าง[/SIZE]</TD></TR><TR><TD vspace="0" hspace="0">[SIZE=+0]ให้ทานในที่ใดมีผลมาก[/SIZE]</TD></TR><TR><TD vspace="0" hspace="0">[SIZE=+0]ทานที่เจาะจงและไม่เจาะจง ๒๑ ประเภท[/SIZE]</TD></TR><TR><TD vspace="0" hspace="0">[SIZE=+0]สังฆทาน ๗ ประเภท[/SIZE]</TD></TR><TR><TD vspace="0" hspace="0">[SIZE=+0]ถวายภิกษุรูปเดียว ก็เป็นสังฆทาน[/SIZE]</TD></TR><TR><TD vspace="0" hspace="0">[SIZE=+0]ทัททัลลวิมาน-แสดงอานิสงส์ของสังฆทาน[/SIZE]</TD></TR><TR><TD vspace="0" hspace="0">[SIZE=+0]เรื่องเศรษฐีเท้าแมว[/SIZE]</TD></TR><TR><TD vspace="0" hspace="0">[SIZE=+0]ความบริสุทธิ์แห่งทักษณาทาน ๔[/SIZE]</TD></TR><TR><TD vspace="0" hspace="0">[SIZE=+0]อานิสงส์ของทาน ๕ อย่าง[/SIZE]</TD></TR><TR><TD vspace="0" hspace="0">[SIZE=+0]ทานที่มีผลมาก อานิสงส์มาก ๗[/SIZE]</TD></TR></TBODY></TABLE></P>
    <CENTER>-------------------------------------------------------------------------------

    <BIG>ทานที่มีผลมาก มีอานิสงส์มาก</BIG></CENTER>[SIZE=+0]
    คนเราที่มีชีวิตอยู่ในโลกนี้ มิได้อยู่โดยลำพังเพียงคนเดียว ย่อมมี พ่อ แม่ พี่ น้อง ญาติ มิตร สหาย ข้าทาส บริวาร และบุตร ภรรยา สามีด้วยกันทั้งนั้น การที่เราจะอยู่ร่วมกับคนเหล่านั้นด้วยความสุข และเป็นที่รักของคนเหล่านั้น นอกจากจะต้องเป็นคนดี มีเมตตากรุณา มีสัมมาคารวะต่อ ผู้ที่ควรคารวะ พูดวาจาอ่อนหวานแล้ว ยังต้องอาศัยความมีใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ อุดหนุน เจือจานกันเป็นเครื่องผูกใจคนเหล่านั้นด้วย​
    [/SIZE]

