พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.pratatlanna.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=210560&Ntype=5

    คำบูชาพระธาตุ ๙ จอม

    คำบูชาพระธาตุ ๙ จอม
    <O:p</O:p

    ๑.พระธาตุจอมแว่ อ.พาน <O:p</O:p
    นะโมตัสสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธธัสสะ ๓ จบ<O:p</O:p
    อะหังวันทามิ มะหาชินะ เกศาธาตุโย พุทธะรูปัง โคตะมัง อะหังวันทามิ<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    ๒.พระธาตุจอมแจ้ง อ.แม่สรวย <O:p</O:p
    นะโมตัสสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธธัสสะ ๓ จบ<O:p</O:p
    อิมัสมิง อะระณุ คะมะเน ปัพพัตตักเค ฐิตัง ธาตุเจติยัง อะหังวันทามิ สิระสา อะหังวันทามิ สัพพะทา<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    ๓.พระธาตุจอมผ่อ อ.เวียงป่าเป้า<O:p</O:p
    นะโมตัสสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธธัสสะ ๓ จบ<O:p</O:p
    อิทัง วันทามิ เจติยัง สักกัจจัง วะระสัญญิตัง เอเตนะ มะมะ ปุญเญนะ สะทาโสตถิ ภะวันตุเม<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    ๔.พระธาตุจอมหมอกแก้ว อ.แม่ลาว <O:p</O:p
    นะโมตัสสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธธัสสะ ๓ จบ<O:p</O:p
    อะหังวันทามิ อิธะ ปะติฏฐิตา อะระหันตะ ธาตุโย ตัสสะนุภาเวนะ สะทาโสตถิ ภะวันตุเม <O:p</O:p
    <O:p</O:p
    ๕.พระธาตุจอมทอง อ.เมืองเชียงราย<O:p</O:p
    นะโมตัสสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธธัสสะ ๓ จบ<O:p</O:p
    วันทามิ เจติยัง สัพพัฏฐาเน สุปะติฏฐิตา สะรีระธาตุ มหาโพธิง พุทธะรูปัง สะกะลังสะทา นาคะโลเก เทวะโลเก ตาวะติงสา พรมมะโลเก ชัมภูทีเป ลังกาทีเป สะรีระธาตุโย เกศาธาตุโย อรหันตาธาตุโย เจติยัง คันธะฏี จะตุราศิ ติสะหัสสะ ธัมมักขันธา ปาทะเจติยัง นะระเทเวหิ ปูชิตาอะหังวันทามิ ธาตุโย อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ สัพพะโส<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    <O:p</O:p
    ๖.พระธาตุจอมสัก อ.เมืองเชียงราย<O:p</O:p
    นะโมตัสสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธธัสสะ ๓ จบ<O:p</O:p
    อะหังวันทามิ ธาตุโย สัพพะฐาเนสุ สุปะติฏะฐิตา อะหังวันทามิ สัพพะโส<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    ๗.พระธาตุจอมกิตติ อ.เชียงแสน<O:p</O:p
    นะโมตัสสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธธัสสะ ๓ จบ<O:p</O:p
    อะหังวันทามิ ปะระมะ สารีริกกะ ธาตุโย กะกุสันธัสสะ จะโกนาคะ มะนัสสะ จะกัสสะ ปัสสะ จะสะมะณะ โคตระมัสสะเจวะ นิพพานะ ปัจจะโย โหตุ<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    ๘.พระธาตุจอมจันทร์ อ.แม่จัน<O:p</O:p
    นะโมตัสสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธธัสสะ ๓ จบ<O:p</O:p
    อิทัง วันทามิ เจติยัง สักกัจจัง วะระสัญญิตัง อะหังวันทามิ ธาตุโย อิธะปัพพะเต ปะติฏฐิตา เอเตนะมะมะ ปุญญานะภาเวนะ สะทาโสตถิ ภะวันตุเม<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    ๙.พระธาตุจอมสวรรค์ อ.แม่จัน<O:p</O:p
    นะโมตัสสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธธัสสะ ๓ จบ<O:p</O:p
    สุวัณณะ เจติยัง ปัพพะเต เถระยักขิณี เกศาธาตุโย พุทธะบุปผัง อะหังวันทามิ สิระสา อะหังวันทามิ ธาตุโย อะหังวันทามิ สัพพะโส
    <O:p</O:p
    <O:p [​IMG]</O:p
    ชมรมพระธาตุล้านนาได้คัดลอก คำบูชาพระธาตุ ๙ จอม นี้มาจาก พ่ออุ๊ยอินแก้ว สุนันท์เต ต.จอมสวรรค์ อ.แม่จัน จ.เชียงราย เพื่อนำมาเผยแพร่ แก่สมาชิกชมรมฯ เป็นธรรมทาน

    <O:pคำบูชาพระบรมธาตุ

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD>
    </O:p
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 7 ธันวาคม 2007
  2. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.manager.co.th/MetroLife/ViewNews.aspx?NewsID=9500000144846

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>เล่าเรื่องในหลวงผ่านเหรียญและเครื่องอิสริยยศ</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>6 ธันวาคม 2550 17:21 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>เป็นเรื่องที่น่ายินดียิ่งที่ กรมธนารักษ์ ได้จัดงานนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  3. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.manager.co.th/MetroLife/ViewNews.aspx?NewsID=9500000144846
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width="33%"></TD><TD vAlign=center align=middle width=4 background=/images/linedot_vert2.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle width="33%"> </TD><TD vAlign=center align=middle width=4 background=/images/linedot_vert2.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle> </TD></TR><TR><TD vAlign=center align=middle width="33%"><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=right width=2 height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=middle background=/images/a_up.gif height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=left width=2 height=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=center align=right width=2 background=/images/a_L.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=center align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=right width=2 background=/images/a_R.gif>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right width=2 height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle background=/images/a_Dn.gif height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=left width=2 height=2>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=middle width=4 background=/images/linedot_vert2.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=center align=middle width="33%"><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=right width=2 height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=middle background=/images/a_up.gif height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=left width=2 height=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=center align=right width=2 background=/images/a_L.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=center align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=right width=2 background=/images/a_R.gif>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right width=2 height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle background=/images/a_Dn.gif height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=left width=2 height=2>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=middle width=4 background=/images/linedot_vert2.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=center align=middle><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=right width=2 height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=middle background=/images/a_up.gif height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=left width=2 height=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=center align=right width=2 background=/images/a_L.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=center align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=right width=2 background=/images/a_R.gif>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right width=2 height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle background=/images/a_Dn.gif height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=left width=2 height=2>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle width="33%">เกรียงไกร หิรัญพันธุ์ทิพย์, นวรัตน์ เลขะกุล, พันธ์ทิพย์ สุรทิณฑ์ อธิบดีกรมธนารักษ์</TD><TD vAlign=center align=middle width=4 background=/images/linedot_vert2.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=baseline align=middle width="33%">เครื่องประกอบพระอิสริยยศ เจ้าฟ้าฝ่ายใน</TD><TD vAlign=center align=middle width=4 background=/images/linedot_vert2.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=baseline align=middle>เครื่องศาสตราวุธ</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width="33%"> </TD><TD vAlign=center align=middle width=4 background=/images/linedot_vert2.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle width="33%"> </TD><TD vAlign=center align=middle width=4 background=/images/linedot_vert2.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle> </TD></TR><TR><TD vAlign=center align=middle width="33%"><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=right width=2 height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=middle background=/images/a_up.gif height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=left width=2 height=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=center align=right width=2 background=/images/a_L.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=center align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=right width=2 background=/images/a_R.gif>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right width=2 height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle background=/images/a_Dn.gif height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=left width=2 height=2>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=middle width=4 background=/images/linedot_vert2.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=center align=middle width="33%"><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=right width=2 height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=middle background=/images/a_up.gif height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=left width=2 height=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=center align=right width=2 background=/images/a_L.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=center align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=right width=2 background=/images/a_R.gif>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right width=2 height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle background=/images/a_Dn.gif height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=left width=2 height=2>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=middle width=4 background=/images/linedot_vert2.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=center align=middle><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=right width=2 height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=middle background=/images/a_up.gif height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=left width=2 height=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=center align=right width=2 background=/images/a_L.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=center align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=right width=2 background=/images/a_R.gif>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right width=2 height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle background=/images/a_Dn.gif height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=left width=2 height=2>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle width="33%">เครื่องราชูปโภค</TD><TD vAlign=center align=middle width=4 background=/images/linedot_vert2.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=baseline align=middle width="33%">เหรียญทองคำพระราชทานแด่พระประมุขที่เสด็จฯ มาร่วมพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี ซึ่งมีเพียง 3 ชุดในโลกจำนวน 28 เหรียญ</TD><TD vAlign=center align=middle width=4 background=/images/linedot_vert2.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=baseline align=middle>กาน้ำทองคำลายสลัก</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  4. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.manager.co.th/MetroLife/ViewNews.aspx?NewsID=9500000144846

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width="33%"> </TD><TD vAlign=center align=middle width=4 background=/images/linedot_vert2.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle width="33%"> </TD><TD vAlign=center align=middle width=4 background=/images/linedot_vert2.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle> </TD></TR><TR><TD vAlign=center align=middle width="33%"><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=right width=2 height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=middle background=/images/a_up.gif height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=left width=2 height=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=center align=right width=2 background=/images/a_L.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=center align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=right width=2 background=/images/a_R.gif>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right width=2 height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle background=/images/a_Dn.gif height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=left width=2 height=2>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=middle width=4 background=/images/linedot_vert2.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=center align=middle width="33%"><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=right width=2 height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=middle background=/images/a_up.gif height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=left width=2 height=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=center align=right width=2 background=/images/a_L.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=center align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=right width=2 background=/images/a_R.gif>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right width=2 height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle background=/images/a_Dn.gif height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=left width=2 height=2>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=middle width=4 background=/images/linedot_vert2.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=center align=middle><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=right width=2 height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=middle background=/images/a_up.gif height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=left width=2 height=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=center align=right width=2 background=/images/a_L.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=center align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=right width=2 background=/images/a_R.gif>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right width=2 height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle background=/images/a_Dn.gif height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=left width=2 height=2>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle width="33%">พระเต้าทองคำลงยา</TD><TD vAlign=center align=middle width=4 background=/images/linedot_vert2.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=baseline align=middle width="33%">เหรียญกษาปณ์ที่ระลึก พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา </TD><TD vAlign=center align=middle width=4 background=/images/linedot_vert2.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=baseline align=middle>(จากซ้าย) เหรียญสมัยทวารวดี และเหรียญสมัยฟูนัน</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width="33%"> </TD><TD vAlign=center align=middle width=4 background=/images/linedot_vert2.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle width="33%"> </TD><TD vAlign=center align=middle width=4 background=/images/linedot_vert2.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle> </TD></TR><TR><TD vAlign=center align=middle width="33%"><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=right width=2 height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=middle background=/images/a_up.gif height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=left width=2 height=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=center align=right width=2 background=/images/a_L.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=center align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=right width=2 background=/images/a_R.gif>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right width=2 height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle background=/images/a_Dn.gif height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=left width=2 height=2>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=middle width=4 background=/images/linedot_vert2.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=center align=middle width="33%"><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=right width=2 height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=middle background=/images/a_up.gif height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=left width=2 height=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=center align=right width=2 background=/images/a_L.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=center align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=right width=2 background=/images/a_R.gif>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right width=2 height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle background=/images/a_Dn.gif height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=left width=2 height=2>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=middle width=4 background=/images/linedot_vert2.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=center align=middle><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=right width=2 height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=middle background=/images/a_up.gif height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=left width=2 height=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=center align=right width=2 background=/images/a_L.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=center align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=right width=2 background=/images/a_R.gif>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right width=2 height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle background=/images/a_Dn.gif height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=left width=2 height=2>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle width="33%">เหรียญที่ระลึกต่างๆ ที่นำมาจัดแสดงในงาน</TD><TD vAlign=center align=middle width=4 background=/images/linedot_vert2.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=baseline align=middle width="33%">เหรียญทองคำที่ระลึก เนื่องในพระราชพิธีมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา</TD><TD vAlign=center align=middle width=4 background=/images/linedot_vert2.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=baseline align=middle>พระเต้า</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width="33%"> </TD><TD vAlign=center align=middle width=4 background=/images/linedot_vert2.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle width="33%"> </TD><TD vAlign=center align=middle width=4 background=/images/linedot_vert2.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle> </TD></TR><TR><TD vAlign=center align=middle width="33%"><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=right width=2 height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=middle background=/images/a_up.gif height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=left width=2 height=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=center align=right width=2 background=/images/a_L.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=center align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=right width=2 background=/images/a_R.gif>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right width=2 height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle background=/images/a_Dn.gif height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=left width=2 height=2>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=middle width=4 background=/images/linedot_vert2.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=center align=middle width="33%"><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=right width=2 height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=middle background=/images/a_up.gif height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=left width=2 height=2>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=center align=right width=2 background=/images/a_L.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=center align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=right width=2 background=/images/a_R.gif>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right width=2 height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle background=/images/a_Dn.gif height=2>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=left width=2 height=2>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=middle width=4 background=/images/linedot_vert2.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=center align=middle>[​IMG] </TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle width="33%">พานพระมหากฐิน</TD><TD vAlign=center align=middle width=4 background=/images/linedot_vert2.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=baseline align=middle width="33%">เหรียญแต้เม้ง (หน้า)</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  5. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.google.co.th/search?q=พระเจดีย์&hl=th&start=60&sa=N

    ขอเชิญร่วมสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้ง ณ สำนักสงฆ์ผาผึ้ง อ.บ้านเขว้า ...<TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD class=j>[SIZE=-1]http://palungjit.org/board/showthread.php?t=68899 ขอเชิญร่วมสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้ง ณ สำนักสงฆ์ผาผึ้ง อำเภอบ้านเขว้า จังหวัดชัยภูมิ.
    buddhi.sm/forums/forum4/thread1421.html - 65k - <NOBR>หน้าที่ถูกเก็บไว้ - หน้าที่คล้ายกัน</NOBR>[/SIZE]</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  6. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.oknation.net/blog/print.php?id=1492

    <TABLE width=560><TBODY><TR><TD>การลำดับราชวงศ์และคำเรียก


    </TD></TR><TR><TD>ในสมัยอยุธยาแบ่งลำดับพระบรมวงศานุวงศ์ ตามกฎมณเฑียรบาล เริ่มจากสมเด็จหน่อพระพุทธเจ้า ลูกหลวงเอก ลูกหลวงโท และพระเยาวราช อันดับแรกประสูติจากพระอัครมเหสี รองลงมากินเมืองเอกและโท มีพระมารดาเป็นพระสนมไม่ได้กินเมือง ต่อมาภายหลังแบ่งเป็น 5 ชั้นคือ ชั้นเจ้าฟ้า ชั้นพระองค์เจ้า หม่อมเจ้า หม่อมราชวงศ์ หม่อมหลวง ใช้กันมาถึงกรุงรัตนโกสินทร์ ยศเจ้าฟ้านี้ เดิมพวกไทยใหญ่เรียกเจ้าครองเมือง สมัยพระเจ้าปราสาททอง ระบุราชสกุลเจ้าฟ้า ต้องเป็นพระราชโอรสธิดาที่มีพระมารดาเป็นเจ้า พระราชนัดดาซึ่งมีสมเด็จหน่อพระพุทธเจ้าหายไปจากพงศาวดาร ลำดับราชอิสริยยศ การใช้คำราชาศัพท์พระบรมวงศานุวงศ์ มีลำดับชั้นพระบรมราชวงศ์ตามประสูติกาลที่ใช้ในรัชกาลปัจจุบัน
    1. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระบรมราชินีนาถ
    2. พระบรมวงศ์ชั้นสมเด็จพระบรม
    สมเด็จพระบรมชนกนาถ สมเด็จพระบรมราชชนนี
    สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร
    สมเด็จพระบรมราชกุมารี
    3. พระบรมวงศ์ชั้นเจ้าฟ้า
    สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้า
    สมเด็จพระภคินีเธอ เจ้าฟ้า
    สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้า
    อนึ่ง คำว่า ทูลกระหม่อมชาย ทูลกระหม่อมหญิง ใช้เรียกเจ้าฟ้าที่มีพระราชชนนีเป็นอัครมเหสี ในกรณีที่เจ้าฟ้ากราบถวายบังคมลาออกจากราชอิสริยยศเพื่อสมรสกับสามัญชน ยังไม่มีพระบรมราชโองการสถาปนาขึ้นใหม่ บุคคลทั่วไปนิยมใช้ราชาศัพท์ตามราชอิสริยยศครั้งประสูติกาล คือครั้งยังเป็นสมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้า ในข่าวพระราชสำนักก็ใช้คำราชาศัพท์แต่ประสูติกาลเช่นเดียวกัน
    4. พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเป็นราชสกุลรองลงมาในรัชกาลก่อนๆ เป็นพระราชโอรสธิดาประสูติจากพระสนมที่เป็นเจ้าจอมมารดา เรียกตามกฎมณเฑียรบาลว่า พระเยาวราช หรือ พระองค์เจ้าที่เป็นพระเจ้าหลานเธอ หรือเป็นพระประยูรญาติหากเป็นพระราชโอรสธิดาใช้เรียกลำลองว่า "เสด็จ" แต่ถึงชั้นพระเจ้าหลานเธอเรียก "พระองค์ชาย" "พระองค์หญิง" ส่วนคำว่า "เสด็จในกรม" เรียกพระราชโอรสธิดาว่า "เสด็จในกรม" พระองค์เจ้ามี 3 ลักษณะ คือ
    (1) พระองค์เจ้ายก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาอิสริยยศ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฯ พระวรชายาในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฯ พระวรราชาทินัดดามาตุ อิสริยยศพระวรชายา ถือเป็นสตรีสูงศักดิ์แม้สามัญชนก็ได้ยกตลอดสายถึงพระโอรสธิดา
    (2) พระองค์เจ้าตั้ง ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาพระ วรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า เฉพาะพระองค์เป็นพิเศษ เป็นอิสริยยศรองจากการทรงกรม สำหรับสถาปนาเลื่อนยศหม่อมเจ้าขึ้นเป็นกรณีพิเศษและอาจเลื่อนให้สูงขึ้นเป็นกรมหมื่น กรมขุน กรมหลวงได้ แต่โอรสธิดายังคงเป็นหม่อมราชวงศ์ตามเดิม
    (3) พระองค์เจ้าแต่ประสูติกาล เป็นพระองค์เจ้าตลอดสายก่อนประสูติ คือพระองค์เจ้าชั้นพระราชโอรส พระราชธิดา และพระราชนัดดาที่โปรดเกล้าฯ ให้ยกขึ้นเป็นพระองค์เจ้าตลอดสายไว้ก่อนประสูติแล้ว เป็นพระองค์เจ้าโดยกำเนิดซึ่งต่างจากพระองค์เจ้าตั้งเพราะขณะที่เกิดเป็นหม่อมเจ้า และโปรดเกล้าฯ สถาปนาเป็นพระองค์เจ้าภายหลัง พระเจ้าหลานเธอแต่ประสูติกาลพระองค์แรกในรัชกาลปัจจุบัน คือ พระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา
    พระองค์เจ้าขึ้นไปไม่นิยมใช้พระนามราชสกุลต่อท้ายพระนามเฉพาะพระองค์ เว้นแต่ชั้นหม่อมเจ้า หม่อมราชวงศ์และหม่อมหลวง ต้องระบุพระนามราชสกุลด้วย โดยไม่ต้องมีคำ ณ อยุธยา ต่อท้าย ส่วนผู้ที่สืบราชสกุลต่อจากหม่อมหลวงลงมา หรือเป็นสะใภ้ที่ถูกต้องตามกฎหมาย ให้มีคำ "ณ อยุธยา" ต่อนามราชสกุล
    5. หม่อมเจ้า พระบุตรบุตรี ที่พระองค์เจ้ามารดาไม่ได้เป็นพระองค์เจ้าต้องเป็นหม่อมเจ้า คำลำลองใช้ "ท่านชาย" "ท่านหญิง" แต่ก่อนพระบุตรบุตรี ไม่ใช่โอรสธิดา ปัจจุบันยกย่องใช้ได้ ใช้คำราชาศัพท์ตรงคำส่วนใหญ่ไม่ต้องเติม ทรงพระ มากเหมือนชั้นสูงขึ้นไป
    6. หม่อมราชวงศ์ ในสมัยอยุธยาเคยมีในทำเนียบศักดินา แต่สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพทางสันนิษฐานว่าเป็นคำที่เติมขึ้นมาใหม่ ก่อนหน้านี้ใช้เรียกว่า "เจ้า" หรือ "คุณ" เป็นราชนิกุลที่เริ่มใช้เป็นทางการในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ไม่ใช้คำว่าราชาศัพท์สำหรับพระมหากษัตริย์ใช้คำสุภาพชน แต่เรียกลำลองว่า "คุณชาย" "คุณหญิง" ถ้าเป็นราช นิกุล พจนานุกรมฯ ให้คำจำกัดความว่าตระกูลฝ่ายพระมหากษัตริย์ ถ้าเป็นตระกูลฝ่ายพระมเหสีใช้ว่า ราชินิกุล หรือราชินีกุล
    7. หม่อมหลวง เริ่มใช้ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นบุตรบุตรีของหม่อมราชวงศ์ชาย ใช้คำสุภาพชนทั่วไป ไม่ใช้ราชาศัพท์ มีบุตรบุตรี ใช้นามสกุลตามราชสกุล ต่อท้ายด้วย ณ อยุธยา
    ชายาของพระองค์เจ้าลงมาจนถึงหม่อมเจ้า เรียกว่า "หม่อม" นอกจากนี้คำว่า "หม่อม" ยังใช้เป็นราชทินนาม คือ บรรดาศักดิ์เจ้านาย หรือขุนนาง เช่น หม่อมราโชทัย หม่อมทวีวงศ์ถวัลยศักดิ์
    ราชทินนาม บุคคลที่จะมีราชทินนามได้เริ่มตั้งแต่ชั้นเจ้านายถึงพระสงฆ์ ชั้นพระราชาไม่มีราชทินนามเพราะเป็นนามพระราชทานอยู่แล้ว เจ้านายที่ดำรงพระเกียรติยศสูง ก็ทรงสถาปนาพระราชทินนามใหม่ได้ เช่น ตำแหน่งชั้นกรม เป็น กรมหมื่น กรมขุน กรมหลวง กรมพระ กรมพระยา ส่วนที่เป็นวิสามานยนาม คือ เจ้านายที่ทรงกรมมีชั้นเจ้าฟ้ากับพระองค์เจ้าเท่านั้น พระสงฆ์ที่มีสมณศักดิ์ มักมีราชทินนามเป็นพื้น เช่น สมเด็จพระราชาคณะ พระราชาคณะ พระครู พระฐานานุกรม
    การจัดลำดับฐานันดร ลำดับในการกำหนดชั้นบุคคลตามอิสริยยศและสมณศักดิ์ พระยาอุปกิตศิลปสาร จำแนกไว้ 5 ชั้น คือ 1. พระราชา 2. เจ้านาย
    3. พระสงฆ์ 4. ขุนนาง 5. คนสุภาพ หม่อมหลวงปีย์ มาลากุล จำแนกเป็น 5 ชั้น คือ
    1. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระบรมราชินีนาถ 2. พระราชวงศ์ หรือ พระบรมวงศานุวงศ์ 3. พระภิกษุ 4. ข้าราชการ 5. บุคคลทั่วไป
    กระทรวงศึกษาธิการ จัดลำดับบุคคลไว้ดังนี้
    1. พระมหากษัตริย์
    2. พระบรมวงศานุวงศ์
    3. พระสงฆ์ในพระพุทธศาสนา
    4. ขุนนางและข้าราชการ
    5. คนสุภาพ
    พระบรมวงศานุวงศ์ตามลำดับชั้นมีดังต่อไปนี้ (สำหรับรายนามลำดับที่ 16 และ 17 ใช้ราชาศัพท์ระดับสุภาพชนทั่วไป เรียกลำลองคำนำหน้าว่าคุณ ไม่ใช้คำราชาศัพท์เฉพาะสำหรับพระราชาและพระบรมวงศานุวงศ์)
    1. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
    2. สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ
    3. สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร
    4. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
    5. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์อัครราชกุมารี
    6. สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอเจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดาสิริโสภาพัณณวดี
    7. สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนากรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์
    8. ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี
    9. พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ พระวรชายาในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ
    10. พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ
    11. พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา
    12. พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริวัณณวรีนารีรัตน์
    13. พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติ
    14. พระเจ้าหลานเธอ พระองคฺเจ้าสิริภาจุฑาภรณ์
    15. พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าอทิตยาทรกิติคุณ
    16. คุณพลอยไพลิน เจนเซน
    17. คุณสิริกิติยา เจนเซน