    [SIZE=+0]ผู้ขอบ่อยๆ ย่อมเป็นที่รังเกียจของผู้อื่นฉันใด ผู้ให้ก็ย่อมเป็นที่รักของผู้อื่นฉันนั้น[/SIZE]​
    [SIZE=+0]ด้วยเหตุนี้ การให้จึงเป็นการผูกน้ำใจผู้อื่นไว้ได้ประการหนึ่ง ปกตินั้นคนเรามักจะมีความตระหนี่หวงแหนอยู่เป็นประจำใจ ยากนักที่จะหยิบยื่นสิ่งใดให้แก่ใครๆ ได้โดยง่าย เพราะฉะนั้น คนที่สามารถหยิบยื่นของๆ ตนให้แก่ผู้อื่นได้นั้นนับว่าน่าสรรเสริญอย่างยิ่ง ถ้ารู้จักให้เสียครั้งหนึ่งแล้ว ก็ไม่ยากเลยที่จะให้ในครั้งต่อๆไป[/SIZE]​
    [SIZE=+0]ทั้งๆที่ทุกคนรู้จักการรับ และการให้มาตั้งแต่เด็กๆ เพราะต่างก็เคยรับและเคยให้กันมาแล้ว การรับนั้นไม่ยาก ขอให้รับด้วยความอ่อนน้อมเป็นพอ ส่วนการให้นั้นเชื่อว่าคงมีคนไม่มากนักที่จะให้ได้ถูกต้องให้เกิดประโยชน์ ทั้งฝ่ายผู้ให้และผู้รับ เป็นการให้แบบสัตบุรุษ คือคนดีทั้งหลาย ตามที่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสสอนไว้ ถ้าไม่ได้ศึกษาเรียนรู้มาก่อน น้อยคนนักที่จะประพฤติปฏิบัติได้ถูกต้อง แม้แต่ทรัพย์ที่เราขวนขวายแสวงหามา เราก็ยังไม่ทราบว่าจะใช้ทรัพย์นั้นไปในทางใดจึงจะเกิดประโยชน์ ทั้งๆที่พระพุทธเจ้าก็ได้ทรงแสดง เรื่องการใช้ทรัพย์ ไว้ในอังคุตตรนิกาย ปัญจกนิบาต อาทิยสูตรที่ ๑ (ข้อ ๔) ๕ ประการ คือ[/SIZE]​
    [SIZE=+0]๑. ใช้ทรัพย์ที่หามาได้โดยสุจริตชอบธรรม บำรุงเลี้ยงตนเอง บิดา มารดา บุตร ภรรยาและบ่าวไพร่ให้มีความสุข ไม่อดยาก[/SIZE]​
    [SIZE=+0]๒. ใช้ทรัพย์ที่หามาได้โดยสุจริตชอบธรรม เลี้ยงดูมิตรสหายให้อิ่มหนำสำราญ[/SIZE]​
    [SIZE=+0]๓. ใช้ทรัพย์ที่หามาได้โดยสุจริตชอบธรรม ป้องกันอันตรายอันเกิดจากไฟ จากน้ำ พระราชา โจร หรือทายาทผู้ไม่เป็นที่รัก เพื่อให้ตนปลอดภัยจากอันตรายนั้นๆ[/SIZE]​
    [SIZE=+0]๔. ใช้ทรัพย์ที่หามาได้โดยชอบธรรม ทำพลี คือบูชา หรือบำรุงในที่ ๕ สถาน คือ ญาติพลี บำรุงญาติ อติถิพลี ต้อนรับแขก ปุพเปตพลี ทำบุญอุทิศให้ผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว ราชพลี บำรุงราชการมีการเสียภาษีอากรเป็นต้น และเทวตาพลี ทำบุญแล้วอุทิศให้แก่เทวดา เพราะว่าเทวดาย่อมคุ้มครองรักษาผู้นั้นด้วยคิดว่า "คนเหล่านี้แม้ไม่ได้เป็นญาติของเราเขาก็ยังมีน้ำใจให้ส่วนบุญแก่เรา เราควรอนุเคราะห์เขาตามสมควร"[/SIZE]​
    [SIZE=+0]๕. ใช้ทรัพย์ที่หามาได้โดยชอบธรรม บำเพ็ญทักษิณาทานที่มีผลเลิศ เกื้อกูลแก่สวรรค์ มีวิบากเป็นสุข ไว้ในสมณะพราหมณ์ผู้เว้นจากความประมาท มัวเมา ตั้งอยู่ในขันติโสรัจจะเป็นผู้หมั่นฝึกฝนตนให้สงบระงับจากกิเลส ในข้อ ๕ นี้ตรัสสอนให้ใช้ทรัพย์ที่หามาได้ให้ทานแก่ผู้มีศีล ผู้ประพฤติดีปฏิบัติชอบ ปฏิบัติเพื่อความหมดจดจากกิเลส ผู้เป็นทักขิเณยยบุคคล เพราะทานที่ให้แก่ผู้มีศีลมีผลมาก ทำให้เกิดในสวรรค์ ได้รับความสุขอันเป็นทิพย์ นอกจากนั้นผู้ถวายยังอาจบรรลุคุณวิเศษ เพราะธรรมที่ท่านผู้ประพฤติดีปฏิบัติชอบเหล่านั้นยกมาแสดงให้ฟังได้อีกด้วย ผู้มีปัญญาย่อมไม่เสียดายทรัพย์ที่หมดเปลืองไปเพราะเหตุเหล่านี้ เพราะว่าท่านได้ใช้ทรัพย์นั้นถูกทางแล้วเกิดประโยชน์แก่ตนและผู้อื่นแล้ว โดยเฉพาะทรัพย์คือบุญที่ท่านถวายไว้ในผู้มีศีลเหล่านั้น ยังสามารถติดตามตนไปในโลกหน้าได้อีกด้วย[/SIZE]​