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  7. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.oknation.net/blog/print.php?id=1492

    พระราชอิสริยยศต่างกรม ตั้งแต่สมัยอยุธยาจนถึงสมัยกรุงธนบุรีมี 4 ชั้นคือ
    ชั้นที่ 1 กรมพระ พระอิสริยยศสำหรับสมเด็จพระพันปีหลวง พระมหาอุปราชและวังหลัง
    ชั้นที่ 2 กรมหลวง พระอิสริยยศสำหรับพระมเหสี ชั้นกรมหลวงสมัยกรุงธนบุรี
    ชั้นที่ 3 กรมขุน พระอิสริยยศสำหรับเจ้าฟ้าราชกุมาร
    ชั้นที่ 4 กรมหมื่น พระอิสริยยศสำหรับพระองค์เจ้า
    ในรัชกาลที่ 4 ทรงสถาปนาพระองค์เจ้าต่างกรมผู้ใหญ่เป็น "กรมสมเด็จพระ" เป็นชั้นสูงพิเศษอีกชั้นหนึ่ง ในรัชกาลที่ 5 ทรงเปลี่ยนพระนามอิสริยยศสมเด็จหน่อพุทธางกูร เป็น สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร ในรัชกาลที่ 6 ทรงประกาศยกเลิก "กรมสมเด็จพระ" โปรดเกล้าให้ใช้ "สมเด็จ กรมพระยา" แทน และทรงตั้งคำ "กรมพระยา" ขึ้นใช้ในราชการด้วย
    บรรดาศักดิ์ขุนนาง ฝ่ายพลเรือนทั่วไปมี 6 ตำแหน่งคือ
    สมเด็จเจ้าพระยา เช่น สมเด็จเจ้าพระยามหาศรีสุริยวงศ์
    เจ้าพระยา เช่น เจ้าพระยารามราฆพ
    พระยา เช่น พระยาอดุลยเดชสยาเมศวรภักดีพิริยะพาหะ
    หลวง เช่น หลวงนิคมพรรณเขตต์
    ขุน เช่น ขุนจารุวรประสาท
    นอกจากนี้ยังมีตำแหน่งเจ้าหมื่น หมื่น หลวง (นายเวร) นาย (บรรดาศักดิ์ เช่น นายวรการบัญชา) นายรอง ใช้ประกอบข้างหน้าราชทินนามสตรีที่เป็นภรรยาเอกของขุนนางจะมีคำเรียกเฉพาะเช่น ภรรยาเจ้าพระยา เป็นท่านผู้หญิง ภรรยาเอกของพระยาเป็นคุณหญิงและยังมีบรรดาศักดิ์เหมือนชายได้แก่เจ้าคุณท้าว พระ
    ข้อสังเกตว่าเป็นคำราชาศัพท์
    คำราชาศัพท์มีคำนามหมวดเครือญาติ หมวดอวัยวะร่างกาย หมวดเครื่องใช้ เครื่องราชูปโภค มีวิธีใช้ที่เป็นหลักสังเกตให้แยกแยะจากคำประเภทอื่นได้
    1. มีคำว่า ทรง นำหน้าคำไทยที่เป็นกริยา เช่น ทรงออกกำลังกาย ทรงขับร้อง ทรงวิ่ง ทรงทราบ ทรงลา ทรงม้า ทรงดนตรี ฯลฯ ที่เป็นคำนามเช่น ทรงม้า ทรงดนตรี ทรงเครื่องใหญ่ (ตัดผม) มีคำว่า ทรง นำหน้าคำราชาศัพท์ที่เป็นภาษาอื่นใช้เป็นคำนาม เช่น ข้อพระหัตถ์ ถุงพระบาท ฯลฯ และใช้เป็นคำกริยา เช่น ทรงพระราชนิพนธ์ ทรงพระดำเนิน ทรงพระอักษร ทรงพระบรรทม ทรงพระประชวร ฯลฯ
    2. มีคำว่า ต้น ใช้เนื่องในพระเจ้าแผ่นดิน ลงท้ายคำนามหรือกริยา เช่น เสด็จประพาสต้น กฐินต้น ช้างต้น ม้าต้น เครื่องต้น (เครื่องทรงสำหรับพระเจ้าแผ่นดินในพระราชพิธี เรียกเต็มว่าฉลองพระองค์เครื่องต้น ใช้เป็นของใช้ของเสวยสำหรับพระเจ้าแผ่นดิน
    3. มีคำว่า หลวง ที่เป็นของพระเจ้าแผ่นดิน เช่น ศาลหลวง วังหลวง รถหลวง เรือหลวง วัดหลวง โรงเรียนหลวง พระเจ้าหลวง พระพุทธเจ้าหลวง ฯลฯ ต่อมามีคำเพี้ยนไปจากกลุ่มคำเหล่านี้ใช้ในความหมายแตกต่างกันไป เช่น งานราษฎร์งานหลวง หมายถึงงานราชการ ในหลวง หมายถึงพระเจ้าแผ่นดินเป็นภาษาปากแบบไม่เป็นทางการไม่ใช่ราชาศัพท์และมีคำซึ่งไม่ใช่ราชาศัพท์สำหรับพระมหากษัตริย์ เช่น ภรรยาหลวง เขาหลวง ฯลฯ หมายถึงใหญ่
    4. การใช้คำ พระบรมราช-พระบรม พระราช พระ ราช พระบรมราช-พระบรม ใช้หน้า สำคัญยิ่งสำหรับพระมหากษัตริย์เพื่อเชิดชูพระอิสริยยศ เช่น พระบรมราชโองการ พระบรมมหาราชวัง พระบรมรูป พระบรมโพธิสมภาร พระบรมเดชานุภาพ พระบรมอัฐิ พระบรมฉายาลักษณ์ พระบรมวงศานุวงศ์ พระบรมราชวินิจฉัย พระบรมราโชวาท ฯลฯ
    พระราช-ราช-พระ ใช้หน้าคำสามัญสำคัญรองลงมาหรือเป็นคำสามัญทั่วไปเช่น พระราชดำรัส พระราชโองการ พระราชนิพนธ์ พระราชประวัติ พระราชประสงค์ พระราชดำริ พระราชดำเนิน พระภูษา พระเต้าทักษิโณทก พระเนตร พระกรรณ พระสุพรรณศรี พระอัฐิ พระปิฐิกัณฐกัฐิ (กระดูกสันหลัง) ฯลฯ
     
  8. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.oknation.net/blog/print.php?id=1492

    <TABLE width=560><TBODY><TR><TD>พระภิกษุสงฆ์
    การใช้คำสำหรับพระภิกษุสงฆ์ต่างจากราชาศัพท์ของพระมหากษัตริย์ เพราะพระมหากษัตริย์จะไม่ทรงใช้ราชาศัพท์กับพระองค์ท่าน จะทรงใช้เมื่อมีพระราชกระแสกับผู้อื่น แต่พระภิกษุสงฆ์ใช้คำสำหรับตัวท่านเองกับผู้ที่ท่านสนทนาด้วย
    สำดับสมณศักดิ์ของพระสงฆ์
    พระสมณศักดิ์
    พระสมณศักดิ์ในประเทศ 16,431 รูป
    สมเด็จพระสังฆราช 1 รูป
    สมเด็จพระราชาคณะ ชั้นสุพรรณบัฏ 8 รูป
    พระราชาคณะเจ้าคณะรอง ชั้นหิรัญบัฏ 19 รูป
    พระราชาคณะ ชั้นธรรม 43 รูป
    พระราชาคณะ ชั้นเทพ 84 รูป
    พระราชาคณะ ชั้นราช 184 รูป
    พระราชาคณะ ชั้นสามัญ 402 รูป
    พระครูสัญญาบัติ 15,690 รูป
    พระสมณศักดิ์ในต่างประเทศ 43 รูป
    พระราชาคณะ ชั้นเทพ 2 รูป
    พระราชาคณะ ชั้นราช 3 รูป
    พระราชาคณะ ชั้นสามัญ 9 รูป
    พระครูสัญญาบัตร 29 รูป
    รวม 16,474 รูป
    ที่มา : สำนักเลขาธิการมหาเถรสมาคม
    ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547

    สมเด็จพระสังฆราชที่เป็นเจ้านายแต่เดิมต้องเติมคำว่า "เจ้า" ต่อท้าย ส่วนพระสังฆราชจากสามัญชน ไม่ต้องใช้ราชทินนาม สมเด็จพระอริยวงศาคตญาน ร.6 ทรงเปลี่ยนคำนำหน้านามเจ้านายทรงกรมแสดงพระอิสริยยศ จาก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เป็น สมเด็จพระมหาสมณเจ้า ใช้ราชาศัพท์สำหรับสมเด็จพระสังฆราชเทียบชั้นพระองค์เจ้า แต่สมเด็จพระราชาคณะถ้าไม่ใช่เจ้านายอยู่แล้ว ไม่ต้องใช้ราชาศัพท์พระองค์เจ้า
    พระราชาคณะ ชั้นหิรัญบัฏ มี 4 ชั้น คือ ชั้นธรรม ชั้นเทพ ชั้นราช และ ชั้นสามัญ
    ชั้นพระครู พระครูฐานานุกรม พระราชาคณะชั้นราชขึ้นไปจะมีพระครูปลัด พระครูใบฎีกา พระครูสังฆรักษ์ พระครูชั้นประทวน (ได้ตำแหน่งพระปลัด พระสมุห์ พระใบฎีกา ไม่มีนิตยภัต)
    นามฉายา คือนามที่พระอุปัชฌาย์ให้เป็นภาษาบาลีเวลาบวช
    การใช้คำราชาศัพท์ของพระภิกษุ
    ราชาศัพท์ที่ไม่ใช้ศัพท์เฉพาะพระราชา แต่หมายถึงพระภิกษุมีความแตกต่างกัน เพราะพระราชาจะไม่ทรงใช้คำราชาศัพท์สำหรับพระองค์ท่านเอง แต่เป็นคำที่คนทั่วไปใช้สำหรับพระองค์ท่านเพื่อเทิดพระเกียรติด้วยความจงรักภักดี พระภิกษุใช้พูดสำหรับท่านเองและเป็นคำที่ฆราวาสใช้พูดกับท่านหรือท่านพูดกับฆราวาส จึงเป็นศัพท์เฉพาะใช้สำหรับพระภิกษุ
    การใช้ถ้อยคำสำหรับพระภิกษุ ตัวอย่างเช่น
    อาตมา อาตมภาพ (อาตม + ภาว) ใช้เป็นคำแทนพระภิกษุผู้พูด เมื่อพูดกับฆราวาส
    เกล้า พระสงฆ์ใช้พูดกับสมเด็จพระสังฆราชใช้แทนตัวผู้พูดว่าเกล้ากระผม หรือพูดกับพระสงฆ์ผู้ทรงสมณศักดิ์พูดสั้นๆ ว่า เกล้า
    ท่าน ใช้เป็นสรรพนามกล่าวถึงพระภิกษุสามเณรทั่วไป
    พระคุณท่าน ใช้กล่าวถึงสรรพนามของพระภิกษุสมณศักดิ์ชั้นธรรม รองจากสมเด็จพระราชาคณะ
    พระคุณเจ้า ใช้กับสมเด็จพระราชาคณะ รองจากสมเด็จพระสังฆราช
    นมัสการ คำขึ้นต้นในจดหมายถึงพระสงฆ์ทั่วไป หรือกล่าวคำปราศรัยด้วย
    เจริญพร พระภิกษุใช้กับฆราวาสในคำขึ้นต้นจดหมายและกล่าวคำปราศรัยด้วย
    คำราชาศัพท์ที่ใช้กับสมเด็จพระสังฆราช ใช้ระดับพระองค์เจ้า ถ้าสมเด็จพระสังฆราชเจ้า มิใช่เชื้อพระวงศ์ แต่ถ้าสมเด็จพระสังฆราชเจ้าแสดงว่ามีฐานันดรศักดิ์เดิมชั้นหม่อมเจ้าหรือพระองค์เจ้าอยู่แล้ว จะใช้คำราชาศัพท์ระดับ พระเจ้าบรมวงศ์ พระภิกษุทรงสมณศักดิ์ สมเด็จพระราชาคณะลงมาถ้ามิได้มีฐานันดรเดิมชั้นหม่อมเจ้าขึ้นไปก็ไม่ต้องใช้ราชาศัพท์ มีเฉพาะสมเด็จพระสังฆราชเท่านั้น
    เจริญพระพุทธมนต์ ใช้ในการนิมนต์พระภิกษุเกี่ยวด้วยงานมงคล ถ้านิมนต์เกี่ยวด้วยงานศพ พึงกล่าวว่าสวดมนต์
    การนิมนต์พระ ตามความนิยม นิมนต์ 5 รูป 7 รูป หรือ 9 รูป เป็นเลขคี่เพราะถือว่ารวมพระพุทธด้วยก็เป็นจำนวนคู่ นิมนต์ไปงานมงคลสมรสนิยมนิมนต์พระ 8 รูปเป็นสิริมงคล แต่สำหรับพิธีหลวงทุกพิธี ทางราชการต้องนิมนต์ตั้งแต่ 10 รูปเป็นอย่างน้อย ถ้านิมนต์ไปงานศพ นิมนต์เพียง 4 รูป
    ใบปวารณา การถวายจตุปัจจัยแด่พระภิกษุสามเณร ต้องใช้ใบปวารณามิให้กล่าวถึงเงินโดยตรง ให้ใช้คำว่า ข้าพเจ้าขอถวายจตุปัจจัยแด่พระคุณท่านเป็นมูลค่าบาทสตางค์
    เบญจางคประดิษฐ์ การกราบพระพุทธรูป, พระภิกษุ, พระรัตนตรัยแบบคุกเข่าทั้งสองจดพื้น คว่ำฝ่ามือทั้งสองวางแผ่ราบจดพื้นให้ข้อศอกแนบลำตัว หน้าผากจดลงบนพื้น รวมเป็นองค์ 5 กล่าวคือ การกราบโดยให้อวัยวะทั้ง 5 ได้แก่เข้าทั้ง 2 มือทั้ง 2 และหน้าผากจดลงกับพื้น
    การกรวดน้ำ ควรหยดน้ำหลั่งเป็นสายเดียวอย่างสม่ำเสมอทีละน้อยไม่ขาดสาย ไม่ควรให้มีเสียงน้ำหยดหรือไหลดังเกินควร ให้เริ่มกรวดน้ำตอนคำอนุโมทนาว่า "ยถาวรีวหา" ผู้กรวดจึงตั้งจิตแผ่ส่วนกุศลไปยังบุพการี ผู้ที่ประสงค์จะแผ่กุศลไปให้ รวมถึงสรรพสัตว์ทั้งหลาย เมื่อพระสวดจบบนยถา จึงหยุดกรวดน้ำ นั่งประนมมือฟังพระอนุโมทนาต่อไปจนจบ
    รูป ลักษณะใช้เรียกกับพระภิกษุสามเณร เช่นพระรูปหนึ่ง สามเณร 3 รูป เป็นคำใช้แทนตัวผู้พูด สำหรับพระภิกษุสามเณรพูดกับคฤหัสถ์ เป็นสรรพนามบุรุษที่ 1
    องค์ ลักษณะนามใช้เรียกสิ่งที่เคารพบูชา เช่น พระพุทธรูป 1 องค์ บาทหลวง 1 องค์ เป็นลักษณนามใช้กับสมเด็จพระสังฆราชและสมเด็จพระราชาคณะว่ามีจำนวน "องค์" แทน "รูป" ใช้กับนักบวชในศาสนาอื่นด้วย
    ชี นักบวช เช่น ชีปะขาว คำเรียกหญิงที่นุ่งขาวห่มขาว โกนคิ้วโกนผม ถือศีล แม่ชีก็เรียก ชีต้น พระสงฆ์ที่เป็นอาจารย์ ภาษาโบราณใช้เรียกนักบวชหญิงว่ารูปชี ก็มี
    ถวาย บุคคลทั่วไปใช้ถึงพระภิกษุ หรือพระภิกษุถวายพระพรพระมหากษัตริย์และเจ้านาย
    เผดียงสงฆ์ แจ้งให้สงฆ์ทราบ
    นิมนต์ (เชิญ, เชื้อเชิญ) เช่นนิมนต์ไปฉัน นิมนต์รับบาตร
    อาราธนา (เชื้อเชิญ, นิมนต์, อ้อนวอน) เช่น อาราธนาแสดงธรรม อาราธนาพระปริตร อาราธนาศีล
    อุบาสก-อุบาสิกา บุรุษ-สตรีที่นับถือพระรัตนตรัยเป็นที่พึ่ง คำลำลองว่าประสก-สีกา เป็นคฤหัสถ์ชายหญิงที่นับถือพระพุทธศาสนาอย่างมั่นคง
    ฉัน ฉันภัตตาคาร กินอาหาร ภิกษุฉันวันละ 2 ครั้งคือ ตอนเช้ากับตอนกลางวัน เรียกว่าฉันจังหันและฉันเพล
    โยม พระภิกษุใช้เรียกญาติผู้ใหญ่ หรือผู้มีอาวุโส เช่นบิดา เรียกว่าโยมผู้ชาย มารดาเรียกว่าโยมผู้หญิง หรือโยมพ่อโยมแม่ ฆราวาสจะกล่าวถึงญาติผู้ใหญ่ของท่านก็ใช้คำนี้ด้วย
    มรณภาพ, ถึงแก่มรณภาพ ตาย
    อาพาธ เจ็บไข้
    ประเคน มอบของส่งให้พระภิกษุกับมือ ผู้ชายต้องใช้สองมือยก ผู้หญิงจะยกส่งถึงมือต่อมือไม่ได้ พระภิกษุจะต้องเอาผ้าวางรองรับ โดยท่านถือชายผ้าอีกข้างหนึ่งไว้ ให้ผู้หญิงประเคนของนั้นลงบนผ้า
    หัตถบาส ระยะระหว่างพระสงฆ์ที่นั่งทำสังฆกรรมหรือระหว่างพระภิกษุสามเณรกับคฤหัสถ์ผู้ถวายของ ห่างกันไม่เกินศอกหนึ่ง
    ครองผ้า ครองจีวร นุ่งห่ม ถ้าใช้กับพระสังฆราชใช้ทรงจีวร ทรงสบง
    ภัตตาหาร อาหาร
    ปลงอาบัติ พระภิกษุแสดงความผิดของตนเพื่อเปลื้องโทษทางวินัย
    ปลงธรรมสังเวช พระภิกษุเกิดความสังเวชโดยธรรมเมื่อเห็นความแตกดับของสังขาร
    ปลงบริขาร พระภิกษุมอบบริขารให้ผู้อื่นเวลาใกล้ตาย
    ปลงผม โกนผม
    กุฏิ ที่อยู่ของพระภิกษุสามเณร
    บิณฑบาต รับอาหารใส่บาตรโดยพุทธศาสนิกชนตักบาตร
    ทำวัตร สวดมนต์ จำวัด นอน
    สรง อาบน้ำใช้แก่บรรพชิตและเจ้านาย
    คำราชาศัพท์ที่มักใช้ผิด
    1. คำที่ใช้ประกอบกริยา มักจะมีคำ ทรง นำหน้าคำธรรมดา หรือ ทรงพระ หน้าคำราชาศัพท์ หรือมี ต้น หลวง ประกอบท้ายให้เป็นราชาศัพท์ แต่ถ้าเป็นคำราชาศัพท์อยู่แล้วไม่ต้องเติมทรง จึงมักมีผู้ใช้ผิดเช่น ทรงเสด็จ ทรงตรัส ทรงโปรด ฯลฯ ต้องใช้คำว่า เสด็จ ตรัส โปรด จึงจะถูก
    2. คำกริยาที่มักจะเป็นปัญหาในการใช้ราชาศัพท์อีก 2 คำได้แก่คำว่า "เป็น" กับ "มี" คำทั้งสองนี้ถ้าใช้นำหน้าคำที่เป็นราชาศัพท์ จะไม่มีคำว่า "ทรง" นำหน้า เช่น เป็นพระราชโอรส เป็นพระราชนัดดา มีพระบรมราชโองการ มีพระราชเสาวนีย์ ฯลฯ เป็นต้น ต่อเมื่อ "เป็น" กับ "มี" นำหน้าคำธรรมดาจึงจะใช้ "ทรงเป็น" "ทรงมี" เช่น ทรงเป็นทหาร ทรงเป็นครู ทรงเป็นนักปราชญ์ ทรงมีกรรม ทรงมีทุกข์ ทรงมีเงิน ฯลฯ เป็นต้น
    3. คำว่า รับเสด็จ ไม่ใช้ ถวายการต้อนรับ เพราะไม่ใช่สิ่งของและไม่ใช่คำราชาศัพท์เหมือนถวายพระพรชัย นอกจากนี้ หากเป็นพระราชาต่างประเทศไม่ใช้บรม เช่น พระราชินีนาถวิกตอเรีย ไม่ใช้สมเด็จพระบรมราชินีนาถ คำว่า บรม ใช้เฉพาะพระเจ้าแผ่นดินไทย
    4. มีราชาศัพท์บางคำใช้เฉพาะพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเท่านั้น ได้แก่ วันพระบรมราชสมภพ เพราะสมเด็จพระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมฯ จะใช้วันพระราชสมภพ พระราชวงศ์ทั่วไป ใช้วันประสูติ พระบรมราชโองการ สมเด็จพระบรมราชินีนาถ ใช้พระราชเสาวนีย์เหนือเกล้าเหนือกระหม่อมสั่งว่า สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ใช้พระราชบัณฑูรเหนือเกล้าเหนือกระหม่อม สมเด็จพระบรมราชกุมารี มีพระราชบัญชาเหนือเกล้าเหนือกระหม่อมสั่งว่า พระราชวงศ์ทั่วไปใช้พระราชดำรัสสั่ง
    5. คำขึ้นต้น ขอเดชะฝ่าละอองธุลีพระบาทปกเกล้าปกกระหม่อม ลงท้ายด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ ใช้เฉพาะพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระบรมราชินีนาถ สำหรับพระบรมโอรสาธิราชและสมเด็จพระบรมราชกุมารีใช้ขอพระราชทานกราบบังคมทูล ทราบฝ่าละอองพระบาท ส่วนสมเด็จเจ้าฟ้าใช้ขอพระราชทานกราบทูล ทรงฝ่าพระบาท ลงท้ายว่าด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมหรือควรมิควรแล้วแต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม กับควรมิควรแล้วแต่จะโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ตามลำดับ ชั้นพระองค์เจ้าพระราชโอรสธิดาทุกรัชกาลใช้ขอประทานกราบทูลทราบฝ่าพระบาท ลงท้ายเหมือนเจ้าฟ้า ชั้นพระเจ้าวรวงศ์เธอพระ
    วรวงศ์เธอใช้กราบทูล ทราบฝ่าพระบาท ลงท้ายควรมิควรแล้วแต่จะโปรด ชั้นหม่อมเจ้าทูล ทรงทราบ ลงท้ายแล้วแต่จะโปรด
    จากเรื่อง "วัฒนธรรมทางภาษา" ของ ประภาศรี สีหอำไพ, โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2549


    </TD></TR><TR><TD align=right>โดย tazza</TD></TR><TR><TD align=right>วันที่ เสาร์ กุมภาพันธ์ 2550 </TD></TR><TR><TD align=middle><SCRIPT language=Javascript> function printWindow(){ browserVersion = parseInt(navigator.appVersion) if (browserVersion >= 4) window.print() } </SCRIPT></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  9. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.most.go.th/200year/king200year.htm

    พระจอมเกล้า ๒๐๐ ปี
    พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ พระนามเดิม "สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามงกุฎสมมติเทววงศ์พงศ์อิศวร กษัตริย์ขัตติยราชกุมาร" เป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกรัชกาลที่ 1 เป็นพระราชโอรส องค์ที่ 43 ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยรัชกาลที่ 2 และเป็นพระองค์ที่ 2 ในสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี พระราชสมภพเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 ตรงกับเดือน 11 ขึ้น 14 ค่ำ ปีชวด ฉศก จุลศักราช 1166
    พ.ศ. 2359 พระชนมายุได้ 13 พรรษา สมเด็จพระบรมชนกนาถโปรดให้ตั้งการพระราชพิธีโสกันต์เต็มตามพระอิสริยยศของพระเจ้าลูกยาเธอ ชั้นเจ้าฟ้า คือ ตั้งเขาไกรลาสและที่สรงสนาน
    พ.ศ. 2360 ตรงกับปีฉลู ทรงผนวชเป็นสามเณร ประทับอยู่ที่วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์
    พ.ศ. 2367 ตรงกับปีวอก ฉศก จุลศักราช 1186 ทรงผนวช ณ วัดพระศรีรัตนศาสดารามภายในพระบรมมหาราชวัง โดยมีสมเด็จพระสังฆราช (ด่อน) วัดมหาธาตุฯ เป็นพระอุปัชฌาย์ มีพระฉายาว่า "วชิรญาณมหาเถระ" (สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ 2514 : 90) พอทรงผนวชได้ 15 วัน สมเด็จพระบรมชนกนาถ เสด็จสวรรคตและไม่ได้ดำรัสสั่งมอบเวนราชสมบัติพระราชทานแก่เจ้านายพระองค์ใดให้เป็นรัชทายาท พระราชวงศ์กับเสนาบดี จึงต้องประชุมปรึกษากันตามธรรมเนียมโบราณว่า ควรเชิญเจ้านายพระองค์ใดขึ้นเสวยราชย์ ครอบครองบ้านเมือง ในเวลานั้นว่าตามนิตินัยสมเด็จเจ้าฟ้ามงกุฎฯ สมควรได้รับราชสมบัติเพราะเป็นพระราชโอรสชั้นเจ้าฟ้าพระองค์ใหญ่ที่ประสูติจากพระอัครมเหสี โดยทั่วไปถือกันว่าทรงเป็นรัชทายาท แต่การสืบราชสันตติวงศ์นี้ไม่มีกฎหมายกำหนดไว้แน่นอน เมื่อพระมหากษัตริย์เสด็จสวรรคต ที่ปรึกษาอันประกอบด้วย เจ้านายและข้าราชการชั้นสูง จะเลือกพระราชาองค์ใหม่ โดยทั่วไปจะเลือกสมเด็จพระราชโอรสองค์แรกที่ประสูติแต่พระอัครมเหสี ซึ่งไม่มีความจำเป็นที่จะต้องกระทำดังนี้เสมอไป (กริสโวลด์ 2511 : 5) การสืบราชสมบัติของไทยนี้ ไม่ได้กำหนดไว้แน่นอนถึงคุณสมบัติของผู้เป็นรัชทายาท ในลายพระหัตถ์ฉบับหนึ่งที่สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ มีไปถึงสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ระบุถึงเรื่องนี้อย่างชัดเจนว่า ตามข้อความข้างบนนี้ เจ้านายทุกพระองค์ก็มีสิทธิที่จะได้เป็นกษัตริย์ทั้งสิ้น ถ้าหากทรงมีคุณสมบัติและความสามารถ และที่สำคัญคือมีกำลังเหนือกว่าเจ้านายองค์อื่นๆ (สมเด็จฯเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ และสมเด็จฯกรมพระยาดำรงราชา นุภาพ 2504 : 33-34 อ้างถึงใน นฤมล ธีรวัฒน์ 2525 : 9-10)
    ในเวลานั้นกรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ (พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว) ซึ่งเป็นพระองค์เจ้าลูกยาเธอพระองค์ใหญ่ เจริญพระชันษากว่าพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวถึง 17 ปี ทรงเปี่ยมด้วยประสบการณ์และความสามารถในการบริหารราชการแผ่นดิน และทรงบังคับบัญชาราชการต่างพระเนตรพระกรรณ เมื่อตอนปลายรัชกาลที่ 2 ผู้คนยำเกรงนับถือเป็นอันมาก ที่ประชุมราชวงศ์และเสนาบดี เห็นว่าควรถวายราชสมบัติแด่กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ และทูลถามสมเด็จเจ้าฟ้ามงกุฎฯ ว่าทรงปรารถนาราชสมบัติหรือจะทรงผนวชต่อไป สมเด็จเจ้าฟ้ามงกุฎฯทรงพิจารณาเห็นว่า ถ้าพระองค์ปรารถนาราชสมบัติในเวลานั้น พระราชวงศ์คงแตกสามัคคีกัน อาจจะเกิดเหตุร้ายขึ้นในบ้านเมือง จึงตรัสตอบว่ามีพระประสงค์จะทรงผนวชต่อไป ทำให้สิ้นความลำบากในการที่จะถวายราชสมบัติแด่พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ 2514 : 62-63)
    เมื่อจะต้องทรงเพศเป็นสมณะต่อไปไม่มีกำหนด ทรงพระราชดำริว่าฐานะของพระองค์ไม่ควรจะเกี่ยวข้องกับการเมือง จึงทรงตั้งพระหฤทัยจำนงเรียนพระพุทธศาสนาให้รอบรู้อย่างถ่องแท้ ในระยะแรกทรงศึกษาทางวิปัสสนาธุระที่วัดสมอราย (วัด ราชาธิวาส) ต่อมาเสด็จไปประทับที่วัดมหาธาตุ ทรงศึกษาภาษามคธ (ภาษาบาลี) เพื่อเรียนทางด้านคันถธุระทรงรอบรู้ในภาษามคธสามารถอ่านพระไตรปิฎกโดยลำพังพระองค์เอง จนทราบเนื้อความ สมเด็จพระอนุชาธิราชเจ้าฟ้ามงกุฎฯ ทรงเห็นว่าพระสงฆ์ไทยประพฤติผิดไปจากพระวินัยที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติ เมื่อได้ทรงทราบข่าวว่ามีพระเถรมอญรูปหนึ่ง ชื่อ ซาย มาอยู่ที่วัดบวรมงคลได้เป็นพระสุเมธมุนี ชำนาญพระวินัยปิฎก พระองค์จึงเสด็จไปศึกษาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นด้วย พ.ศ. 2372 พระองค์เสด็จไปประทับที่วัดราชาธิวาส ทรงตรวจสอบพระวินัยที่มีอยู่กับที่ปรากฏในพระไตรปิฎกของฝ่ายเถรวาท ต่อมาทรงตั้งคณะสงฆ์นิกายใหม่ คือ ธรรมยุติกนิกาย แก้ไขวัตรปฏิบัติของพระสงฆ์ไทยให้สมบูรณ์ทั้งพระธรรมและพระวินัย ทรงพระนิพนธ์แบบทำวัตรเช้าเย็นเป็นภาษาบาลีและวางระเบียบทำวัตร ทรงแสดงพระธรรมเทศนามุ่งผลให้คนทั้งหลายรู้หลักของพระพุทธศาสนา และปฏิบัติตามได้จริง พระองค์จึงทรงเป็นผู้นำในการปฏิรูปพระพุทธศาสนา หลังจากที่สมเด็จพระอนุชาธิราชเจ้าฟ้ามงกุฎฯ ทรงตั้งคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย พระเกียรติคุณที่ทรงเชี่ยวชาญพระไตรปิฎกและพระปฏิภาณ ในการแสดงพระธรรมเป็นที่เลื่องลือแพร่หลาย มีพระภิกษุสามเณรมาถวายตัวเป็นศิษย์ บรรดาคฤหัสถ์เลื่อมใสไปถือศีลฟังธรรมมากขึ้น พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงตั้งให้เป็นพระราชาคณะ ณ วัดราชาธิวาส ต่อมาเมื่อ พ.ศ. 2379 จึงโปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนสมณศักดิ์สมเด็จพระอนุชาธิราชเจ้าฟ้ามงกุฎ ฯ ขึ้นเสมอเจ้าคณะรอง แล้วเชิญเสด็จมาครองตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบวรนิเวศวิหาร ในขณะนั้นพระองค์มีพระชนมายุได้ 32 พรรษา และทรงผนวชได้ 12 พรรษา พระองค์ทรงจัดระเบียบการคณะสงฆ์ การปกครองวัด การอบรมฆราวาสที่เข้าวัด ระเบียบสำคัญทั้งหลายดังกล่าวนี้ได้ยึดถือปฏิบัติกันสืบมาถึงปัจจุบัน ทรงปรับปรุงการศึกษาพระปริยัติธรรมอย่างจริงจัง ปรากฏว่าพระสงฆ์ที่วัดบวรนิเวศวิหารสอบได้เปรียญประโยคสูง ๆ เป็นจำนวนมาก
     
  10. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระอนุชาธิราชเจ้าฟ้ามงกุฎฯ มีตำแหน่งในคณะมหาเถระ ผู้สอบปริยัติธรรมในสนามหลวง ต่อมาได้ทรงมอบการสอบพระปริยัติธรรมเป็นสิทธิ์ขาดแก่พระองค์ตลอดรัชกาล พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเลื่อมใสในทางวัตรปฏิบัติ และความรู้ของพระสงฆ์คณะธรรมยุต ไม่โปรดอยู่อย่างเดียว คือการห่มผ้าแหวกอย่างพระมอญ จนใกล้จะสวรรคตจึงได้มีรับสั่งในเรื่องนี้ สมเด็จพระอนุชาธิราชเจ้าฟ้ามงกุฎฯ ทรงยอมแก้ไขตามพระราชประสงค์ จะเห็นว่าพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสนับสนุนทางด้านศาสนาของสมเด็จพระอนุชาธิราชเจ้าฟ้ามงกุฎฯ เป็นอย่างดี และมีพระราชดำริว่าสมเด็จพระอนุชาธิราชเจ้าฟ้ามงกุฎฯ ใฝ่พระหฤทัยศึกษาพระศาสนานั้นเป็นความดี อันสมควรจะทรงอุดหนุน จะได้เป็นกำลังช่วยทำนุบำรุงทางฝ่ายพุทธจักร และเป็นเกียรติแก่พระราชวงศ์ (สมเด็จฯกรมพระยาดำรงราชานุภาพ 2514 : 71) และสมเด็จพระอนุชาธิราชเจ้าฟ้ามงกุฎฯ ก็ทรงกล่าวยกย่องพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า "...ได้กระทำแล้วซึ่งความสงเคราะห์แก่พระญาติทั้งหลายแม้ทั้งปวงโดยชอบเทียว เป็นผู้เป็นไปกับด้วยความเคารพ กระทำราชกิจทั้งหลายให้เป็นไปทั่วแล้วโดยชอบเทียว เป็นผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยพระคุณทั้งหลาย มีพระศรัทธาและพระญาณ เป็นต้น เป็นผู้เลื่อมใสแล้วในพระพุทธศาสนาให้กระทำแล้วซึ่งวิหารทั้งหลายเป็นอันมาก ประณีตดีแล้ว เป็นที่รื่นรมย์ใจเป็นผู้มีพระคุณอันบุคคลพึงสรรเสริญ ด้วยพระคุณตามเหตุที่ได้เป็นแล้ว" (พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว 2457 : 17 อ้างถึงในวิลาสวงศ์ พงศะบุตร 2525 : 14)
    ระหว่างที่สมเด็จพระอนุชาธิราชเจ้าฟ้ามงกุฎฯ ทรงผนวช เป็นเวลาที่มหาอำนาจตะวันตกเริ่มขยายอิทธิพลเข้ามาในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และมิชชันนารีอเมริกันเข้ามาเผยแพร่ศาสนาคริสต์ พระองค์ทรงตระหนักถึงความจำเป็นต้องเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ เพื่อเป็นการนำทางไปสู่การศึกษาวิทยาการแขนงต่างๆ ต่อไป ทรงสนพระทัยในวิทยาการตะวันตกโดยเฉพาะด้านดาราศาสตร์ ภูมิศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ทรงติดต่อกับชาวต่างประเทศเพื่อจะได้ทรงทราบเรื่องราวของต่างประเทศมากขึ้น ทรงศึกษาหนังสือข่าวที่ฝรั่งพิมพ์ในเมืองจีน และสิงคโปร์ ปีนัง (สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ 2514 : 101) ทรงให้เหตุผลในการศึกษาภาษาฝรั่ง ดังอ้างถึงในแนวพระราชดำริเก้ารัชกาล (2527 : 71) ว่า "... แต่แผ่นดินต่อมา พวกฯ ข้าฯ ยังไม่ได้เป็นใหญ่ในราชการแผ่นดิน แต่เห็นว่าท่านผู้ครองแผ่นดินครั้งนั้น คิดการเป็น โบราณ ๆ ป่า ๆ นัก พูดเจรจากันไม่เจ กลัวว่า ทำไป ๆ กลัวจะล้มคว่ำ ล้มหงายลง แลเห็นว่าอายุตัวยังหนุ่มอยู่ จะอยู่ไปได้นาน จึงคิดอ่านร่ำเรียนหนังสือและภาสาอังกฤษรู้มา แต่ก่อนยังไม่ได้ว่าราชการแผ่นดิน เพราะไว้ใจว่าภาสาที่รู้จะเป็นที่พึ่งคุ้มแต่ตัวเองได้อย่างหนึ่ง ไม่รู้ว่าอย่างไรต่ออย่างไร จะอยู่ที่นี่ฤาจะนำไปข้างไหน ภาสากว้างดีกว่าภาสาแคบ..." การศึกษาหาความรู้อย่างกว้างขวางทางวิทยาการและความเป็นไปของโลกภายนอก ทำให้พระองค์ทรงมีความคิดเห็นก้าวหน้า และทรงเล็งเห็นความจำเป็นสองประการ คือ
    1. วิทยาการความเจริญตามแบบประเทศตะวันตกเป็นสิ่งที่ควรสนใจ มีประโยชน์ และจำเป็นอย่างยิ่งต่อประเทศในอนาคต ชาวไทยจะต้องศึกษาวิทยาการใหม่ ๆ เหล่านี้
    2. สถานการณ์ของประเทศใกล้เคียงที่เกี่ยวข้องกับคนต่างประเทศ ชี้ให้เห็นว่าถึงเวลาที่ประเทศไทยต้องเปลี่ยนวิเทโศบายของประเทศ ทั้งนี้เพื่อความปลอดภัยของประเทศและเพื่อปรับปรุงประเทศให้ทันสมัย (วิลาสวงศ์ พงศะบุตร 2525 : 13)
    ผลดีจากการที่สมเด็จพระอนุชาธิราชเจ้าฟ้ามงกุฎฯ ทรงผนวชนานถึง 27 ปี เมื่อทรงอยู่ในฐานะของพระสงฆ์ทรงได้รับประโยชน์ต่างจากพระเจ้าแผ่นดินองค์ก่อน ซึ่งทรงใช้ชีวิตจำกัดอยู่เฉพาะในเขตพระราชวัง พระองค์เสด็จธุดงค์ไปตามหัวเมืองต่างๆ ทรงเห็นสภาพบ้านเมือง รู้จักความเป็นอยู่ของชาวเมือง รับรู้ความทุกข์ ความสุขของราษฎร การเสด็จออกบิณฑบาต การแสดงพระธรรมเทศนาเยี่ยงพระสงฆ์ทั่วไป เปิดโอกาสให้พบปะกับราษฎรทุกชนชั้น ซึ่งเป็นประสบการณ์ที่มีค่ายิ่ง และเป็นการเตรียมพระองค์อย่างดีสำหรับการปกครองประเทศในเวลาต่อมา (วิลาสวงศ์ พงศะบุตร 2525 : 15)
    ในปีจอ พ.ศ. 2393 พระบาทสมเด็จพระ นั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระประชวร และพระราชทาน พระบรมราชานุญาตให้พระราชวงศ์กับเสนาบดี เลือกรัชทายาทเตรียมเปลี่ยนรัชกาลเสนาบดีไปเฝ้าสมเด็จพระอนุชาธิราชเจ้าฟ้ามงกุฎฯ กราบทูลเชิญเสด็จขึ้นครองราชสมบัติ สมเด็จพระอนุชาธิราชเจ้าฟ้ามงกุฎฯ ทรงศึกษาโหราศาสตร์ ทรงเชื่อตำราพยากรณ์ ตรัสว่า ถ้าจะถวายราชสมบัติแก่พระองค์ ขอให้ถวายแก่สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าฯ กรมขุนอิศเรศรังสรรค์ด้วย เพราะสมเด็จพระอนุชาดวงชะตาดีวิเศษถึงฐานะที่จะได้เป็นพระเจ้าแผ่นดิน ความที่กล่าวมานี้เป็นมูลเหตุที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสถาปนาพระมหาอุปราชให้ทรงศักดิ์พิเศษเป็นพระเจ้าแผ่นดินที่สอง ทรงพระนามว่า "พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว" (สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ 2514 : 112-113)