    [SIZE=+0]ควรหรือไม่ที่เราจะใช้ทรัพย์ให้ถูกต้องตามที่พระพุทธองค์ตรัสสอนไว้[/SIZE]​
    [SIZE=+0]และควรหรือไม่ที่เราจะใช้ทรัพย์นั้นจำแนกแจกทาน[/SIZE]​
    [SIZE=+0]ด้วยเหตุนี้ จึงควรที่จะรับรู้เรื่องของทาน ตลอดจนการให้ทานที่ถูกต้องไว้บ้าง เพื่อทานของเราจะได้เป็นทานที่มีผลมาก มีอานิสงส์มาก[/SIZE]​
    [SIZE=+0]คำว่า ทาน ที่แปลว่า การให้ นั้น จัดเป็นบุญเป็นกุศล เป็นความดีอย่างหนึ่ง หมายถึง เจตนาที่เป็นเหตุให้เกิดการให้ก็ได้ หมายถึงวัตถุ คือสิ่งของที่ให้ก็ได้ ทานจึงมีความหมายที่เป็นทั้งนามธรรมและรูปธรรม ถ้าหมายถึงเจตนาที่ให้ก็เป็นนามธรรม ถ้าหมายถึงวัตถุที่ให้ก็เป็นรูปธรรม ในที่นี้จะขอกล่าวถึงทานในความหมายทั้งสองอย่างนี้รวมๆกันไป[/SIZE]​
    [SIZE=+0]เจตนาที่เป็นเหตุให้เกิดการให้ทานนั้น แบ่งตามกาลเวลาได้ ๓ กาล คือ ปุพเจตนา เจตนาที่เกิดขึ้นก่อน คือเมื่อนึกจะให้ ก็แสวงหาตระเตรียมสิ่งที่จะให้นั้นให้พร้อม มุญจเจตนา เจตนาที่เกิดขึ้นในขณะกำลังให้ของเหล่านั้น อปรเจตนา เจตนาที่เกิดขึ้นหลังจากได้ให้เรียบร้อยแล้ว แล้วเกิดความปีติยินดีในการให้ของตน[/SIZE]​
    [SIZE=+0]บุคคลใดที่ทำบุญหรือให้ทานด้วยจิตใจที่โสมนัสยินดี ทั้งประกอบด้วยปัญญา เชื่อกรรมและผลของกรรมครบทั้ง ๓ กาลแล้ว บุญของผู้นั้นย่อมมีผลมาก[/SIZE]​
    [SIZE=+0]เจตนาทั้ง ๓ กาลนี้ เมื่อเกิดขึ้นมาแล้วก็ต้องดับไปเช่นเดียวกับสังขารธรรมอื่นๆ และเมื่อดับไปแล้วสามารถจะส่งผลนำเกิดในสุคติภูมิเป็นมนุษย์และเทวดาได้ ใน พระไตรปิฎก ขุททกนิกาย อปทาน แสดงความบุพกรรม คือกรรมในชาติก่อนๆ ของผู้ที่สำเร็จเป็นพระอรหันต์ที่เกี่ยวกับทานไว้มากมาย ตัวอย่างเช่น พระอรหันต์รูปหนึ่งในอดีตชาติได้ถวายผลมะกอกผลหนึ่งแก่พระพุทธเจ้าที่ประทับอยู่ในป่าใหญ่ รูปหนึ่งเคยถวายดอกบุนนาค รูปหนึ่งเคยถวายขนม รูปหนึ่งเคยถวายรองเท้า เป็นต้น นับแต่นั้นมาท่านเหล่านั้นไม่เคยเกิดในทุคติภูมิเลย เกิดอยู่แต่ในสุคติภูมิ เป็นมนุษย์และเทวดาเท่านั้น ตราบจนในชาติสุดท้ายได้สำเร็จเป็นพระอรหันต์[/SIZE]​
    [SIZE=+0]วัตถุทาน คือสิ่งของที่ให้นั้นก็มีหลายอย่าง กล่าวกว้างๆ ก็ได้แก่ปัจจัย ๔ คือ จีวร ซึ่งรวมทั้งเครื่องนุ่งห่มด้วย บิณฑบาต ซึ่งรวมทั้งอาหารเครื่องบริโภคทุกอย่าง เสนาสนะ ที่อยู่อาศัย คิลานเภสัช คือยารักษาโรค [/SIZE]​
    [SIZE=+0]ในโภชนทานสูตร อัง. ปัญจก. ข้อ ๓๗ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงว่า ทายกผู้ให้โภชนะเป็นทาน ชื่อว่าให้ฐานะ ๕ อย่างแก่ปฏิคาหก คือ ผู้รับ ๕ อย่าง คือ ๑. ให้อายุ ๒. ให้วรรณะ คือผิวพรรณ ๓. ให้ความสุข คือ สุขกาย สุขใจ ๔. ให้กำลัง คือความแข็งแรงของร่างกาย ๕. ให้ปฏิภาณ คือฉลาดในการตั้งปัญหาและตอบปัญหา[/SIZE]​
    [SIZE=+0]ถ้าจะพูดให้ละเอียดขึ้นไปอีก พระพุทธองค์ก็ทรงจำแนกวัตถุทานไว้ ๑๐ อย่างคือ ข้าว น้ำ ผ้า ยาน (พาหนะ) ดอกไม้ ของหอม เครื่องลูบไล้ ที่อยู่ ที่อาศัย และประทีปดวง[/SIZE]​
    [SIZE=+0]
    [/SIZE]
     