    การเชิญสมเด็จพระอนุชาธิราชเจ้าฟ้ามงกุฎฯ เสด็จขึ้นครองราชย์นั้น นอกจากที่พระองค์ทรงมีสิทธิธรรมของการเป็นเจ้านายชั้นสูงที่ดำรงพระอิสริยยศชั้นเจ้าฟ้า และทรงเจริญวัยวุฒิ ถึง 47 พรรษา ยังมีเหตุผลอื่นประกอบอีกที่ทำให้ทรงได้รับการยินยอมและการสนับสนุนจากเจ้านายและข้าราชการผู้ใหญ่ ตลอดระยะเวลาที่ทรงผนวช ทรงสร้างสมบารมีในฐานะผู้ก่อตั้งคณะสงฆ์
    ธรรมยุติกนิกาย ทรงศึกษาพระปริยัติธรรมอย่างแตกฉาน และเคร่งครัด ในวัตรปฏิบัติ ทรงมีคุณธรรมของความเป็น "ธรรมราชา" ซึ่งเป็นเงื่อนไขสำคัญในการเป็นผู้ปกครองที่ดี ทรงมีพระเกียรติคุณแพร่หลายในหมู่พุทธศาสนิกชน ทั้งปวง ทรงสนพระทัย
    ศึกษาสถานการณ์ทางการเมืองของโลกภายนอกตลอดเวลา ทรงรอบรู้ในภาษาอังกฤษและวิทยาการตะวันตกไม่น้อยกว่าเจ้านาย และขุนนางที่จัดว่าเป็น "กลุ่มก้าวหน้า" ทรงคบค้าสมาคมกับชาวตะวันตก ทำให้พระองค์ทรงได้รับการยกย่องว่า ทรงเป็นหนึ่งในบรรดาคนไทยที่มีความคิดเห็นก้าวหน้าทันสมัย
    ในด้านพระราชอัธยาศัย ของสมเด็จพระ อนุชาธิราชเจ้าฟ้ามงกุฎฯ ทรงนิยมวิธีการประนีประนอมในการแก้ปัญหา มีน้ำพระทัยเมตตา ทรงรักความยุติธรรม มิได้ทรงมีจิตคิดพยาบาทมาดร้าย แม้แต่กับผู้ที่ตั้งตัวเป็นศัตรู ทรงหลีกเลี่ยงที่จะมีข้อขัดแย้งรุนแรงกับฝ่ายใด และทรงพร้อมที่จะเป็นมิตรกับชนทุกชั้นทุกชาติสมเด็จพระอนุชาธิราชเจ้าฟ้ามงกุฎฯ ทรงสามารถผสมผสานลักษณะที่ขัดแย้งกันของผู้ปกครองที่ยึดมั่นในคุณธรรมดั้งเดิมตามแบบประเพณีตะวันออก และผู้ที่นิยมความคิดก้าวหน้าแบบตะวันตกได้อย่างกลมกลืน จนเป็นที่ยอมรับว่าพระองค์ทรงมีคุณสมบัติที่เหมาะสมที่สุดกับสภาพการเมือง ทั้งภายในและภายนอกประเทศในระยะนั้น คงจะเป็นด้วยเหตุผลดังกล่าวมานี้ ที่ประชุมพระบรมวงศานุวงศ์ เสนาบดีและข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ จึงอัญเชิญให้ พระองค์ลาผนวชขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์ พระองค์ที่ 4 แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ (วิลาสวงศ์ พงศะบุตร 2525 : 22)
    ครั้นถึงวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2394 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคตขุนนางผู้ใหญ่ซึ่งประกอบด้วย เจ้าพระยาพระคลังว่าที่สมุหพระกลาโหม พระยาราชสุภาวดี ว่าที่สมุหนายก (ม.จ. พูนพิศมัย ดิศกุล 2534 : 128) จึงเชิญเสด็จสมเด็จพระอนุชาธิราชเจ้าฟ้ามงกุฎฯ จากวัดบวรนิเวศวิหาร แห่เสด็จโดยกระบวนเรือมาขึ้นที่ท่าตำหนักแพ (ซึ่งขนานนามใหม่ในรัชกาลที่ 4 ว่า ท่าราชวรดิษฐ์) รับเสด็จทรงพระราชยานแห่เข้าพระราชวังหลวง เสด็จขึ้นพระมหามณเฑียร ถวายน้ำสรงพระบรมศพ สมเด็จพระเชษฐาธิราช จากนั้นเสด็จประทับที่ในพระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม เจ้านายและเสนาบดีเข้าเฝ้ากราบทูลเชิญเสด็จผ่านพิภพ จึงทรงลาผนวช เมื่อวันที่ 6 เมษายน พ.ศ.2394 เวลา 1 นาฬิกา นับเวลาทรงผนวชอยู่ 27 พรรษา เมื่อพระองค์ทรงลาผนวชแล้วได้ประทับว่าราชการอยู่ ณ พลับพลา ระหว่างโรงแสงดั่นจนถึงฤกษ์ทำพระราชพิธีบรมราชาภิเษกและเฉลิมพระราชมณเฑียร (สมเด็จฯกรมพระยาดำรงราชานุภาพ 2514 : 114-115) ซึ่งประกอบขึ้นในวันพฤหัสบดี เดือน 6 ขึ้น 15 ค่ำ ตรงกับวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2394 ณ พระที่นั่งอมรินทร วินิจฉัย แล้วเสด็จออกเลียบพระนครทางสถลมารคและชลมารค เมื่อวันที่ 20 และ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2394 มีพระนามจารึกในแผ่นพระสุพรรณบัฏว่า
    "พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามกุฎ สุทธสมมติเทพยพงศ์ วงศาดิศวรกษัตริย์ วรขัตติยราชนิกโรดม จาตุรันตบรมมหาจักรพรรดิราชสังกาศ อุภโตสุชาติสังสุทธเคราหณีจักรีบรมนาถ อดิศวรราชรามวรังกูร สุจริตมูลสุสาธิต อุกฤษฐวิบูล บูรพาดูลกฤษฎาภินิหาร สุภาธิการรังสฤษฏิ์ ธัญญลักษณะวิจิตรโสภาคยสรรพางค์ มหาชโนตมางคประณต บาทบงกชยุคล ประสิทธิสรรพศุภผลอุดมบรมสุขุ มาลยมหาบุรุษรัตน์ ศึกษาพิพัฒสรรพโกศล สุวิสุทธวิมลศุภศีลสมาจาร เพ็ชรญาณประภาไพโรจน์ อเนกโกฏิสาธุคุณวิบูลสันดาน ทิพยเทพาวตาร ไพศาลเกียรติคุณ อดุลยพิเศษ สรรพเทเวศรานุรักษ์ เอกอัครมหาบุรุษ สุตพุทธมหากวี ตรีปิฎกาทิโกศลวิมลปรีชามหาอุดมบัณฑิต สุนทรวิจิตรปฏิภาณ บริบูรณคุณสารสยามาธิโลกดิลก มหาบริวารนายก อนันตมหันตวรฤทธิเดช สรรพวิเศษสิรินทร มหาชนนิกรสโมสรสมมติ ประสิทธิวรยศมโหดม บรมราชสมบัติ นพปฎลเศวตฉัตราดิฉัตร สิริรัตโนปลักษณะมหาบรมราชา ภิเษกาภิสิตสรรพทศทิศวิชัตชัย สกล มไหศวริยมหาสวามินทร์ มเหศวรมหินทรมหาราชาธิราชวโรดม บรมนาถชาติอาชาวสัย พุทธาทิไตรรัตนสรณารักษ์ อุกฤษฐศักดิ์อัครนเรศวราธิบดี เมตตากรุณาสีตลหฤทัย อโนปไมยบุญญการ สกลไพศาลมหารัษฎา ธิเบนทร์ ปรเมนทรธรรมิก มหาราชาธิราช บรมนาถบพิตรพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว" เสด็จเถลิงถวัลยราชย์ในพระบรมมหาราชวัง กรุงเทพมหานคร อมรรัตนโกสินทรมหินทรายุธยา
    เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติแล้ว โปรดเกล้าให้สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจุฑามณี กรมขุนอิศเรศรังสรรค์ เป็นพระมหาอุปราช แต่ให้มีพระเกียรติยศอย่างพระเจ้าแผ่นดิน ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดพระราชพิธีบรมราชาภิเษกแก่พระอนุชา เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2394 เสด็จเลียบพระนครทางสถลมารค เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2394
    การขึ้นครองราชย์ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และการสถาปนาพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวขึ้นเป็น "พระเจ้าแผ่นดิน ที่สอง"
    เป็นที่พึงพอใจและชื่นชมยินดีอย่างมากของพสกนิกรในแผ่นดินและชาวต่างประเทศซึ่งได้ส่งข่าวไปยังสิงค์โปร์ว่าการเปลี่ยนรัชกาล ในวันที่ 2 เมษายน เป็นไปด้วยความสงบ เจ้านาย ขุนนาง ประชาชนไทยพอใจในพระมหากษัตริย์พระองค์ใหม่ หนังสือพิมพ์ "สแตรทส์ ไทม์" (Straits Times) ที่สิงค์โปร์ลงข่าว "... เป็นการเปลี่ยนแปลงที่ให้ความหวังอันยิ่งใหญ่แก่ประชาชนชาวสยามและเป็นที่น่าสนใจ แต่ประชาชาติภายนอก..." (William Bradley 1967 : 152 อ้างถึงในวิลาสวงศ์ พงศะบุตร 2525 : 28-29)
    เพื่อให้เกิดความเข้าใจในพระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จะกล่าวถึงสภาพทั่วไปทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคมในสมัยนั้นโดยสังเขป คือ
    สภาพการเมือง ข้อสังเกตเกี่ยวกับการเมืองในสมัยรัชกาลที่ 4 มีดังนี้
    1. การขึ้นครองราชย์ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเกิดจากการสนับสนุนของกลุ่มขุนนางตระกูลบุนนาค เป็นกลุ่มขุนนางที่มีอำนาจมากในยุคนั้น ได้ทรงตอบแทนขุนนางตระกูลนี้ด้วยตำแหน่งกลาโหมและการคลัง ซึ่งเป็นตำแหน่งทางการเมืองที่มีอำนาจและสำคัญต่อประเทศ และสำหรับพระราชวงศ์ได้ทรงบวรราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชอนุชาของพระองค์เป็นพระเจ้าแผ่นดินองค์ที่สอง ซึ่งแสดงให้เห็นว่า พระราชอำนาจที่แท้จริงยังมิได้อยู่ที่สถาบันพระมหากษัตริย์
    2. จักรวรรดินิยมและชนชาวตะวันตกในประเทศไทย เป็นกลุ่มสนับสนุนในการเลือกสรรพระมหากษัตริย์ เห็นได้จากกรณีที่ชาวตะวันตกสนับสนุนพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวให้ทรงขึ้นครองราชย์
    3. ภัยของจักรวรรดินิยม ซึ่งแย่งชิงและครอบครองแผ่นดินประเทศเพื่อนบ้านใกล้ชิดประเทศไทย และพยายามที่จะรุกรานอธิปไตยของประเทศไทย
    4. ในช่วงผลัดแผ่นดิน จากพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว มาเป็นแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประเทศอังกฤษนำโดย เซอร์ เจมส์ บรุค (Sir James Brooke) พยายามที่จะขอแก้ไขสนธิสัญญาเบอร์นี่ ซึ่งลงนามต่อกันไว้เมื่อรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อต้องการ
    - เรียกร้องสิทธิสภาพนอกอาณาเขตให้แก่คนอังกฤษและคนในบังคับของอังกฤษ
    - เรียกร้องให้ประเทศไทยเปิดการค้าเสรี ยกเลิกสัมปทานและระบบผูกขาดใดๆ ทั้งสิ้น
    - ชักชวนให้รัฐบาลไทยอนุญาตส่งข้าวเป็นสินค้าออก โดยไม่เป็นสินค้าต้องห้ามอีกต่อไป
    สถานการณ์เช่นนี้ จะมีผลให้เกิดภัยต่อประเทศหรือไม่ ย่อมขึ้นกับการดำเนินพระวิเทโศบายของพระมหากษัตริย์องค์พระประมุขของประเทศ
    สภาพเศรษฐกิจ
    ประเทศไทยเป็นที่รู้จักของนานาประเทศในเรื่องทรัพยากรธรรมชาติ แม้ว่าทรัพยากรเหล่านั้นรัฐบาลจะต้อง อาศัยแรงงานไพร่ในการจัดหาและผลิตขึ้น และมีปริมาณไม่มากนักในแต่ละปีราษฎรส่วนใหญ่ไม่รู้จักการค้าขาย เมื่อชาติมหาอำนาจตะวันตกเข้ามา และยื่นข้อเสนอในเรื่องการค้ากับไทย รัฐบาลไทยจึงไม่สามารถเป็นผู้กำหนดและวางนโยบายในการผลิตเองได้ นอกจากจะมีบทบาทในการสนองตอบความต้องการของประเทศมหาอำนาจตะวันตก และแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าเพื่ออำนวยความสะดวกในการค้าระหว่างประเทศเท่านั้น ผลก็คือ
    1. ด้านการเกษตร มีการเปลี่ยนแปลงอย่างสำคัญ เพราะแต่เดิมนั้นไทยมีระบบการค้าแบบ ผูกขาดโดยเฉพาะอย่างยิ่งข้าวซึ่งเป็นสินค้าต้องห้าม ห้ามการนำออกนอกประเทศเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงระบบการค้า ทำให้มีการผลิตข้าวเพื่อส่งออกแทนการผลิตเพื่อกินเพื่อใช้แต่ภายในประเทศ มีการขยายพื้นที่เพาะปลูกมากขึ้น และนอกจากนี้ยังเลิกปลูกพืชผลเกษตรอย่างอื่น เช่น อ้อยซึ่งเคยเป็นพืชเศรษฐกิจในสมัยรัตนโกสินทร์ มาปลูกข้าวกันมากขึ้น
    2. ด้านการค้า มีการเปลี่ยนแปลงการค้า มาเป็นการค้าเสรี และอาศัยระบบเงินตรา ดังจะเห็นกฎหมายตลอดจนประกาศทำความเข้าใจเกี่ยวกับระบบเงินตราหลายฉบับในรัชกาลนี้
     
  11. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    สภาพสังคม
    รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นสมัยแรกของการเปลี่ยนแปลงบ้านเมืองเพื่อความทันสมัย จะเห็นได้ว่ามีการเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคมและวัฒนธรรม การเปลี่ยนแปลงนี้เป็นผลสืบเนื่องที่ต้องการเน้นให้เห็นว่าประเทศไทยเป็นประเทศที่มีอารยธรรมประเทศหนึ่ง และเป็นที่ยอมรับของนานาชาติ (กระทรวงศึกษาธิการ 2527 : 47-49)
    พระราชกรณียกิจ พระราชดำริ พระราชดำรัส ที่คัดลอกมานำเสนอในที่นี้ จะทำให้มองเห็นบทบาทของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงแก้ไขเหตุการณ์ภายนอกประเทศและภายในประเทศด้วยพระปรีชาญาณอันสุขุมคัมภีรภาพอย่างลึกซึ้ง
    หมายเหตุ อักขระและตัวอักษรในพระราชดำรัส พระราชดำริ และพระราชกำหนดต่าง ๆ ที่ปรากฏในหนังสือเล่มนี้ได้คัดลอกมาตามที่ใช้ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
    ยาทนั้นเมืองไทยดูเป็นเข้าใจน้อยเต็มที แม้เป็นในกฎมณเฑียรบาลก็มิได้กล่าวแย้มพรายไว้ที่ไหนเลย คงมีแต่พระราชปณิธาน ของ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
    พระเจ้าแผ่นดินคนทั้งปวงยกย่องตั้งไว้เป็นที่พึ่ง ใครมีทุกข์ร้อนถ้อยความประการใด ก็ย่อมมาร้องให้ช่วย ดังหนึ่งทารกเมื่อมีเหตุแล้วก็มาร้องหาบิดา มารดา เพราะฉะนั้นพระเจ้าแผ่นดินชื่อว่าคนทั้งปวงยกย่องให้เป็นบิดา มารดาของตัวแล้วก็ มีความกรุณาแก่คนทั้งปวง ดังหนึ่งบิดา มารดา กรุณาแก่ผู้บุตรจริงๆ โดยสุจริต...
    คัดจากหนังสือ แนวพระราชดำริเก้ารัชกาล
    ของกรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ จัดพิมพ์ พ.ศ. 2527

    หลักนิยมอยู่แน่นอนแต่เพียงว่า ผู้สืบราชสมบัติจะต้องเป็นเจ้าเท่านั้นจึงเกิดการชิงราชสมบัติขึ้นเนือง ๆ ใครมีอำนา
    พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงตระหนักว่า ประเทศไทยต้องยกเลิกการแยกตัวอยู่อย่างโดดเดี่ยวเช่นที่เคยทำมา ต้องยอมทำการค้ากับต่างประเทศและรับความคิดเห็นใหม่ ๆ แก้ไขเปลี่ยนแปลงประเพณีอันล้าสมัย ประมุขของประเทศไทยในภายภาคหน้าจำต้องศึกษาถึงความละเอียดอ่อน ตามความคิดเห็นทางวิทยาการทูต และการปกครองบ้านเมืองแบบตะวันตก ทรงตระหนักว่าการเปลี่ยนแปลงเช่นนี้ต้องทำไปอย่างรวดเร็ว สิ่งใดที่ชาติตะวันตกทำมาเป็นเวลาร้อยๆ ปี ประเทศไทยต้องทำให้ได้ในระยะเร็วกว่านั้น การเปลี่ยนแปลงของพระองค์เป็นการปฏิวัติที่แปลกประหลาดที่สุดในประวัติศาสตร์ เพราะเหตุว่าไม่ได้เกิดขึ้นจากประชามติหรือเกิดจากความยินยอมของคณะก้าวหน้าหนุ่มที่บังคับเอาจากพระเจ้าแผ่นดิน หากเกิดจากพระองค์เองซึ่งเป็นทั้งพระเจ้าแผ่นดินและผู้นำคณะก้าวหน้าไปพร้อมกัน ตลอด 17 ปีที่พระองค์เสด็จขึ้นครองราชย์ พระองค์ได้ทรงเปลี่ยนโฉมหน้าทั้งหมดของประเทศไทย (กริสโวลด์ 2511 : 2-3)
    การที่พระราชาในระบอบสมบูรณาญาสิทธิ-ราชย์ ทรงยอมเสียสละอย่างเต็มพระราชหฤทัย เพื่อปรับปรุงประเทศไปสู่รากฐานประชาธิปไตยสมัยใหม่ ในขณะที่ราษฎรของพระองค์เองไม่ได้เคยนึกฝันถึง สิ่งนี้เลย โดยทฤษฎีพระราชาแห่งประเทศไทย ทรงปกครองแผ่นดินตามระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ทรงเป็นเจ้าชีวิต และประชาชนก็เป็นสมบัติของพระองค์ หากพระองค์มิได้ทรงคิดเช่นนั้น ทรงเห็นว่าสถาบันพระมหากษัตริย์มีลักษณะเป็น "มนุษย์" มากขึ้น ไม่ใช่เทพศักดิ์สิทธิ์ พระมหากษัตริย์ย่อมมีทั้งส่วนดีและไม่ดี ตามวิสัยแห่งมนุษย์ เมื่อถูกยกย่องให้เป็น "เจ้าชีวิต" ก็ควรเป็นเจ้าชีวิตที่วางตัวดุจบิดามารดาอันเป็นที่พึ่งของราษฎร พระองค์ทรงวางรากฐานให้แก่สถาบันพระมหากษัตริย์ในแง่ความสุภาพ อ่อนน้อม ถ่อมตน ความสำนึกในหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ที่พึงมีต่อผู้ใต้การปกครอง (นฤมล ธีรวัตร 2525 : 202) พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงดำรงอยู่ในภาวะของภิกษุถึง 27 พรรษา ทำให้ทรงทราบความจริงว่า สังฆภาวะเป็นประชาธิปไตยอย่างแท้จริง และพระองค์ได้เสด็จธุดงค์โดยพระบาทเป็นทางไกลไปในถิ่นต่างๆ ของประเทศ ทำให้ทรงเข้าถึงประชาชน เข้าพระทัยในประชาชน ทรงทราบความต้องการของประชาชนเหล่านั้นได้เป็นอย่างดี ยากที่ผู้ปกครองประเทศโดยทั่วไปจะสามารถทำได้ และการเสด็จธุดงค์ของพระองค์ ทำให้ทรงมีความรู้ทางด้านภูมิศาสตร์และภูมิประเทศ ซึ่งเป็นสิ่งที่พระเจ้าแผ่นดินองค์อื่น ๆ ไม่เคยกระทำ ทำให้พระองค์ทรงใกล้ชิดกับประชาชน ทรงสนทนากับประชาชนซึ่งไม่เคยมีในประวัติศาสตร์ของชาติไทย จากที่ทรงได้เห็นและทรงทราบความจริงเหล่านี้ ทำให้พระองค์ทรงตระหนักดีว่าเมื่อพระองค์เสด็จขึ้นครองราชย์แล้วจะทรงทำอย่างไร หลังจากพระราชพิธีบรมราชาภิเษกการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่จึงเกิดขึ้น หากแต่การนำเอาความคิดอ่านและวิธีการแบบตะวันตกเข้ามาใช้ในเมืองไทยในขณะนั้น เกิดอุปสรรค 2 ประการ คือ
    1. ขณะที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูjหัวเสด็จขึ้นครองราชย์ ในระยะแรกนั้น ข้าราชการ ชั้นสูงส่วนมากยังนิยมการปกครองแบบเก่า มีบุคคลน้อยมากที่เข้าใจในเหตุผลของพระองค์ ที่ทรงต้องเปลี่ยนแปลงแก้ไขการปกครองแบบเก่าไปเป็นแบบตะวันตก และถ้ามีผู้ไม่เห็นชอบในพระบรมราโชบายที่จะเปลี่ยนแปลงแก้ไข ก็จะเกิดความขัดแย้ง อันจะเป็นอุปสรรคในการแก้ไขปรับปรุงประเทศ
    2. หลักการการปกครองของชาวตะวันตก ที่จะนำมาแก้ไขปรับปรุงใช้ในประเทศไทย อาจจะไม่เหมาะกับบ้านเมืองตะวันออก และขัดกับหลักการ ปกครองของไทยในสมัยโบราณ นอกจากนี้ยังมี ข้าราชการประเภทอนุรักษ์นิยมในขณะนั้น ยังเห็นว่า บ้านเมืองที่ปกครองแบบเก่านั้นยังก้าวหน้า ประชาชนอยู่ดีกินดีอยู่แล้ว เมื่อเกิดความคิดขัดแย้งขึ้นเช่นนี้ พระองค์ทรงไม่แน่พระทัยว่า พระราชดำริในการเปลี่ยนแปลงของพระองค์ กับการใช้การปกครองระบบเก่าโดยไม่ต้องเปลี่ยนแปลงอย่างไหน จึงจะเหมาะสมสำหรับประเทศไทย ปัญหานี้ยังไม่มีผู้รอบรู้ที่พอจะถวายความคิดเห็นแก่พระองค์ได้ (ดำเนิร เลขะกุล 2525 : 169-170)
    ด้วยเหตุนี้ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงดำเนินพระบรมราโชบายในการปกครองประเทศ เป็นสายกลางมีลักษณะผสมผสานระหว่างตะวันตกและตะวันออก แม้ในส่วนของพระมหากษัตริย์ ก็เป็นพระมหากษัตริย์แบบตะวันตกและ ตะวันออก ลักษณะที่เป็นตะวันตกนั้น เป็นสิ่งประดับให้มีอารยธรรมยิ่งขึ้น ส่วนลักษณะที่เป็นตะวันออกนั้น คือ การวางพระองค์ประดุจดังบิดาของประชาชน
    โครงสร้างอำนาจการเมืองภายใน
    ปรับปรุงบทบาทของสถาบันพระมหากษัตริย์ให้เหมาะแก่ยุคสมัย เปลี่ยนการบริหารราชการแผ่นดินตามหลักโบราณขัตติยราชประเพณี และยังเป็นพระจริยวัตรตามอุดมคติของพระโพธิสัตว์ที่เสวยราชย์เป็นจักรพรรดิ ซึ่งทำให้ห่างเหินข้าราชการชั้นผู้น้อย โดยเฉพาะอย่างยิ่งราษฎร การรับรู้ของพระมหากษัตริย์ในการติดตามผลงานการบริหารราชการแผ่นดินได้จากเจ้านายขุนนาง ทำให้ราษฎรไม่สามารถพึ่งองค์พระมหากษัตริย์ทางด้านกระบวนการยุติธรรม แม้จะทรงเปิดโอกาสให้มีการถวายฎีกา แต่การถวายฎีกายังเป็นเรื่องยาก ถูกกีดกันกลั่นแกล้งจากเจ้าหน้าที่ข้าราชการ จึงทรงแก้ไขใหม่โดยโปรดให้เขียนฎีกาลงกระดาษ พระองค์เสด็จออกมารับที่พระที่นั่งสุทไธสวรรย์เดือนละ 4 ครั้ง เพื่อผ่อนคลายความทุกข์ยากและพระราชทานความเป็นธรรมแก่ประชาชน พระราชกรณียกิจนี้ นอกจากจะทำให้ทรงทราบเรื่องไม่ดีไม่งามของผู้มีอิทธิพลแล้ว ยังเป็นการปรามมิให้ข้าราชการประพฤติปฏิบัติไม่เป็นธรรมแก่ประชาชนอย่างได้ผล จากจดหมายเหตุรัชกาลที่ 4 จ.ศ. 1213 เลขที่ 59 เรื่องให้ราษฎรร้องทุกข์ (กระทรวงศึกษาธิการ 2527 : 90-91) ความว่า
    "... ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ จะให้ราษฎรเข้ามาร้องถวายฎีกาได้โดยง่าย ให้ทำหลักธงไชยปักขึ้นไว้ผูกเชือกห้อยขอเหล็กลงมาสำหรับเกี่ยวเรื่อง ฎีกาแขวนไว้เฉพาะหน้าพระที่นั่ง ให้ทอดพระเนตรเห็น ให้เจ้าของฎีกาหมอบอยู่ใกล้หลักนี้จะได้รู้เห็น ได้ยินเรื่องราวเองด้วย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจะเสด็จพระราชดำเนินมาดับทุกข์ราษฎรที่ร้องถวายฎีกา ข้างขึ้น 2 ครั้ง ข้างแรม 2 ครั้ง เดือนละ 4 ครั้งแล้วจะมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ราชบุรุษที่สัจซื่อมีสติปัญญาผู้ใดหนึ่ง อ่านเรื่องราวทูลเกล้าฯ ถวายแต่ในเวลานั้น จะได้ไปโปรดเกล้าฯให้มีตระลาการชำระให้แล้วโดยเร็ว อนึ่งราษฎรที่มีคติได้รับความเดือดร้อนประการใดๆ จะถวายฎีกากล่าวโทษผู้กระทำผิดผู้ใดผู้หนึ่ง ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ ฤาจะสมัครขึ้นไปร้องถวายฎีกา ในพระบาทสมเด็จพระบวรปิ่นเกล้าฯ ก็ตามเถิด ด้วยเหตุว่าโจทก์ จำเลยก็อยู่เป็นไพร่ฟ้า ข้าแผ่นดินแห่งเดียวกัน ..."
    พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรด ฯ ที่จะแสดงพระมหากรุณาธิคุณแก่ราษฎรในโอกาสต่าง ๆ เพื่อให้ราษฎรมั่นใจว่าพระองค์เป็นที่พึ่ง ความสัมพันธ์ระหว่างพระองค์กับราษฎรดำเนินไปอย่างดี พระองค์ทรงระวังเสมอที่จะไม่กระทำการ หรือสั่งการที่จะทำให้ราษฎรเดือดร้อน ถ้าหากเมื่อใดที่ออกประกาศเป็นกฎหมายแล้ว เกิดผลเสีย พระองค์ทรงพร้อมที่จะยกเลิกโดยไม่เกรงจะเสียพระเกียรติยศ
    การเปลี่ยนแปลงวิถีทางการเมืองไทย ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ภายนอกประเทศ
    วิถีการปกครองโดยสถาบันพระมหากษัตริย์ มีลักษณะใหม่และพิเศษคือ ความสนิทสนมกับราษฎรซึ่งไม่เคยมีรัชสมัยใดที่ผ่านมาจะเปิดโอกาสให้ราษฎรได้ใกล้ชิดเช่นนี้ ทรงเป็นเจ้าชีวิตที่วางพระองค์ดุจบิดามารดาอันเป็นที่พึ่งของราษฎร โดยทรงประกาศยกเลิกการยิงกระสุน และพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ราษฎรเฝ้าได้ในทางเสด็จพระราชดำเนิน ดังจะเห็นได้จาก ประชุมประกาศรัชกาลที่ 4 ภาค 3 94 (หอพระสมุดวชิรญาณ 2466 : 71-76) ความว่า
    ประกาศยกเลิกยิงกระสุน
    "... แต่ครั้งนั้นมาเจ้าพนักงานก็มิได้เอากระสุนยิงเอาราษฎร จะเป็นอยู่บ้างก็แต่ที่คนมิใช่เทือกแถวเคยนำเสด็จมาเนือง ๆ และมาเป็นพนักงานเรือประตูหน้า เรือประตูหลัง เรือดั้งขึ้นใหม่ๆ ตื่นๆ ถือไปตามพระราชกำหนดเดิม จึงได้ทราบว่ามีเหตุขึ้นบ้าง บัดนี้จึงประกาศซ้ำมา ตั้งแต่นี้สืบไปเมื่อหน้าถ้าเจ้าพนักงานเรือประตูหน้า ประตูหลัง เรือดั้ง ยิงกระสุนถูกราษฎรพวกใดแล้ว ให้พวกนั้นสืบดูให้รู้แน่ว่าเรือประตูหน้า ประตูหลังเรือดั้งลำใด จะเป็นเรือ กรมใด มาร้องฟ้องได้ความแน่แล้ว ก็ให้ว่ากล่าวตามพระราชกำหนดที่ห้ามไว้จะชำระทำโทษให้ ฤาให้ทำขวัญให้โดยสมควร ..." จวาสนาอยู่ในเวลานั้นก็ได้ราชสมบัติ ตกเป็นว่าใครดีก็ได้กัน การที่ พระเจ้าแผ่นดินทรงตั้งพระมหาอุปราชนั้น เพื่อทรงอุดหนุนให้มีกำลังได้สืบราชสมบัติก็มี ตั้งโดยเหตุอื่นบังคับก็มีบ้าง เพราะฉะนั้นจะถือว่ามหาอุปราชเป็นรัชทายาทนั้นไม่ถนัด"
    ประกาศอนุญาตให้ราษฎรเฝ้าได้ในทางเสด็จพระราชดำเนิน
    "... จึงโปรดให้มีประกาศห้ามว่าตั้งแต่นี้สืบไปเมื่อหน้า ถ้าเสด็จพระราชดำเนินไปทางสถลมารคทางชลมารค ก็อย่าให้กรมเมืองนายอำเภอ และกรมไพร่หลวงที่ไปนั่งกองจุกช่องล้อมวง ไล่ราษฎร ชาวบ้านไปไกลเลย และอย่าไปปิดประตูบ้านและประตูโรงประตูร้าน ประตูเรือน ประตูแพ ประตูหน้าถังเสียดังแต่ก่อน ให้ราษฎรเจ้าของบ้านเป็นผู้ใหญ่ในบ้านในเรือน ออกมาคอยเฝ้ารับเสด็จถวายบังคมให้ทอดพระเนตรเห็น ถ้าทรงรู้จัก จะได้ทรงทักทายปราสัยบ้างตามสมควรให้ได้ความยินดี ..."
    ความรู้สึกของพระองค์ในหน้าที่พระมหากษัตริย์ที่ทรงมีต่อประชาชน นับเป็นเครื่องมือที่สำคัญต่อกิจการต่าง ๆ ตลอดจนพระราชกำหนดกฎหมายทุกข้อ และการปฏิรูปทุกอย่างที่ทรงริเริ่มขึ้น
    สถานภาพแห่งสถาบันพระมหากษัตริย์ ให้เป็นการรวมศูนย์อำนาจการเมืองที่สถาบันพระมหากษัตริย์ จัดระเบียบสังคม และการเมืองโดยพระมหากษัตริย์เป็นศูนย์กลางระบบเป็นการเปลี่ยนโครงสร้างความสัมพันธ์ของกลุ่มชนในสังคมไทย ในรัชกาล พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