  4. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE class=tborder id=post849642 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">06-12-2007, 02:20 PM <!-- / status icon and date --></TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #12309 </TD></TR></TBODY></TABLE>

    http://www.geocities.com/skychicus/pariyat_musawat.html

    วิธีดูว่าเข้าข่ายมุสาวาทหรือไม่

    การแสดงเท็จ หรือลักษณะมุสาวาท มี 7 วิธี

    1. ปด - การโกหกชัด ๆ เช่น ไม่รู้ว่ารู้ ไม่เห็นว่าเห็น ไม่มีว่ามี เป็นต้น

    2. ทนสาบาน - ทนสาบานเพื่อให้คนอื่นหลงเชื่อว่าตนไม่ได้เป็นเช่นนั้น จะเป็นวิธีแช่งตัวเอง หรือด้วยวิธีนั่งนิ่ง เมื่อถูกถาม ก็จัดเป็นทนสาบาน

    3. ทำเล่ห์กะเท่ห์ ได้แก่ การอวดอ้างความศักดิ์สิทธิ์เกินความจริง เช่น อวดวิเศษเรื่องใบหวย โดยไม่รู้จริงเห็นจริง เป็นต้น

    4. มายา แสดงอาการหลอกคนอื่น เช่น ไม่เจ็บ ทำเป็นเจ็บ เจ็บน้อย ทำเป็นเจ็บมาก เป็นต้น

    5. ทำเลศ คือ ใจอยากจะพูดเท็จ แต่พูดเล่นสำนวน พูดคลุมเครือให้ผู้ฟังคิดผิดไปเอง เช่น เห็นขโมยวิ่งผ่านหน้าไป ไม่อยากบอกให้ผู้ตามจับทราบว่าตนเห็น จึงย้ายที่ยืนหรือที่นั่งไป เมื่อถูกถามก็พูดเล่นสำนวนว่าอยู่นี่ไม่เห็น อย่างนี้เรียกว่าทำเลศ

    6. เสริมความ เรื่องเล็ก แต่พูดให้คนฟังเห็นว่าเป็นเรื่องใหญ่ เช่น เห็นไฟก้นบุหรี่ไหม้หญ้าแห้ง ก็ตะโกนเสียงดังว่า ไฟ ๆ เพื่อให้คนแตกตื่นตกใจ เป็นต้น โฆษณาสินค้า พรรณาสรรพคุณจนเกินความจริงก็จัดเข้าข้อนี้

    7. อำความ - เรื่องใหญ่ แต่พูดให้เป็นเรื่องเล็ก หรือปิดบังอำพรางไว้ ไม่พูด ไม่รายงานต่อผู้มีหน้าที่รับทราบ

    การแสดงเท็จหรือโกหก แสดงได้ 2 ทาง คือ ทางวาจา กับทางกาย
    1. ทางวาจา คือพูดคำเท็จออกมา

    2. ทางกาย เช่น การเขียนจดหมายโกหก รายงานเท็จ ทำหลักฐานปลอม ตีพิมพ์ข่าวเท็จ เผยแผ่ ทำเครื่องหมายให้คนอื่นหลงเชื่อ ตลอดจนการใช้ใบให้คนอื่นเข้าใจผิด เช่น สั่นศีรษะ หรือโบกมือปฏิเสธในเรื่องควรรับ หรือพยักหน้ารับในเรื่องควรปฏิเสธ

    อนุโลมมุสา
    - พูดเรื่องไม่จริง ซึ่งไม่มีเจตนาจะกล่าวเท็จ แต่เจตนาจะให้เขาเจ็บใจหรือแตกร้าวกัน

    - พูดเสียดแทง กระทบกระแทก แดกดัน

    - พูดประชด ยกให้เกิน ความเป็นจริง

    - พูดด่า กดให้ต่ำกว่าความเป็นจริง

    - พูดสับปลับ ด้วยความคะนองวาจา แต่ไม่ได้ตั้งใจให้เข้าใจผิด

    - พูดคำหยาบคาย คำต่ำทราม
    ไม่จัดเป็นมุสาวาท

    ปฏิสสวะ ได้แก่ การรับคำของคนอื่น ด้วยเจตนาบริสุทธิ์ แต่ภายหลังกลับใจไม่ทำตามที่รับคำนั้น โดยที่ตนยังพอทำตามคำนั้นได้อยู่ มี 3 อย่าง