    ประกาศอนุญาตให้ราษฎรเฝ้าได้ในทางเสด็จพระราชดำเนิน
    "... จึงโปรดให้มีประกาศห้ามว่าตั้งแต่นี้สืบไปเมื่อหน้า ถ้าเสด็จพระราชดำเนินไปทางสถลมารคทางชลมารค ก็อย่าให้กรมเมืองนายอำเภอ และกรมไพร่หลวงที่ไปนั่งกองจุกช่องล้อมวง ไล่ราษฎร ชาวบ้านไปไกลเลย และอย่าไปปิดประตูบ้านและประตูโรงประตูร้าน ประตูเรือน ประตูแพ ประตูหน้าถังเสียดังแต่ก่อน ให้ราษฎรเจ้าของบ้านเป็นผู้ใหญ่ในบ้านในเรือน ออกมาคอยเฝ้ารับเสด็จถวายบังคมให้ทอดพระเนตรเห็น ถ้าทรงรู้จัก จะได้ทรงทักทายปราสัยบ้างตามสมควรให้ได้ความยินดี ..."
    ความรู้สึกของพระองค์ในหน้าที่พระมหากษัตริย์ที่ทรงมีต่อประชาชน นับเป็นเครื่องมือที่สำคัญต่อกิจการต่าง ๆ ตลอดจนพระราชกำหนดกฎหมายทุกข้อ และการปฏิรูปทุกอย่างที่ทรงริเริ่มขึ้น
    สถานภาพแห่งสถาบันพระมหากษัตริย์ ให้เป็นการรวมศูนย์อำนาจการเมืองที่สถาบันพระมหากษัตริย์ จัดระเบียบสังคม และการเมืองโดยพระมหากษัตริย์เป็นศูนย์กลางระบบเป็นการเปลี่ยนโครงสร้างความสัมพันธ์ของกลุ่มชนในสังคมไทย ในรัชกาล พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
    การสืบทอดอำนาจทางการเมืองโดยการสืบราชสันตติวงศ์ ด้วยมีพระราชดำริว่าการสืบราช สันตติวงศ์ควรเป็นไปตามสายโลหิต โดยราชสมบัติจะตกอยู่กับพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ที่ประสูติแต่พระมเหสี พระราชดำริเรื่องรัชทายาทจะเห็นชัดเจนขึ้นเมื่อพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จ สวรรคตตอนปลายรัชกาลของพระองค์ได้มีพระราชดำริ เป็น 2 ประการ คือ
    1. ถ้าพระองค์ดำรงพระชนม์ชีพอยู่จนถึง ปีระกา พ.ศ. 2416 เมื่อสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ มีพระชันษาสมบูรณ์ ได้ทรงผนวชตามประเพณีแล้ว ก็จะมอบเวนราชสมบัติพระราชทานและส่วนพระองค์จะเสด็จออกเป็นพระเจ้าหลวงช่วยคุ้มครองและแนะนำให้ ทรงว่าราชการแผ่นดินไปจนตลอดพระชนมายุของพระองค์ นับเป็นครั้งแรกในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ที่พระมหากษัตริย์มีพระราชดำริที่จะสละราชสมบัติ เพื่อให้พระราชโอรสขึ้นครองราชย์สืบแทน
    2. ถ้าหากพระองค์เสด็จสวรรคตก่อนปีระกา จะพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้พระบรมวงศานุวงศ์กับเสนาบดีผู้ใหญ่ปรึกษากัน ถวายราชสมบัติแก่เจ้านายพระองค์หนึ่งพระองค์ใด ตามแต่จะเห็นพร้อมกันว่าสมควรจะปกครองแผ่นดินได้ (สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ 2514 : 131)
    พันธะสัญญาต่อกันระหว่างผู้ปกครองและผู้ใต้ปกครอง ผู้ปกครองและผู้อยู่ใต้ปกครองควรมีพันธะสัญญาต่อกัน ในแผ่นดินที่ผ่าน ๆ มา พระบรมวงศานุวงศ์ เหล่าเสนาบดีและข้าราชการต้องถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยาสาบานว่าจะซื่อสัตย์จงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ฝ่ายเดียว พระองค์จึงร่วมเสวยน้ำพระพิพัฒน์สัตยาเช่นเดียวกับข้าราชการ นับแต่พระราชพิธีบรมราชาภิเษกครั้งแรก เพื่อเป็นการแสดงความ ซื่อสัตย์และจริงใจของพระองค์ให้ปรากฏ ดังในพระบรมราโชวาท ในวันเฉลิมพระชนมพรรษา ครบ 60 พรรษา ความว่า
    "... ฯข้าฯ จะสำแดงความขอบคุณตามสมควร ก็ไม่มีช่องทาง จะทำให้สมควรทั่วหน้าไปได้ นอกจากการอธิษฐานตั้งจิตรซื่อสัตย์สุจริตแก่ท่านทั้งหลายทั้งปวง แลรักษายุติธรรมให้ท่านทั้งหลายทั้งปวงนั้นเลย ก็การซื่อสัตย์สุจริตของฯข้าฯ แลรักษาความยุติธรรมให้ท่านทั้งหลายทั้งปวงนั้น ท่านทั้งปวงจงได้ความทราบเป็นจริง ด้วยการที่ฯข้าฯ รับน้ำพระพิพัฒสัตยาปีละสองครั้งมิได้ขาด คือ สำแดงปฏิญญาว่าฯข้าฯ ไม่ประทุศร้ายแก่ท่านผู้หาความผิดมิได้ และไม่พาโลโสคลุมด้วยการไม่ตรงแก่ท่านผู้หนึ่งผู้ใดเลย ก็การธรรมเนียมที่พระเจ้าแผ่นดินจะรับน้ำพระพิพัฒสัตยาเอาอย่างฯข้าฯประพฤตินี้ แต่ก่อนมาก็หาเคยมีไม่ ก็ไม่มีใครติดใจบังคับให้ข้าฯทำ ฯข้าฯยอมทำความสัตย์ให้ท่านทั้งปวงด้วยความชอบใจของฯข้าฯเอง เพื่อจะมิให้มีความฤาร้ายฯข้าฯ ในลางครั้งลางที อย่างเช่นมีแก่พระเจ้าแผ่นดินที่ล่วงมาแล้ว เพราะตัวฯข้าฯ มีความกตัญญูต่อท่านผู้มีคุณโดยสุจริต ไม่สู้ชอบใจอยู่แต่การที่สำคัญผิด ๆ ภาผิด ๆ จากความแลการที่เป็นจริง ทุกสิ่งทุกอย่าง แลการใดที่เป็นไปตามเหตุผลตามการที่เป็นจริงแล้ว ถึงใครจะติเตียนนินทา ฯข้าฯ ก็ไม่ถือโทษเลย..." (นฤมล ธีรวัฒน์ 2525 : 204)
    การบริหารราชการแผ่นดิน
    การใช้ระบบคุณธรรมเข้าแทนที่ระบบอุปถัมภ์ในวงราชการ
    ทรงคำนึงถึงคุณธรรมและความสามารถของผู้จะเข้ารับราชการในตำแหน่ง ทรงใช้ข้าราชการโดยคำนึงถึงความสามารถ ทรงติดตามผลงานของข้าราชการ และโปรดเกล้าฯให้ข้าราชการจากส่วนกลางไปตรวจ และรับรายงานสภาพตามหัวเมืองเสมอ ทรงกวดขันมิให้ข้าราชการข่มเหงราษฎร และสนับสนุนหลักการประนีประนอมในระบบการปกครอง ทรงประกาศเลือกสรรข้าราชการตุลาการชั้นสูง โปรดให้ส่งชื่อเพื่อคัดเลือกแทนการประกาศแต่งตั้งจากพระองค์ เป็นการใช้ความเห็นของคนหมู่มาก ดังที่ทรงประกาศไว้ในประชุมประกาศรัชกาลที่ 4 เล่ม 2 175 (กระทรวงศึกษาธิการ 2527 : 54-56) ความว่า
    "... ที่พระราชครูทั้ง 2 จะต้องตั้งขึ้นใหม่ เพื่อว่าจะทรงปรึกษากับพระราชวงศานุวงศ์องค์หนึ่ง สององค์ และท่านเสนาบดีสามคน สี่คน เลือกสรรตั้งข้าราชการผู้ใดผู้หนึ่งเป็นก็จะได้ และทรงพระราชดำริเห็นว่า ที่พระมหาราชครูปุโรหิตาจารย์ พระมหาราช ครูมหธร พระครูพิเชต พระครูพิราม 4 ตำแหน่งนี้ เป็นผู้พิพากษาตัดสินผิดแลชอบ สุขทุกข์ความของท่านทั้งหลายทั่วกัน ต่อออกไปจนราษฎรซึ่งเป็นบ่าวไพร่ในสังกัด แล้วได้ทรงทราบว่าในประเทศอื่น ๆ เมื่อผู้ครองแผ่นดินจะตั้งผู้สำหรับตัดสินความ ก็ย่อมให้คนทั้งปวงเลือกแล้วจดหมายชื่อเข้ามาส่งต่อเจ้าพนักงาน เจ้าพนักงานสอบดู ถ้ามีชอบใจท่านผู้ใดมาก ก็ให้ผู้นั้นเป็นผู้ตัดสินคดีของราษฎร ครั้งนี้จะทรงทำนุบำรุงบ้านเมืองให้สมบูรณ์อยู่เย็นเป็นสุขทั่วกันโดยอย่างธรรมเนียม แก้ไขใหม่ให้ดีขึ้นกว่าเก่า..."
    พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงห้ามการเดินชิงตำแหน่งสำคัญ (สมัยโบราณเรียกการวิ่งเต้นว่า "เดิน") เมื่อตำแหน่งเจ้าเมืองต่าง ๆ ว่างลง บุคคลที่ปรารถนาตำแหน่งเจ้าเมืองจะนำเงินมาให้เจ้าจอมหรือขุนนางข้าราชการผู้ใหญ่ เพื่อให้คอยกราบทูลแนะนำพระองค์ พระองค์จึงทรงประกาศห้ามมิให้เดินเป็นเจ้าเมือง ความว่า
    "… ผู้ที่มีบรรดาศักดิ์ใหญ่ ในกรุงเทพฯ อยู่ก่อนแล้ว ไปเป็นผู้สำเร็จราชการเมือง ดังนั้นยกไว้แต่ผู้น้อย ๆ มิใช่ผู้มีบรรดาศักดิ์ใหญ่ในกรุงเทพฯ ถ้าขึ้นไปเป็นพระยานครสวรรค์ เห็นขนบราชการในเมืองนั้น จะได้ถ้วนถี่ดีไปกว่าพระยอดเมืองขวาง ซึ่งทำราชการอยู่ในเมืองนั้นนาน ดังนี้จะหมายเชื่อว่าเป็นดีกว่าไม่ได้ เพราะใครตะกุยตะกายขึ้น ก็คงเดินเหินเสียสินบนสี่สิบห้าสิบชั่งขึ้นไป เงินสินบนนั้นจะเอามาจากไหน ที่มีของตัวก็จะลงทุนของตัวมาเสียสินบน ถ้าไม่มีก็คงจะกู้ยืมเขามาเสียสินบน ต้องเสียดอกเบี้ยไปพลางต้นทุนแลดอกเบี้ยนั้นจะเอาที่ไหน ก็คงจะไปรีดเอาที่ไพร่บ้านพลเมืองแลลูกค้าวานิช ดิบ ๆ สุก ๆ ไปต่าง ๆ ทำให้ราษฎรได้รับความเดือนร้อนยิ่งไปกว่าปรกติเป็นแน่
    จึงเห็นเป็นแท้อยู่แล้ว ว่าผู้ใดเดินเหินจะไปเป็นสำเร็จราชการหัวเมือง คนนั้นสำหรับเกี่ยวกับปีศาจที่เรียกว่า ห่า ผู้ใดรับสินบนเดินเหิน ช่วยแก้ไขให้คนเช่นนั้น จะได้ไปเป็นผู้สำเร็จราชการหัวเมือง จะได้บาปกรรมมากนัก เหมือนกับเอาห่าไปปล่อยในบ้านในเมือง เป็นที่อยู่ของมนุษย์ ขอเสียเถิดอย่าเอาเลย …"
    (พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อ้างถึงใน วิบูล วิจิตรวาทการ 2544 : 190)
    การปรับปรุงระเบียบบริหารราชการให้มีประสิทธิภาพ ทรงวางมาตรการควบคุมให้ข้าราชการมีความประพฤติดีและทรงปรับปรุงระเบียบการบริหารราชการที่สับสนให้เป็นระเบียบขึ้น ทรงตระหนักว่า ปัญหาหลายประการที่เกิดขึ้นในการบริหารราชการแผ่นดินนั้น เกิดจากความสับสนในการสื่อสารและเกิดจากระบบราชการเปิดช่องให้ระบบอุปถัมภ์มีอิทธิพลในวงราชการ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงขอให้ข้าราชการประพฤติตนให้สมกับที่ทรงพระมหากรุณาชุบเกล้าชุบกระหม่อม ให้รับราชการ โดยสุจริต เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าส่วนตัว ทรงวางกฎระเบียบให้ข้าราชการปฏิบัติ เพื่อจะได้รู้จักหน้าที่ของตนอย่างชัดเจน
     