    1. ผิดสัญญา สัญญาว่าจะทำด้วยความสุจริตใจ แต่กลับไม่ทำภายหลัง

    2. เสียสัตย์ ให้สัตย์ปฏิญาณไว้แล้ว แต่ไม่ปฏิบัติตาม

    3. คืนคำ รับปากว่าจะไป แต่กลับใจภายหลังไม่ไป

    ไม่เป็นมุสาวาท ศีลไม่ขาด แต่ทำให้ศีลด่างพร้อยได้

    ที่มา : คลังปริยัติของนายแพทย์เกิด ธนชาติ และหนังสือศาสนาพุทธเล่มอื่นๆ ใน http://www.geocities.com/skychicus/pariyat_musawat.html


    http://www.dhammajak.net/board/viewtopic.php?t=14207
    กุหลาบสีชา ผู้ตั้ง ลานธรรมจักร » บทความธรรมะ » วิธีดูว่าเข้าข่ายมุสาวาทหรือไม่ ?
    <!-- / message --><!-- sig -->
     
  5. guawn

    guawn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    10,642
    ค่าพลัง:
    +42,113
    อนุโมทนาบุญด้วยครับ
     
  6. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    มีพี่ที่ผมเคารพท่านนึง มาเล่าให้ฟังว่า เพื่อนพี่ท่านนี้ ได้ไปเช่าพระสมเด็จวัดระฆังมาองค์นึง ราคา 13 ล้านกว่าบาท(เกือบ 14 ล้าน) นำมาให้พี่ท่านนี้ดูให้ พี่ท่านนี้บอกว่า พระสมเด็จวัดระฆังองค์นี้แท้ แท้แต่รูป สมเด็จโตท่านไม่อยู่แล้ว มีแต่ผงเปล่าๆ เพื่อนพี่ท่านนี้โกรธพี่ท่านนี้มาก พี่ท่านนี้จึงบอกให้นำพระสมเด็จองค์นี้ไปให้พระวิปัสสนาสายพระอาจารย์มั่น 3 องค์ช่วยตรวจสอบดูให้ และขอให้ท่านอธิษฐานจิตให้ วันรุ่งขึ้นปรากฎว่า เพื่อนพี่ท่านนี้รีบไปตามที่บอก ผลการตรวจสอบปรากฎว่าเป็นตามที่พี่ท่านนี้บอก เพื่อนพี่ท่านนี้จึงขอความเมตตาจากพระอาจารย์ที่ตรวจสอบดูให้ อธิษฐานจิตพระสมเด็จองค์นี้ให้ หลังจากนั้นเพื่อนพี่ท่านนี้ก็หายโกรธพี่ท่านนี้

    เปรียบเทียบให้เห็นภาพก็คือ ถ้าเราอยู่บ้านราคา 10 ล้านบาท ต่อมาให้เราไปอยู่ในสลัม เราจะทนอยู่หรือไม่ ลองพิจารณากันดูเองนะครับ

    นำมาเล่าสู่กันฟัง เผื่อบางคนจะฉ...ขึ้นบ้าง
     
  7. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    palungjit.org > พุทธศาสนา > บทสวดมนต์ - พระคาถา
    รวมบทสวดมนต์และคาถา

    http://palungjit.org/showthread.php?t=21139

    [​IMG] พระคาถาเมตตาหลวง ของหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
    <HR style="COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- / icon and title --><!-- message -->พระคาถาเมตตาหลวง


    พระญาณสิทธาจารย์ วัดเทพพิทักษ์ปุณณาราม ต.กลางดง อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา<O:p</O:p

    <O:p</O:p

    วิธีการสวด<O:p</O:p

    ให้ไหว้พระ อรหัง สัมมาสัมพพุทโธ , นโม ๓ จบ , พุทธัง สะระนัง คัจฉามิ ฯลฯ เป็นคำเริ่มต้นก่อน<O:p</O:p

    <O:p</O:p

    คำสวดให้เมตตาตน<O:p</O:p

    อะหัง สุขิโต โหมิ, นิททุกโข โหมิ, อะเวโร โหมิ, อัพพะยาปัชโฌ โหมิ, อะนีโฆ โหมิ, สุขี อัตตานัง ปริหะรามิ,<O:p</O:p

    <O:p</O:p


    .คำสวดแผ่เมตตา (ย่อ)<O:p</O:p



    ๑.สัพเพ สัตตาอะเวรา อัพพะยาปัชณา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ<O:p</O:p
    ๒.สัพเพ ปาณาอะเวรา อัพพะยาปัชณา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุ<O:p</O:p
    ๓.สัพเพ ภูตาอะเวรา อัพพะยาปัชณา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุ <O:p</O:p
    ๔.สัพเพ ปุคคะลาอะเวรา อัพพะยาปัชณา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุ<O:p</O:p
    ๕.สัพเพ อัตตะภาวะปะริยาปันนาอะเวรา อัพพะยาปัชณา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุ<O:p</O:p
    ๖.สัพพา อิตถิโยอะเวรา อัพพะยาปัชณา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุ<O:p</O:p
    ๗.สัพเพ ปุริสาอะเวรา อัพพะยาปัชณา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุ<O:p</O:p
    ๘.สัพเพ อะริยาอะเวรา อัพพะยาปัชณา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุ<O:p</O:p
    ๙.สัพเพ อะนะริยาอะเวรา อัพพะยาปัชณา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุ<O:p</O:p
    ๑๐.สัพเพ เทวาอะเวรา อัพพะยาปัชณา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุ<O:p</O:p
    ๑๑.สัพเพ มนุสสาอะเวรา อัพพะยาปัชณา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุ<O:p</O:p
    ๑๒.สัพเพ วินิปาติกาอะเวรา อัพพะยาปัชณา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุ<O:p</O:p

    <O:p</O:p


    .คำสวดแผ่กรุณา (ย่อ)<O:p</O:p



    ๑.สัพเพ สัตตาสัพพะทุกขา ปะมุญจันตุ <O:p</O:p
    ๒.สัพเพ ปาณาสัพพะทุกขา ปะมุญจันตุ<O:p</O:p
    ๓.สัพเพ ภูตาสัพพะทุกขา ปะมุญจันตุ <O:p</O:p
    ๔.สัพเพ ปุคคะลาสัพพะทุกขา ปะมุญจันตุ <O:p</O:p
    ๕.สัพเพ อัตตะภาวะปะริยาปันนาสัพพะทุกขา ปะมุญจันตุ<O:p</O:p
    ๖.สัพพา อิตถิโยสัพพะทุกขา ปะมุญจันตุ<O:p</O:p
    ๗.สัพเพ ปุริสาสัพพะทุกขา ปะมุญจันตุ<O:p</O:p
    ๘.สัพเพ อะริยาสัพพะทุกขา ปะมุญจันตุ<O:p</O:p
    ๙.สัพเพ อะนะริยาสัพพะทุกขา ปะมุญจันตุ<O:p</O:p
    ๑๐.สัพเพ เทวาสัพพะทุกขา ปะมุญจันตุ<O:p</O:p
    ๑๑.สัพเพ มนุสสาสัพพะทุกขา ปะมุญจันตุ<O:p</O:p
    ๑๒.สัพเพ วินิปาติกาสัพพะทุกขา ปะมุญจันตุ<O:p</O:p
    <O:p</O:p


    .คำสวดแผ่มุทิตา (ย่อ)<O:p</O:p

    ๑.สัพเพ สัตตาลัทธะสัมปัตติโต มา วิคัจฉันตุ<O:p</O:p
    ๒.สัพเพ ปาณาลัทธะสัมปัตติโต มา วิคัจฉันตุ<O:p</O:p
    ๓.สัพเพ ภูตาลัทธะสัมปัตติโต มา วิคัจฉันตุ<O:p</O:p
    ๔.สัพเพ ปุคคะลาลัทธะสัมปัตติโต มา วิคัจฉันตุ<O:p</O:p
    ๕.สัพเพ อัตตะภาวะปะริยาปันนาลัทธะสัมปัตติโต มา วิคัจฉันตุ<O:p</O:p
    ๖.สัพพา อิตถิโยลัทธะสัมปัตติโต มา วิคัจฉันตุ<O:p</O:p
    ๗.สัพเพ ปุริสาลัทธะสัมปัตติโต มา วิคัจฉันตุ<O:p</O:p
    ๘.สัพเพ อะริยาลัทธะสัมปัตติโต มา วิคัจฉันตุ<O:p</O:p
    ๙.สัพเพ อะนะริยาลัทธะสัมปัตติโต มา วิคัจฉันตุ<O:p</O:p
    ๑๐.สัพเพ เทวาลัทธะสัมปัตติโต มา วิคัจฉันตุ<O:p</O:p
    ๑๑.สัพเพ มนุสสาลัทธะสัมปัตติโต มา วิคัจฉันตุ<O:p</O:p
    ๑๒.สัพเพ วินิปาติกาลัทธะสัมปัตติโต มา วิคัจฉันตุ<O:p</O:p
    <O:p</O:p