  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    การปรับปรุงระเบียบคำสั่งของราชการ
    แก้ไขความสับสนในการสื่อสารข้อราชการ เดิมสื่อสารด้วยการออกหมายจากกรมวัง ให้สัสดีและ ทะลวงฟันเป็นผู้เดินบอกไปตามหมู่ตามกรม จึงทำให้ข้อราชการคลาดเคลื่อน จึงทรงออกหนังสือราชกิจจานุเบกษา ตีพิมพ์ข่าวราชการจากท้องตราและหมายที่ออกประกาศไปรวมเป็นเล่ม แจกไปตามผู้ที่เกี่ยวข้องกับราชการต่าง ๆ ทุกหมู่ กรม หัวเมือง เพื่ออ่านให้เข้าใจในคำสั่งราชการ จะได้ไม่ปฏิบัติผิดพลาดและเก็บรักษาไว้ ทรงให้ประกาศในประชุมประกาศรัชกาลที่ 4 เล่ม 2 110 (กระทรวงศึกษาธิการ 2527 : 76-77) ความว่า
    "... ทรงพระราชดำริตริตรองในการจะทำนุบำรุงแผ่นดินให้เรียบร้อย สำเร็จประโยชน์ทั่วถึงแลแน่นอนให้ดีขึ้นไปกว่าแต่ก่อน จึงทรงพระราชวิตกว่าราชการต่าง ๆ ซึ่งสั่งด้วยบัตรหมาย แต่กรมวังให้สัสดีแลทะลวงฟันเดินบอกตามหมู่ตามกรมต่าง ๆ นั้นก็ดี การที่บังคับนายอำเภอมีหมายป่าวประกาศแก่ราษฎรในกรุงก็ดี การที่มีท้องตราไปให้เจ้าเมืองปักษ์ใต้ฝ่ายเหนือ มีหมายให้กำนันริ้วแขวงอำเภอประกาศแก่ราษฎรในแขวงนั้น ๆ ก็ดี พระราชบัญญัติใหม่ ๆ ตั้งขึ้นเพื่อจะห้าม การที่มิควรแลบังคับการที่ควรก็ดี การเตือนสติให้ระลึกแลถือพระราชกำหนดกฎหมายเก่าก็ดี ตั้งขึ้นแลเลิกทิ้งอากรภาษีต่าง ๆ แลพิกัดภาษีนั้น ๆ แลลดหย่อนลงหรือเพิ่มขึ้นพิกัดของในภาษี นั้น ๆ ก็ดี การกะเกณฑ์หรือขอแรงแลบอกบุญ ก็ดี ว่าโดยสั้นโดยย่อเหตุใดๆ การใด ๆ ที่ควร ข้าราชการทั้งปวงหรือราษฎรทั้งปวงจะพึงทราบทั่วกันนั้น แต่ก่อนเป็นแต่บัตรหมายแลทำคำประกาศเขียนเส้น ดินสอดำลงกระดาษแล้วส่งกันไปส่งกันมา แลให้ลอกต่อกันไปผิดๆ ถูกๆ แลเพราะฉบับหนังสือนั้นน้อย ผู้ที่จะได้อ่านก็น้อยไม่รู้ทั่วถึงกันว่าการพระราช-ประสงค์แลประสงค์ของผู้ใหญ่ในแผ่นดินจะบังคับมาแลตกลงประการใด ข้าราชการทั้งปวงแลราษฎรทั้งปวงก็ไม่ทราบทั่วกันได้ยินแต่ว่ามีหมายว่า เกณฑ์ว่าประกาศว่าบังคับมา เมื่อการนั้นเกี่ยวข้องกับตัวใครก็เป็น แต่ถามกันต่อไป ผู้ที่จะได้อ่านต้นหมายต้นท้องตรานั้นน้อยตัว ถึงจะได้อ่านก็ไม่เข้าใจ เพราะราษฎรเมืองไทย ผู้ที่รู้หนังสือนั้นน้อยกว่าที่ไม่รู้ คนไพร่ในประเทศบ้านนอกหนังสือก็อ่านไม่ออก ดวงตราของขุนนางในตำแหน่งซึ่งจะบังคับราชการเรื่องไร จะเป็นอย่างไรก็ไม่รู้จัก ดูสักแต่ว่าเห็นดวงตราที่ตีมาด้วยชาดแลเส้นแดงๆ แล้วก็กลัว ผู้ที่ถือมาว่ากระไร ก็เชื่อ เพราะฉะนั้นจึงมีคนโกง ๆ คด ๆ แต่งหนังสือเป็นดังท้องตราบัตรหมายอ้างถึงวังหลวงแลวังหน้าแล เจ้านายแลเสนาบดี ที่เป็นที่ราษฎรนับถือยำเกรงแล้ว ก็ว่าการบังคับไปต่าง ๆ ตามใจตัวปรารถนา ด้วยการที่มิได้เป็นธรรม แลทำให้ราษฎรเดือดร้อนแล เสียพระเกียรติยศของพระเจ้าแผ่นดิน แลพระนามเจ้านายแลชื่อขุนนางไป เพราะฉะนั้น บัดนี้ทรง พระราชดำริจะบำบัดโทษต่าง ๆ ดังว่ามาแล้วนี้ทุกประการ จึงโปรดให้ตั้งการตีพิมพ์หนังสืออย่างหนึ่งมีชื่อภาษาสังสกฤตว่า หนังสือราชกิจจานุเบกษา แปลว่าหนังสือเป็นที่เพ่งดูราชกิจ ... หนังสือในราชกิจจานุเบกษา คือการใด ๆ ซึ่งได้มีท้องตราใบตราแลบัตรหมาย แลประกาศด้วยหนังสือเขียนเส้นดินสอดำ ประทับตราตามตำแหน่งตามธรรมเนียมเก่านั้นซึ่งได้มีแล้วไปในปักษ์นั้น หรือปักษ์ที่ล่วงแล้วในเดือนนั้น หรือเดือนที่ล่วงแล้ว ก็จะเก็บเอาความมาว่าแต่ย่อ ๆ ในสิ่งซึ่งเป็นสำคัญ เพื่อจะให้เป็นพยานแก่ท้องบัตรใบตราและบัตรหมายคำประกาศ ซึ่งมีไปแล้วก่อนนั้น เพื่อจะให้คนที่ได้อ่านหนังสือก่อน เชื่อแท้แน่ใจไม่สงสัยที่ไม่เข้าใจความจะได้เข้าใจ ผู้ใดไม่รู้ความในหนังสือท้องบัตรใบตราบัตรหมายก่อนก็จะได้รู้ ถนัด..."
    ความเป็นอยู่ของราษฎรในสังคม
    ทรงปรับปรุงความเป็นอยู่ของราษฎรให้ดีขึ้น ทรงสนพระทัยในวิถีชีวิตของราษฎร พระองค์ได้เสด็จประพาสตลาด และทรงทราบว่าชาวบ้านที่นำของเล็กๆ น้อย ๆ มาขายที่ตลาดเดือดร้อนเรื่องกำนันตลาดเก็บอากรตลาดมากเกินกำหนดทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เลิก เปลี่ยนเป็นเก็บภาษีโรงร้านเรือนแพจากพ่อค้าแม่ค้ารายใหญ่แทน ตามรายละเอียดดังที่ประกาศในประชุมประกาศรัชกาลที่ 4 เล่ม 2 136 (กระทรวงศึกษาธิการ 2527 : 88) ความว่า
    "... วันหนึ่งเวลาบ่ายเสด็จทรงม้าพระที่นั่งประพาสลงไปถึงที่ตลาดประตูท่าพา ทอดพระเนตรเห็นตลาดออกขายของอยู่ มีพระบรมราชโองการดำรัสถามชาวบ้านที่ขายของเล็กน้อยอยู่ในที่นั้น ว่าเสียค่าตลาดอยู่เท่าใด เสียเป็นรายเดือนหรือรายวัน ชาวตลาด กราบทูลว่าเสียวันละสองร้อยเบี้ย จึงทรงระลึกตรวจดูตามพิกัดในท้องตราตั้งกำนันตลาด ก็ได้ความว่าแผงลอยเช่นนี้ ควรจะเสียแค่เพียงร้อยเบี้ยกำนัน ตลาดเก็บเกินพิกัดเป็นสองเท่า หากำไรมากเกินอยู่ จึงทรงพระบรมราชโองการดำรัสประกาศแก่ชาวตลาดในที่นั้นว่า จะใคร่ทรงพระมหากรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เลิกอากรตลาดเสียทั้งสิ้น..."
    ทรงสนพระราชหฤทัยเรื่องบ้านช่องของชาวบ้านชาวเมือง ทรงออกประกาศตักเตือนเรื่องการก่อเตาไฟ เพื่อป้องกันไฟไหม้บ้าน และให้คิดทำลิ่ม สลักกด เพื่อป้องกันโจรผู้ร้าย ดังประชุมประกาศรัชกาลที่ 4 ภาค 3 83 (หอพระสมุดวชิรญาณ 2466 : 49-50) ความว่า
    ... ตั้งแต่นี้สืบไปให้คนที่เป็นผู้ใหญ่ในบ้านเรือนของตน ๆ ทอดเตาเพลิงเสียใหม่ เอาใจใส่ตรวจตราดูแลระวังในที่อย่าให้ทอดเตา ก่อเตาใกล้ขยะที่รุงรัง ให้ทอดก่อเตาเพลิงใหม่ที่ไม่เป็นเชื้อเพลิง คือ ทำด้วยอิฐด้วยปูน หรือดินเหมือนอย่างเตาที่ก่อไว้เป็นตัวอย่างที่ท้องสนามหลวงริมโรงคู่ต้นทางใหญ่นั้น หรือเป็นคนยากจนจะก่อเตานั้นมิได้จะทอดเตาเพลิงอยู่อย่างเก่า ก็ให้เอาดินโคลนกับแกลบกับทรายประสมกันเข้า แล้วบวกฝาทาฝาที่ใกล้เตาเพลิงเสียให้ดี แล้วไว้กองฟืนที่จะหุงข้าวให้ห่าง ๆ เตา อย่าให้เป็นเชื้อเพลิงได้ และให้หมั่นระวังเอาใจใส่ในเรื่องที่จะเกิดเพลิงไหม้ให้มาก อย่าประมาทเลย จะให้กรมพระนครบาลตรวจค้นดูทุกบ้านเรือนในพระนคร ถ้าเรือนใดไม่จัดแจงที่เตาเพลิงด้วยอิฐปูนและดินให้ห่าง ขืนทำรุงรังจะให้ไล่เสียจากที่อยู่ เอาที่ให้คนที่รู้ระวังอยู่ต่อไป
    อนึ่ง ทรงพระราชวิตกอยู่ด้วยเรื่องโจรผู้ร้ายมีเนือง ๆ ชำระในโรงศาล ก็มีเรื่องราวว่าผู้ร้ายเอาบันไดพาดขึ้นมาตัดฝาตัดลิ่มสลัก ผลักหน้าต่างลักเอาสิ่งของทองเงินไป เมื่อเกิดความขึ้นที่ใด ๆ ก็ยืนอยู่อย่างเดียว ทรงพระมหากรุณาแก่ราษฎรทั้งปวงจะให้หลีกเลี่ยงให้พ้นโจรภัย จึงได้ทรงสั่งสอนเตือนสติ ให้ทำลิ่มสลักประตูหน้าต่างให้ หนีอย่างที่โจรผู้ร้ายจะรู้ง่าย ให้ทำเป็นกระบวนช่างที่คนฉลาดคิดทำอย่างไร ๆ ตามสติปัญญาของคนนั้น ๆ คือว่าจะใส่ลิ่มข้างบนข้างล่างลิ่มขวางฤาอย่างไร ๆ ก็ตามแต่จะเห็นควรให้ยักย้ายจัดแจงเสียบ้าง ให้แน่นหนา อย่าให้โจรผู้ร้ายเข้าไปลักเอาสิ่งของทองเงินไปได้ ง่าย ๆ..."
    โปรดเกล้าฯ ให้ประชาชนทำมาหาเลี้ยงชีพให้เป็นหลักเป็นฐาน เมื่อเปิดระบบการค้าเสรี ให้นำข้าวส่งออกได้โดยทรงลดค่านาคู่โคหรือนาหว่าน ซึ่งให้ผลผลิตมากกว่านาชนิดอื่น และเสียค่านามากกว่านาปักหรือนาฟางลอย ซึ่งเสียค่านาตามผลผลิตที่ได้ ระหว่างที่ราษฎรยังใหม่ต่อระบบการค้าเสรี พระองค์ทรงทำหน้าที่ควบคุมการผลิตและการค้าข้าว ทรงยึดหลักให้ภายในประเทศมีข้าวบริโภคอย่างพอเพียง แล้วจึงส่งขายต่างประเทศ ทรงตักเตือนราษฎรล่วงหน้าถึงสภาพดินฟ้าอากาศ โดยผ่านประกาศต่าง ๆ และทรงแนะนำให้ราษฎรทำนาตามช่วงเวลาที่กำหนดให้ ซึ่งเป็นการส่งเสริมการเกษตรแก่ราษฎร ดังจะเห็นจากที่ทรงประกาศในประชุมประกาศรัชกาลที่ 4 เล่ม 3 261 (กระทรวงศึกษาธิการ 2527 : 79) ความว่า
    "...บัดนี้ฤดูลมสำเภาแล้วลมก็อ่อนฝนชะลานก็ไม่มีมา ท้องฟ้าก็ผ่องแผ้วไปไม่มีเมฆตั้งทั้งกลางวันกลางคืนโดยมาก เพราะฉะนั้นขอประกาศมาให้ท่านทั้งหลายทั้งปวง คิดพยายามทำนาปรังนาเพาะเลยแลข้าวไร่ให้ได้มาก ๆ ให้รีบทำตั้งแต่เดือน 6 ไป โดยฝนน้อยข้าวไร่จะได้รอดตัวอยู่ นารังจะได้ตั้งตัวอยู่ด้วย น้ำท่าวิดสาดบ้าง ให้ผู้สำเร็จราชการเมืองกรมการแขวงอำเภอ ป่าวร้องราษฎรให้คิดทำนาเข้า ไร่นาปรังเตรียมตัวไว้ เกลือกปีนั้นแลน้ำจะน้อย นาใหญ่จะไม่มีผลคนถูกอัดคัดมาปีหนึ่งแล้วจะได้ความลำบากมากไป ..."
    พระองค์ทรงอาทรต่อราษฎรที่ไม่รู้หนังสือ เขียนหนังสือไม่ได้ และต้องลงชื่อทำสัญญาต่าง ๆ เช่น กรมธรรม์ขายตัวเป็นทาส ขายหรือจำนองที่ดิน หนังสือยอมความ ฯลฯ เพราะจะมีการร้องฎีกากล่าวโทษ เรื่องการปลอมแปลงลายมือในเอกสาร จึงทรงประกาศตักเตือนราษฎรให้รอบคอบในการทำนิติกรรมจากประชุมประกาศรัชกาลที่ 4 เล่ม 4 292 (กระทรวงศึกษาธิการ 2527 : 94-95) ความว่า
    "... เรื่องความฎีการาษฎรทูลเกล้าฯถวาย กล่าวโทษขุนศาลตระลาการว่าบังคับให้เสมียนผู้คุมกดขี่ลูกความผู้ต้องคดีนั้น ๆ ยอมแล้ว ให้เสมียนผู้คุมแลพวกพ้องของตัวเขียนหนังสือยอมความต่าง ๆ เรียกค่าธรรมเนียมด้วยฝ่ายโจทก์ ฝ่ายจำเลยไม่ลงใจยอมพร้อมกัน ดังนี้เนือง ๆ ได้ทราบฝ่าละอองฯ เป็นหลายเรื่องหลายราย เพราะฉะนั้นแต่นี้สืบไปเรื่องคดีใด ๆ ซึ่งโจทก์จำเลยจะทำหนังสือยอมเลิกแล้วแก่กันก็ดียอมแพ้ชนะกันก็ดี ห้ามอย่าให้ขุนศาลตระลาการทุก ๆ กระทรวงในกรุงแลหัวเมือง บังคับให้เสมียนในโรงในศาลของตัวเขียนหนังสือยอม ต่าง ๆ เป็นอันขาด ให้ฝ่ายโจทก์ฝ่ายจำเลยจ้างวานผู้มีชื่อผู้อื่นมาเขียนตามชอบใจ แต่ไม่ให้จ้างวานผู้ที่เกี่ยวข้องต้องในลักษณะความนั้นมาเขียน อนึ่งผู้ใด ๆ มีความขัดสนมาทำหนังสือขายตัวเองหรือบุตร ภรรยาแลกเงินท่านก็ดี ขายจำนำที่บ้านที่เรือนเรือกสวน ไร่นาแลอื่น ๆ ก็ดี ให้ผู้นั้น ๆ จ้างวานผู้เขียนมาเอง ห้ามอย่าให้ผู้เจ้าของทรัพย์ ผู้ช่วยทาสแลลูกหนี้ผู้รับซื้อ ผู้รับจำนำ หาคนพวกพ้องของตัวมารับจ้าง วานเขียนหนังสือสารกรมธรรม์ หรือหนังสือรับซื้อรับจำนำนั้นๆ ให้แก่ผู้มีความขัดข้องนั้น ๆ ไปเป็นอันขาด ถ้าขุนศาลตระลาการแลผู้ช่วยทาสลูกหนี้แลผู้รับซื้อรับจำนำ ขืนล่วงพระราชบัญญัตินี้ ถ้ามีผู้มากล่าวโทษร้องถวายฎีกา จะตัดสินเรื่องคดีนั้น ๆ ไม่เป็นอันยอม แลไม่เป็นหนังสือสารกรมธรรม์ แลไม่เป็นหนังสือขายได้จำนำได้ ให้ผู้สำเร็จราชการเมือง กรมการกำชับห้ามปรามตระลาการเสมียนผู้คุม ผู้ที่ได้ชำระคดีความ แลป่าวร้องราษฎรให้รู้ทั่วกัน ห้ามอย่าให้กระทำผิดจากพระราชบัญญัตินี้ไปได้เป็นอันขาดทีเดียว..."
    เนื่องจากยังไม่มีการเลิกไพร่เลิกทาส และในระบบการค้าเสรี ทำให้แรงงานกลายมาเป็นสิ่งที่มีค่าและหาได้ยาก เจ้าของทาสจึงหน่วงเหนี่ยวมิให้ทาสไถ่ถอนตัวเองเป็นอิสระ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ออกประกาศในประชุมประกาศรัชกาลที่ 4 เล่ม 4 284 (กระทรวงศึกษาธิการ 2527 : 81-82) เพื่อมิให้ข่มเหงทาส ความว่า
    "มีพระบรมราชโองการมารพระบัณฑูรสุร สิงหนาท ให้ประกาศแก่พระราชวงศานุวงศ์ แลข้าราชการฝ่ายหน้าฝ่ายในแลราษฎรในกรุงแลหัวเมืองให้ทราบทั่วกันว่า เศรษฐีบางแมวซึ่งเป็นที่ขุนพินิตโวหารเป็นคนมั่งมีก็จริง แต่เป็นคนโกง เจ้าสำนวนเจ้าถ้อยหมอความ ในหลวงจับสำนวนได้ชัดเห็นเป็นแน่ว่าเป็นคนโกงแท้ ไม่ซื่อสัตย์ ไม่มีความเมตตาปราณีแก่ราษฎร คือคนนี้ที่ทาสจะส่งเงินก็ไม่รับเงินเกรงว่าหน้าไร่หน้านา ทำน้ำจะเอาปลา ทำนาจะเอาข้าว ถ้าเดือน 4 เดือน 5 หลบตัวเสีย เดือนอื่นไป 10 เดือน 11 เดือน ว่าหน้าเสีย ไม่รับเงินถึง 3 ปี ทาสร้องทุกข์ ส่งเงินยังโรงศาล ก็ปะลมปะเลกับขุนศาลไม่รับเงินถึง 3 ปี 4 ปีครึ่ง คนอื่น ๆ เขาก็ร้องทุกข์อยู่มาก กล่าวโทษเศรษฐีบางแมวคนนี้ แต่เพราะมั่งมีตุลาการทุกศาลก็อุ่นไป แล้วมักเข้าเจ้าเข้านายเข้าขุนนาง มีผู้ถือท้ายถือหาง มีพระบรมราชโองการให้ประกาศเจ้านายข้าราชการฝ่ายหน้าฝ่ายใน อย่าให้ใครคบ เข้าถือท้ายถือหาง ถ้าใครขืนคบจะไม่ทรงพระกรุณาชุบเลี้ยง..."
    ทรงให้ความเป็นธรรมและเสรีภาพแก่ราษฎรของพระองค์มากขึ้น และที่สำคัญคือการยกย่องสตรี และทรงยกย่องความเป็นคนของแต่ละบุคคลด้วย ตัวอย่างเอกสารที่ยกมาจะเห็นว่า ทรงยกย่องฐานะสตรีอย่างชัดเจน
    "... ให้ตัดสินว่าบิดามารดาไม่ได้เป็นเจ้าของบุตรชาย บุตรหญิง ดังหนึ่งคนเป็นเจ้าของโคกระบือช้างม้า จะตั้งราคาขายตามชอบใจได้หรือ ดังนายเงินเป็นเจ้าของทาสที่มีค่าตัวจนจะขายทาสนั้นตาม ค่าตัวเดิมได้ เมื่อบิดามารดาจนจะขายบุตรต่อบุตรยอมให้ขาย จึงขายได้ถ้าไม่ยอมให้ขายก็ขายไม่ได้ หรือยอมให้ขายถ้าบุตรยอมรับหนี้ค่าตัว เพียงเท่าไรก็ขายได้แต่เพียงเท่านั้น กฎหมายเก่าอย่างไรผิดไปจากอย่างนี้อย่าเอา ตามลัทธิผู้ชายในบ้านในเมืองทุกวันนี้ พอใจถือว่าหญิงคนใดชายได้พาเข้าไปในที่ลับจับต้องถึงตัวแล้ว ก็พอใจถือตัวว่าเป็นเจ้าผัว ความก็ว่าอย่างนั้นผู้ตัดสินก็ว่าอย่างนั้น แล้วตัดสินให้ผัวเป็นเจ้าของ แลให้เมียเป็นดังสัตว์เดียรฉาน เพราะลัทธิอย่างนั้นแลจึงได้ตัดสินในเวลาหนึ่ง ให้เลิกกฎหมายเก่าว่าหญิงหย่าชายหย่าได้นั้นให้ยก กฎหมายนั้นต้องยุติธรรมอยู่ให้เอาเป็นประมาณ ..."
    นอกจากนี้ยังทรงแก้ไขธรรมเนียมเก่า ทรงประกาศให้นางในที่รู้สึกคับอกคับใจ ให้กราบถวายบังคมลาออกไปมีสามีข้างนอกได้ (ยกเว้นแต่นางในนั้นเป็นเจ้าจอมมารดาที่มีพระราชโอรส-ธิดา) การที่ทรงกระทำเช่นนี้ ไม่เคยปรากฏในรัชกาลก่อน ๆ เพราะเป็นการผิดพระราชประเพณีโบราณ ซึ่งแสดงให้เห็นว่า พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิ-ราชย์ที่มีพระทัยกว้าง ทรงเห็นแก่สิทธิมนุษยชนของพสกนิกรมากยิ่งกว่าของพระองค์ ขอให้พิจารณาจากประชุมประกาศรัชกาลที่ 4 ภาค 2 40 (หอพระสมุด วชิรญาณ 2465 : 25-26) ความว่า
    "มีพระบรมราชโองการในพระบาทสมเด็จฯ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประกาศปฏิญาณไว้เป็นความสัจความจริง แก่เจ้าจอมอยู่งานชั้นในชั้นกลางชั้นนอกทั้งปวง เว้นแต่เจ้าจอมมารดาในพระเจ้าลูกเธอแลหม่อมพนักงานทุกตำแหน่ง แลเจ้าจอมเถ้าแก่ แลท่านเถ้าแก่ แลนางรำบำเรอทั้งปวงทุกคน
    ด้วยบัดนี้ไม่ทรงหวงแหนท่านผู้ใดผู้หนึ่งไว้ในราชการด้วยการข่มเหงกักขังดอก ทรงพระมหากรุณาชุบเลี้ยงตามสมัค แลเห็นแก่ตระกูลแลความชอบของท่านทั้งปวง จึงทรงพระกรุณาชุบเลี้ยง พระราชทานเบี้ยหวัดผ้าปีแลเครื่องยศบรรดาศักดิ์โดยสมควร บัดนี้ท่านทั้งปวงก็ทำราชการมานานแล้ว ใคร ๆ ไม่สบายจะใคร่กราบถวายบังคมลาออกนอกราชการไปอยู่วังเจ้า บ้านขุนนาง บ้านบิดามารดา จะมีลูกมีผัวให้สบายประการใด ก็อย่าให้กลัวความผิดเลย ให้กราบทูลถวายบังคมลาโดยตรง แล้วถวายเครื่องยศคืนเสียแล้วก็จะโปรดให้ไปตามปรารถนาโดยสดวกไม่กักขังไว้ แลไม่ให้มีความผิดแก่ตัวผู้นั้นแลผู้ที่จะเป็นผัวนั้น ทางใดทางหนึ่งก่อนกราบบังคมทูลพระกรุณาเป็นอันขาดทีเดียว เป็นดังนั้นจะเสียพระราชกำหนดสำหรับแผ่นดินไป เมื่อไปอยู่นอกพระราชวังแล้ว ถ้าเป็นคนมีตระกูลอยู่ ไปอยู่กับบิดามารดาญาติพี่น้อง ฤาเป็นนางห้ามเจ้านายที่ทรงพระกรุณาให้มีบันดาศักดิ์ใหญ่ๆ ฤาเป็นภรรยาข้าราชการที่มีศักดินามาก ก็จะพระราชทานเบี้ยหวัดอยู่บ้างโดยสมควร..."
    ทรงยอมลดพระราชอำนาจที่เป็นสิทธิ์ขาดของพระมหากษัตริย์ ไม่ทรงถือว่าพระมหากษัตริย์เป็นเจ้าของที่ดินในพระราชอาณาจักรแต่ผู้เดียว ในสมัยก่อน หากพระมหากษัตริย์มีพระราชประสงค์ในที่ดินตรงใด จะทรงใช้พระราชอำนาจยึดครองที่ ตรงนั้นได้ตามพระราชประสงค์ ซึ่งพระองค์ก็มีพระราชดำริว่าไม่ยุติธรรม จึงโปรดเกล้าฯ ให้มีพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาที่ดิน เมื่อปี พ.ศ. 2399 และในปี พ.ศ. 2403 ได้มีพระราชโองการประกาศในจดหมายเหตุ รัชกาลที่ 4 จ.ศ. 1227 เลขที่ 117 (กระทรวงศึกษาธิการ 2527 : 56) ความว่า
    "... ตั้งแต่นี้ต่อไป ถ้าพระเจ้าแผ่นดินจะต้องพระราชประสงค์ ที่บ้านเรือน นา สวน พระราชทานให้เป็นวัง บ้าน สวน นา แก่พระราชวงศานุวงศ์ แลข้าทูลละอองธุลีพระบาทฝ่ายหน้าฝ่ายใน ซึ่งมีความชอบ ฤาทรงพระราชศรัทธา ทรงสร้างพระอารามหลวงในที่แห่งใด ตำบลใด ฤาจะพระราชทานให้ผู้ใดก็ดี... ให้เอาเงินในพระคลัง มหาสมบัติสำหรับแผ่นดิน ซื้อที่บ้านเรือน นา สวน พระราชทานแก่พระราชวงศานุวงศ์ และข้าทูลละอองธุลีพระบาทฝ่ายหน้าฝ่ายใน..."
    การวางพื้นฐานในด้านการปกครอง
    ด้วยทรงเห็นว่าราษฏรจะครองชีพด้วยความร่มเย็นเป็นสุขได้ ก็ต้องมีการปกครองเป็นระเบียบเรียบร้อยด้วยหลักทางกฎหมาย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงปฏิรูปกฎหมายและการศาลของไทยในด้านต่าง ๆ ให้ทันสมัยขึ้น ทรงติดต่อให้ชาวยุโรปและอเมริกาที่ชำนาญในวิชากฎหมายเข้ามาเป็นข้าราชการแก้กฎหมายต่าง ๆ ให้ทันสมัยและไม่ขัดกับกฎหมายต่างประเทศ ทำให้กระบวนการยุติธรรมของไทยในยุคหลัง เริ่มใช้หลักเกณฑ์ความยุติธรรมแบบสากลมาใช้ในการออกกฎหมายและพิจารณาคดีเพิ่มเติมขึ้นจากการถวายฎีกา ความเปลี่ยนแปลงนี้เห็นจากประกาศที่ห้ามมิให้ช่วยคนในบังคับต่างประเทศยุโรปมาเป็นทาส ประกาศพระราชบัญญัติเกี่ยวกับการคมนาคมในประเทศ ซึ่งใช้ร่วมกันทั้งคนไทยและต่างประเทศ คือพระราชบัญญัติและกฎหมายท้องน้ำเกี่ยวกับเรือใหญ่ เรือเล็ก ที่ขึ้นตามแม่น้ำลำคลอง และพระราชบัญญัติว่าด้วยการทางบก
    (นฤมล 2525 : 317) ในกระบวนการศาล ทรงให้มีการลงลายมือหรือแกงไดไว้เป็นหลักฐานในหนังสือสำคัญ บังคับใช้ทั้งในกรุงและหัวเมือง โปรดเกล้า ฯ ให้ทำสารกรมธรรม์หรือหนังสือสัญญาเป็นเกณฑ์ เป็นหลักฐานในฟ้องร้อง สภาพความเป็นอยู่ของราษฎรในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวถูกปรับปรุงให้ดีขึ้น





    พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเห็นความสำคัญของแสนยานุภาพทางการทหาร เพราะเป็นที่มาของอำนาจเหนือเมืองทั้งปวง พระองค์ทรงแสดงพระราชดำริเกี่ยวกับเรื่องนี้ว่า (พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว : 34 อ้างถึงใน นฤมล ธีรวัฒน์ 2525 : 174)
    "... อนึ่งธรรมเนียมมนุษย์ทุกวันนี้ เมืองใดปืนใหญ่น้อย กระสุนดินดำ มีอยู่มากเป็นกำลังใหญ่แล้ว เมืองนั้นก็เป็นเมืองหลวง มีอำนาจแผ่ทั่วทิศไกลไปร้อยโยชน์สองร้อยโยชน์ จนถึงนานาประเทศที่ใกล้เคียงซึ่งมีกำลังน้อยกว่า ก็ต้องมาขออ่อนน้อมเสียส่วยเสียบรรณาการให้ อันนี้เป็นธรรมดามนุษย์ในแผ่นดิน..."
    การวางพื้นฐานทางด้านการทหาร
    โดยที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ทรงตระหนักว่าประเทศต่าง ๆ ในบริเวณเอเชียนี้กำลังถูกคุกคามจากประเทศมหาอำนาจตะวันตก โดยเฉพาะประเทศไทยกำลังอยู่ในแผนการยึดครองของฝรั่งเศสและอังกฤษ ฉะนั้นจึงทรงต้องปรับปรุงกิจการทหารของประเทศให้มีประสิทธิภาพและทันสมัยอย่างรีบด่วนพร้อมกันหลาย ๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นการจัดกำลัง การจัดหาอาวุธ การฝึก และยุทธวิธี และทรงทอดพระราชภาระให้พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว (ขณะที่ยังทรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าจุฑามณี กรมขุนอิศเรศรังสรรค์) ในด้านการฝึกอบรมทหารปืนใหญ่ และทรงช่วยปรับปรุงกองทัพบกให้เป็นหน่วยทหารแบบตะวันตก ส่วนหน่วยทหารราบนั้นมีพระราชประสงค์ จะได้นายทหารอังกฤษมาช่วยปรับปรุงและฝึกอบรม จึงทรงเลือกจ้างร้อยเอกชาวอังกฤษ ทหารนอกราช-การของกองทัพอังกฤษเข้ารับราชการเป็นนายทหารฝรั่งคนแรกในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ชื่อร้อยเอก อิมเปย์ (Impey) ได้รับมอบหมายให้ฝึกทหารในกรมอาสาลาวและเขมร ในพระบรมมหาราชวัง ให้จัดเป็นกองร้อย เรียกว่า "ทหารเกณฑ์หัดอย่างยุโรป" หรือ "ทหารเกณฑ์หัดอย่างฝรั่ง" การฝึกสอนทหาร ได้จัดระเบียบแบบแผน และฝึกสอนทางบกเป็นครั้งแรก ตามแบบอย่างทหารอังกฤษ มีการแบ่งแยกเป็น กองพัน กองร้อย หมวดหมู่ มีผู้บังคับบัญชา ชั้นนายพัน นายร้อย นายสิบ ลดหลั่นกันลงมา และ เรียกขานเป็นคำอังกฤษ เพราะผู้สอนไม่อาจแปลคำเป็นภาษาไทย ทหารพวกนี้จึงได้ชื่อเรียกอีกอย่างว่า "ทหารเกณฑ์หัดอย่างอีหรอบ" ในขั้นต้นได้จัดเหล่าทหารรักษาพระองค์ โดยแบ่งออกเป็นสองกอง เรียกว่า กองทหารหน้า และกองทหารรักษาพระองค์ปืนปลายหอกวังหลวงเดิม พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯให้กองทหารเกณฑ์หัดอย่างยุโรปหรือกองทหารรักษาพระองค์เป็นทหารประจำพระองค์ ผลัดเปลี่ยนกันอยู่เวรรักษาพระราชฐาน การบังคับบัญชากองทหารทั้งสองนี้ แบ่งเป็นกองร้อย หมวด และหมู่ ซึ่งได้ถือปฏิบัติสืบมาจนถึงปัจจุบัน (รอง ศยามานนท์ 2525 : 530)
    ต่อมามีนายทหารนอกราชการของกองทัพบกอังกฤษ ชื่อร้อยเอก โทมัส ยอร์ช น๊อกซ์ (Thomas George Knox) และเป็นเพื่อนร้อยเอก อิมเปย์ ได้สมัครเข้ารับราชการ พระองค์ทรงส่งไปช่วยฝึกทหารบกและทหารเรือในวังหน้า ซึ่งภายหลังได้ลาออกไปเป็นกงสุลเยเนอราลอังกฤษประจำกรุงเทพฯ โดยมีบรรดาศักดิ์เป็นเซอร์
    พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีพระราชดำริว่า พระราชาในต่างประเทศนั้น ต่างนิยมมีกองทหารประจำพระองค์กันทั้งนั้น โดยถือเป็นพระเกียรติยศสำหรับพระมหากษัตริย์ซึ่งจำเป็นต้องมี และให้มีขึ้นตามความนิยมอย่างต่างประเทศเหล่านั้น โปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งกองทหารรักษาพระองค์ปืนปลายหอกข้าหลวงเดิมและกองทหารหน้าขึ้น และอาศัยที่พระองค์ทรงชินต่อการสมาคมกับฝรั่งเป็นอย่างดี จึงทรงตั้งกองทหารอื่น ๆ เอาอย่างต่างประเทศให้สมกับที่บ้านเมืองเจริญขึ้นแล้ว
     