    .คำสวดแผ่อุเบกขา (ย่อ)<O:p</O:p

    ๑.สัพเพ สัตตากัมมัสสะกา กัมมะทายาทา กัมมะโยนี กัมมะ พันธุ กัมมะปะฏิสะระณา ยัง, กัมมัง , กะริสสันติ กัลละยาณัง วา ปาปะกัง วา ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    ๒.สัพเพ ปาณากัมมัสสะกา กัมมะทายาทา กัมมะโยนี กัมมะ พันธุ กัมมะปะฏิสะระณา ยัง, กัมมัง , กะริสสันติ กัลละยาณัง วา ปาปะกัง วา ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    ๓.สัพเพ ภูตากัมมัสสะกา กัมมะทายาทา กัมมะโยนี กัมมะ พันธุ กัมมะปะฏิสะระณา ยัง, กัมมัง , กะริสสันติ กัลละยาณัง วา ปาปะกัง วา ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    ๔.สัพเพ ปุคคะลากัมมัสสะกา กัมมะทายาทา กัมมะโยนี กัมมะ พันธุ กัมมะปะฏิสะระณา ยัง, กัมมัง , กะริสสันติ กัลละยาณัง วา ปาปะกัง วา ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    ๕.สัพเพ อัตตะภาวะปะริยาปันนากัมมัสสะกา กัมมะทายาทา กัมมะโยนี กัมมะ พันธุ กัมมะปะฏิสะระณา ยัง, กัมมัง , กะริสสันติ กัลละยาณัง วา ปาปะกัง วา ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    ๖.สัพพา อิตถิโยกัมมัสสะกา กัมมะทายาทา กัมมะโยนี กัมมะ พันธุ กัมมะปะฏิสะระณา ยัง, กัมมัง , กะริสสันติ กัลละยาณัง วา ปาปะกัง วา ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    ๗.สัพเพ ปุริสากัมมัสสะกา กัมมะทายาทา กัมมะโยนี กัมมะ พันธุ กัมมะปะฏิสะระณา ยัง, กัมมัง , กะริสสันติ กัลละยาณัง วา ปาปะกัง วา ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    ๘.สัพเพ อะริยากัมมัสสะกา กัมมะทายาทา กัมมะโยนี กัมมะ พันธุ กัมมะปะฏิสะระณา ยัง, กัมมัง , กะริสสันติ กัลละยาณัง วา ปาปะกัง วา ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    ๙.สัพเพ อะนะริยากัมมัสสะกา กัมมะทายาทา กัมมะโยนี กัมมะ พันธุ กัมมะปะฏิสะระณา ยัง, กัมมัง , กะริสสันติ กัลละยาณัง วา ปาปะกัง วา ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    ๑๐.สัพเพ เทวากัมมัสสะกา กัมมะทายาทา กัมมะโยนี กัมมะ พันธุ กัมมะปะฏิสะระณา ยัง, กัมมัง , กะริสสันติ กัลละยาณัง วา ปาปะกัง วา ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    ๑๑.สัพเพ มนุสสากัมมัสสะกา กัมมะทายาทา กัมมะโยนี กัมมะ พันธุ กัมมะปะฏิสะระณา ยัง, กัมมัง , กะริสสันติ กัลละยาณัง วา ปาปะกัง วา ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    ๑๒.สัพเพ วินิปาติกากัมมัสสะกา กัมมะทายาทา กัมมะโยนี กัมมะ พันธุ กัมมะปะฏิสะระณา ยัง, กัมมัง , กะริสสันติ กัลละยาณัง วา ปาปะกัง วา ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    อานิสงส์เมตตาพระท่านบอกไว้ว่า สุขัง สุปติ หลับตื่นชื่นตา เสวยสุขอนันต์ ไมฝันลามกร้ายกาจ ปีศาจมนุษย์ชื่นชมหฤหรรษ์ เทวาทุกชั้นช่วยชูรักษา หอก ดาบ ยาพิษ ไฟลุก เข้ามา ครั้นถึงองค์พระโยคาย้อนกลับยับเป็นผง ใจร้ายใจบาปสันดานชั่วหยาบ ระงับดับลงด้วยพรหมวิหารา องค์พระโยคาสุกใส ใครเป็นพิศวง เมื่อตายไปไม่หลงเหมือนคนสามานย์ ส่งผลถึงอัครฐานตราบเท่านิพพานแล<O:p</O:p
     
  8. เชน

    เชน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    268
    ค่าพลัง:
    +1,037
    สวัสดีครับคุณ หนุ่ม ขอบูชาพระสมเด็จ กรมเจ้าท่าสักองค์นะครับ ขอองค์ที่คิดว่าเยี่ยมที่สุดนะครับ มีองค์ไหนพอจะแนะนำบ้างมั้ยครับ ขอเป็นพิมพ์สมเด็จ
    ขอบพระคุณขอรับ
     
  9. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    เป็นพระวังหน้า ดีทั้งนั้นครับ

    พระวังหน้าหรือพระกรุวัดพระแก้ว ไม่ใช่สินค้า ไหนๆก็มาอีก อยากจะเตือนไว้เรื่องของการนำพระวังหน้าหรือพระกรุวัดพระแก้วไปซื้อขาย ยังมีเรื่องราวต่างๆอีกมากนักที่ยังไม่ได้บอกไป กรรมไม่ต้องรอชาติหน้า ชาตินี้แหละ เห็นมาเยอะแล้ว กรรมเร็วมาก

    .
     
  10. เชน

    เชน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    268
    ค่าพลัง:
    +1,037
    ขอรับ งั้นขอบูชาหรือทำบุญสักองค์นะครับ ขอเป็นพิมพ์พระสมเด็จ
    ช่วยแนะนำหรือโพสรูปเท่าที่มีอยู่ให้เลือกหน่อยนะครับ ขอบพระคุณ
     
  11. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    ขออนุญาติลบรูปที่ผมลงทั้ง2พิมพ์ในเช้าวันที่ 20ธันวานะครับเป็นความรู้ให้เพื่อนๆได้ชม 2วันครับ
    ขอบคุณครับ
    nongnooo...
     
  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ เชน [​IMG]
    สวัสดีครับคุณ หนุ่ม ขอบูชาพระสมเด็จ กรมเจ้าท่าสักองค์นะครับ ขอองค์ที่คิดว่าเยี่ยมที่สุดนะครับ มีองค์ไหนพอจะแนะนำบ้างมั้ยครับ ขอเป็นพิมพ์สมเด็จ
    ขอบพระคุณขอรับ
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    ถ้าเป็นเมื่อก่อน จะบอกว่า มีเงินเท่าไร องค์ที่เยี่ยมก็สมเด็จอัศนี (ที่อยู่ในคอ) องค์นี้ 50,000,000 บาท

    หุหุหุ

    .
     
  13. เชน

    เชน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    268
    ค่าพลัง:
    +1,037
    ขอองค์ที่ไม่ต้องถึงล้านขอรับต้องการจริงๆขอพุทธคุณสูงๆนะขอรับ
     
  14. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    หลังปีใหม่ จะลงให้ทราบว่าจะมอบพระพิมพ์ไหนให้ผู้ร่วมทำบุญกันบ้างครับ

    แต่ไม่มีให้บูชา เพราะพระพิมพ์ไม่ใช่สินค้า แต่เป็นวัตถุมงคลเพื่อสักการะบูชาคุณครูบาอาจารย์ ,องค์ผู้อธิษฐานจิต ,พระมหากษัตริย์ ,เจ้าของเดิม และผู้สร้างครับ

    .
     
  15. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  16. เชน

    เชน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    268
    ค่าพลัง:
    +1,037
    ขอบพระคุณขอรับ ที่แล้วมาต้องขออภัยและขออโหสิกรรมมาณที่นี้ด้วยนะขอรับ แล้วจะรอบูชาร่วมทำบุญด้วยนะขอรับ
     
  17. เชน

    เชน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    268
    ค่าพลัง:
    +1,037
    [​IMG]

    แล้วสมเด็จอัศนีต่างกับองค์อื่นยังไงหรือขอรับถึงตั้งราคาไว้ซะสูงลิ่วเลยทีเดียว พิธีการปลุกเสกต่างจากองค์อื่นยังไงหรือ
     
  18. เชน

    เชน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    268
    ค่าพลัง:
    +1,037
    จริงหรือปลอมนั้นมิอาจทราบได้ขอรับเพราะเกิดไม่ทันและตรวจจับพลังมิได้แต่ท่านที่รับไปล้วนมีกระแสตอบกลับมาที่ดีทั้งนั้นขอรับ

    ที่มานี้ก็มาเพื่อการสันติเท่านั้นเองดอก
     
  19. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ถ้ากลับตัวกลับใจได้จริงๆ ขอโมทนาด้วย

    ทำอะไรก็แล้วแต่ คนอื่นไม่รู้ แต่ตนเองรู้เองนะครับ

    .
     
  20. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ทั้งการสร้าง การอธิษฐานจิต มีความแตกต่างจากพิมพ์อื่นๆค่อนข้างมาก อยากรู้รายละเอียดต้องเข้าไปอ่านในกระทู้ดู ได้อธิบายไว้พอสังเขปบ้างแล้วครับ

    .
     

แชร์หน้านี้

Loading...