  13. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ในปี พ.ศ. 2395 โปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งกองทหารเพิ่มขึ้นอีก 2 กอง คือกองรักษาพระองค์อย่างยุโรป (กองทหารรักษาพระองค์ปืนปลายหอกข้าหลวงเดิม) และ กองปืนใหญ่อาสาญวน เพื่อทดแทนอาสาญวนเข้ารีตที่โอนไปขึ้นกับกรมพระราชวังบวรสถานมงคล(วังหน้า) ส่วนทหารมอญที่เคยขึ้นอยู่ในกระทรวงกลาโหมนั้น โปรดเกล้าฯ ให้คงอยู่ในบังคับบัญชาของเจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ทหารพวกนั้นจึงเปลี่ยนไปเป็นทหารมรีนสำหรับเรือรบ (สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ 2514 : 159) ทหารที่ได้รับการฝึกและจัดแบบตะวันตก มีดังนี้
    1. กองรักษาพระองค์อย่างยุโรป
    2. กองทหารหน้า
    3. กองปืนใหญ่ อาสาญวน
    ทหารบกต่าง ๆ ที่กล่าวมาเป็นต้นเดิมของทหารบกที่มีต่อมาจนทุกวันนี้
    พ.ศ. 2397 โปรดเกล้าฯ ให้ตั้งกองทหารล้อมพระราชวัง ให้พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นมเหศวรศิววิลาศทรงกำกับทหารกองนี้
    พ.ศ. 2398 โปรดเกล้าฯ ตั้งพระเจ้าพี่ยาเธอ กรมหลวงมหิศวรินทรามเรศ ทรงดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการกองทหารหน้า
    ผู้บัญชาการองค์นี้ทรงปรับปรุงการตั้งกองทหารไว้ตามหน่วยต่าง ๆ มารวมที่สนามชัย คือ
    1. กองทหารฝึกแบบยุโรป
    2. กองทหารมหาดไทย (เกณฑ์มาจากหัวเมืองฝ่ายเหนือ)
    3. กองทหารกลาโหม (เกณฑ์มาจากหัวเมืองฝ่ายใต้)
    4. กองทหารเกณฑ์หัด (พวกขุนหมื่นสิบยกในกรมต่าง ๆ คือ 10 คน ชักออกเสีย 1 คน)
    หลังจากปี พ.ศ. 2404 โปรดเกล้าฯให้จัดตั้งกองทหารอย่างยุโรปขึ้นอีกหลายอย่าง ต่อมา พ.ศ. 2405 โปรดเกล้าฯ แต่งตั้งพระเจ้าน้องยาเธอ กรมขุนวรจักรธรานุภาพเป็นผู้บังคับบัญชาคนใหม่ ครั้นถึงปลายรัชกาลที่ 4 นายน๊อกซ์ นายทหารอังกฤษขอลาออก จึงไม่มีนายทหารฝรั่งเหลืออยู่ในกองทัพ ทางราชการกองทัพจึงได้จ้าง นายทหารฝรั่งเศส ลามาช (Lamache) ต่อมาได้เป็นหลวงอุปเทศทวยหาญ ซึ่งมาแก้วิธีฝึกหัดทหารไทย และเปลี่ยนระเบียบการฝึกเป็นภาษาฝรั่งเศส เปลี่ยนไปได้ไม่นานก็สิ้นรัชกาล
    กิจการทหารไทยซึ่งได้ปรับปรุงขึ้นใหม่ใน รัชกาลที่ 4 เจริญรุ่งเรืองขึ้นจนสามารถจัดไปสมทบกับกองทัพที่ส่งไปปราบฮ่อ และเป็นแนวทางของการปรับปรุงกิจการทหารครั้งใหญ่อย่างกว้างขวางในรัชกาลที่ 5 เป็นต้นมา
    การปืนใหญ่ในรัชกาลที่ 4
    พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงศึกษาและจัดการเปลี่ยนแปลงแก้ไขปรับปรุงกองทัพไทยให้ทันสมัยตามแบบยุโรป ทรงเห็นว่าปืนใหญ่เป็นอาวุธมีอำนาจในการทำลายสูงในระยะไกล แต่ต้องใช้เวลาฝึกหัดทหารให้ชำนาญในการใช้เป็นเวลานานนั้น แม้ว่าพระองค์จะทรงมอบให้เป็นพระราชภาระของพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวไป แล้ว พระองค์ยังทรงจัดกองปืนใหญ่อาสาญวนขึ้นใหม่ เพื่อทดแทนกองปืนใหญ่อาสาญวนที่โอนไปขึ้นกับวังหน้า
    ในส่วนพระองค์ ทรงสนพระทัยในเรื่องปืนใหญ่ ทรงศึกษาหาความรู้ใหม่ๆ จากเอกสารภาษาอังกฤษ จึงทรงทราบความก้าวหน้าของปืนใหญ่ในประเทศต่างๆ ทางยุโรป เมื่อคณะราชทูตไทยเดินทางไปเจริญทางพระราชไมตรีกับประเทศอังกฤษและ ฝรั่งเศส ได้มีพระราชหัตถเลขารับสั่งถึงจมื่นไวยวรนาถ (วร บุนนาค) ซึ่งอยู่ในคณะทูต (ดำเนิร เลขะกุล 2527 : 22) ความว่า
    "...เจ้าหมื่นไวยวรนารถเอาใจใส่เสาะหาซื้อปืนอย่างหนึ่ง เรียกว่า อามสตรอง ซึ่งเป็นปืนใหญ่บรรจุข้างท้าย มาให้ข้าพเจ้าเล่นเองเป็นปืนทองเหลืองย่อม ๆ กระสุนตั้งแต่นิ้วหนึ่งขึ้นไปสองนิ้ว ลงมาสักกระบอกหนึ่ง ว่าเขาใช้อย่างไร แต่ก่อนนี้ไปเข้าได้สั่งปืนรบเนอกัมปนีให้เขาหามาให้ เขาก็ได้หามาให้ข้าพเจ้า เป็นปืนนิคแคมปาเตนกระบอกหนึ่งแล้ว ปืนนั้นข้าพเจ้าเอายิงเล่นเองก็ได้ ไม่น่ากลัวเหมือนปืนบรรจุทางปาก และบรรจุนวนไฟวุ่นวาย เพราะปืนนั้น ไฟข้างหลังไม่เห็นเลย ในลำกล้องปืนกระสุนกว้างนิ้วหนึ่ง ยาว 3 นิ้ว กระสุนแตกอย่างยาโกบก็มีมาด้วย ปืนนี้ยิงได้เร็ว 15 เซกันยิงได้นัดหนึ่ง ปืนอามสตรอง ถ้าเล็ก ๆ ไม่มี ก็จะคิดสั่งให้เขาทำขึ้นเป็นดังของเล่น เช่น ปืนรบเนอกัมปนีที่สั่งนั้นเถิด ปืนกระบอกนี้ รางก็เป็นทองเหลืองหล่อหนักสองหาบทั้งบอก เป็นงามนัก ราคา 1000 เหรียญเล็ก..."
    ปืนอามสตรองที่ทรงกล่าวถึง เมื่อเปรียบเทียบกับลักษณะของพระแสงปืนทรงพระสวัสดิ์ ซึ่ง ศาสตราจารย์ นายแพทย์สำราญ วังศพ่าห์ เขียนลงในนิตยสารศิลปากร ปีที่ 22 เล่ม 1 พฤษภาคม 2521 จะเห็นว่า ปืนกระบอกนั้นน่าจะเป็นปืนที่ทรงกล่าวถึง (ดำเนิร เลขะกุล 2527 : 22)
    พระแสงปืนทรงพระสวัสดิ์ เป็นปืนสัมฤทธิ์ขนาด 1.15 นิ้ว บรรจุทางท้ายลำกล้องทีละนัด และปิดท้ายด้วยลูกเลื่อน มีเกลียว 5 ร่อง วางบนฐานเหล็กโค้งงอเป็นรูปตัว S ไม่มีตัวหนังสือบอกบริษัท เมือง และปีที่สร้าง มีแต่ลายหน้าสิงโตอยู่ที่ฐาน ซึ่งเป็นเครื่องหมายแสดงว่าสร้างในประเทศอังกฤษ
    พระแสงปืนทรงพระสวัสดิ์
    ในพระราชนิพนธ์ "พระราชพิธีสิบสองเดือน" พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเล่าถึงพระราชพิธีสัมพัจฉรฉินท์ (พระราชพิธีสวัสดิมงคลประจำปี สวดอาฎานาฎิยสูตร และยิงปืนรอบกรุง) ทรงกล่าวถึงปืนที่ใช้ยิง ความว่า
    "ครั้นตกมาในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทหารปืนทองปรายคงยิงอยู่ตามเดิมพวกหนึ่ง ถอนเกณฑ์หัดปืนแดงเอาทหารเกณฑ์หัดอย่างยุโรปยิงแทนอีกพวกหนึ่ง ครั้นเมื่อหล่อปืน มหาฤกษ์ มหาชัย มหาจักร มหาปราบ ขึ้นพร้อมกันกับที่ทรงสร้างพระแสงปืนนพรัตน์ สำหรับเข้าพิธี ก็ทรงพระแสงปืนนพรัตน์ ซึ่งเป็นปืนอย่างที่เรียกว่าโก๊ อย่างเก่า ๆ ทรงยิงเองทางช่องพระแกลที่ 2 ด้านเหนือมุขตะวันออก เป็นสัญญาณให้ยิงปืนมหาฤกษ์ มหาชัย มหาจักร มหาปราบ พระแสงปืนนพรัตน์นั้นไม่สู้สะดวกนัก จึงโปรดให้จัดพระแสงปืนหลัก ที่
    สำหรับลงหน้าเรือพระที่นั่ง ขึ้นมาตั้งที่ชาลาหน้าพระมหาปราสาทตรงช่องพระแกลที่กล่าวมาแล้ว ล่ามสายไหมเบญจพรรณถักติดกับไกปืนขึ้นมาผูกกับพนักพระแกล เจ้าพนักงานประจุปืนอยู่ข้างล่าง เมื่อเวลาถึงกำหนดยิงก็ทรงกระตุกเชือกยิง พระแสงปืนหลักนั้นเป็นสัญญาณ ซึ่งให้เป็นสององค์ไว้นั้นเพื่อจะสับปรับ เมื่อไม่สับปรับก็ทรงทั้งสององค์ ภายหลังเมื่อพระแสงปืนใหญ่บรรจุท้าย ซึ่งได้เข้ามาถึงกรุงเทพ ฯ ในครั้งแรกโปรดยิ่งนักได้ทรงทดลองที่ปทุมวันและที่ลานเทหลายครั้ง ครั้นเมื่อถึงพระราชพิธี ก็โปรดให้มาตั้งที่ตรงหน้าพระแกลโยงเชือกขึ้นมาทรงกระตุกเป็นสัญญาณ พระแสงปืนหลักทั้ง 2 องค์นั้น ก็คงไว้ด้วย..."
    พระราชนิพนธ์ที่อัญเชิญมา แสดงให้เห็นว่าพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสนพระทัยในการปืนใหญ่ และทรงสั่งให้บรรดาราชทูตจัดหาหรือสั่งทำปืนใหญ่ตามตัวอย่างที่ทอดพระเนตรเห็นในหนังสือฝรั่ง และต่อมาเมื่อทรงเห็นภาพและทรงทราบคุณสมบัติของปืนแก็ตลิงกัน ซึ่งสร้างในสหรัฐอเมริกาจากนิตยสารฝรั่งแล้ว ก็เก็บไปทรง พระสุบิน และโปรดให้บริษัทต่างประเทศสร้างถวายตามพระสุบินใน พ.ศ. 2404 ปืนกระบอกนี้มี คุณสมบัติเป็นปืนกล เมื่อเข้ามาถึงได้พระราชทาน ชื่อว่า "พระแสงปืนพระสุบินบันดาล" ปัจจุบันนี้วางแสดงอยู่ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระนคร (ดำเนิร เลขะกุล 2527 : 25)
    พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงจัดหาปืนใหญ่ไว้ป้องกันประเทศ ดูจากเอกสารที่บันทึกไว้ในพระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 4 (เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ (ขำ บุนนาค) 2506 : 727-728) ตอนหนึ่ง มีพระราชดำริว่า
    "... บ้านเมืองก็เจริญขึ้นแล้ว ปืนใหญ่ ๆ ที่จะรักษาพระนครก็ยังมีน้อย พระบาทสมเด็จพระ นั่งเกล้าฯ สั่งปืนกระสุน 10 นิ้ว เข้ามาเพียง 100 บอก ยังไม่พอใช้ จึงโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ สั่งปืนกะสุน 8 นิ้ว 12 นิ้ว เข้ามาอีก เจ้าพระยา ศรีสุริยวงศ์ จึงสั่งนายทหารกุมปันนีว่า ราคาตกลงกัน กะสุน 12 นิ้ว ราคาบอกละ....(ไม่ใส่ราคาไว้) กะสุน 8 นิ้ว ราคาบอกละ ...(ไม่ได้ใส่ราคาไว้) ก็ได้ปืนเข้ามาเป็นอันมาก กับปืนเฟาลิงปิด 4 บอก มีรูปช้างคร่ำทองคำราคาบอกละ 30 ชั่ง 18 ตำลึง 2 บาท ปืนอามสตรอง กะสุนหนัก 40 ปอนด์ 2 บอก คิดทั้งเครื่องสำหรับปืนและส่งถึงกรุง บอกละ 61 ชั่ง 15 ตำลึง 1 สลึง ปืนอามสตรอง กะสุนหนัก 12 ปอนด์ 2 บอก คิดทั้งเครื่องสำหรับปืนและค่าจ้างส่งถึงกรุง บอกละ 47 ชั่ง 1 สลึง ปืนทองเหลือง 60 บอก ๆ ละ 2 ชั่ง 14 ตำลึง 3 บาท 1 สลึง เฟื้องปืนหลักช้าง 40 บอก ๆ ละ 6 ตำลึง 1 บาท และปืนคาบศิลาไรเฟิล ฉนวนทองแดง เข้ามารักษาพระนครอีก เป็นอันมาก..."
    ปืนใหญ่ซึ่งทรงสั่งซื้อเข้ามาใช้ในกองทหารปืนใหญ่ของวังหลวงนี้ เมื่อเข้ามาแล้วได้นำมาเก็บรักษาไว้ในโรงปืนใหญ่ ซึ่งตั้งอยู่ระหว่างศาลาลูกขุนในพระบรมมหาราชวัง และในปัจจุบันที่ยังเหลือ คือ
    1. ปืนใหญ่เฟาลิงปิด ลำกล้องกว้างราว 8 นิ้ว มีหลายกระบอก บนลำกล้องมีรูปช้าง ซึ่งเป็นเครื่องหมายของประเทศไทย บริษัทผู้สร้างทำให้เป็นพิเศษ และมีเลข "1861" ตรงกับ พ.ศ. 2404 เป็นปีที่คณะราชทูตไทยซึ่งมีพระยาศรีพิพัฒน์รัตนราชโกษา- ธิบดี (แพ บุนนาค) เป็นหัวหน้า เดินทางไปเจริญ สัมพันธไมตรีกับประเทศอังกฤษและฝรั่งเศส
    2. ปืนเหล็กตรามงกุฎ (เครื่องหมายประเทศอังกฤษ) ขนาด 4 นิ้ว แต่ปากลำกล้อง เจียนบาง ทำให้เข้าใจว่าน่าจะมีอะไรครอบรัดต่อออกไปอีก จำนวน 47 กระบอก
    3. ปืนขนาดเล็ก ทำด้วยโลหะแต่มีไม้หุ้มข้า
    กระบอก ปากลำกล้องกว้าง 1 นิ้ว รวม 14 กระบอก มีชื่อเป็นคำกลอนคล้องจองกัน เช่น ขวัญเมืองมิ่ง ยิ่งยศเสริม ฯลฯ
    4. ปืนครกเหล็กลำกล้องสั้นมาก ปากลำกล้องกว้าง 8-9 นิ้ว รวมอยู่ด้วย 2 กระบอก (ดำเนิร เลขะกุล 2527 :25)
     
  14. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    การทหารเรือ
    พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสนพระทัยในความเจริญของกิจการทหาร และทรงมุ่งหวังให้การทหารเจริญทัดเทียมกับต่างประเทศ เพราะพระองค์ทรงตระหนักถึงความจำเป็นที่จะต้องติดต่อกับต่างประเทศมากขึ้น ซึ่งอาจจะกระทบกระเทือนกันได้ ทรงทอดพระราชภาระให้พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าฯ และโปรดเกล้าฯ ให้ทรงดำรงตำแหน่งเป็น "ผู้บัญชาการทหารเรือวังหน้า" ทรงวางระเบียบแบบแผน ควบคุมการฝึกสอนและทรงอำนวยการต่อเรือกลไฟขึ้นได้ในเมืองไทยเป็นครั้งแรก พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าฯ ทรงเป็นคนไทยพระ-องค์แรกที่เป็นเจ้าของเรือกำปั่นที่ทำด้วยเหล็กทั้งลำ คือ "เรือมงคลราชปักษี" ซึ่งเป็นเรือสกูนเนอร์ (Schooner) ขนาด 100 ตัน (รอง ศยามานนท์ 2525 : 532)
    พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการทหารเรือวังหน้า ส่วนทหารเรือหน่วยอื่นที่ไม่ได้ขึ้นกับวังหน้า ให้ขึ้นกับเจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) สมุหพระกลาโหม ผู้ซึ่งมีความสามารถในกิจการทางทะเล และการต่อเรือได้จัดการต่อเรือกลไฟหลวงสำหรับใช้เป็นประโยชน์แก่ประเทศ โดยเริ่มเปลี่ยนแปลงเรือรบจากกำปั่นรบใช้ใบมาเป็นกำปั่นรบกลไฟ และเรือรบกลไฟชนิดใช้จักรข้างจักรท้าย
    เรือที่ต่อสำเร็จเวลานั้น ชื่อสยามอรสุมพลมีจักรข้างยาว 75 ฟุต เฉพาะเครื่องจักรและกลไกนั้นสั่งมาแต่ประเทศอังกฤษ ส่วนลำเรือนั้นต่อที่กรุงเทพฯ เมื่อได้เรือสยามอรสุมพลใช้ในทางราชการเป็นที่สบพระราชหฤทัยแล้ว จึงโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์จัดการสร้างต่อไปอีกหลายลำ ส่วนเรือใบที่เคยต่อและใช้อยู่แต่ก่อนมีพระราชดำริจะเลิกเสีย
    พ.ศ. 2401 สร้างเรือศรีอยุธยาเดช มีจักรท้าย ยาว 120 ฟุต กว้าง 27 ฟุต มีปืน 9 กระบอก
    พ.ศ. 2401 สร้างเรือมหาพิไชยเทพ มีจักรท้าย ยาว 120 ฟุต กว้าง 18 ฟุต มีปืน 7 กระบอก
    พ.ศ. 2402 สร้างเรือราญรุกไพรี มีจักรท้าย ยาว 180 ฟุต กว้าง 29 ฟุต มีปืน 9 กระบอก
    พ.ศ. 2404 สร้างเรือสงครามครรชิต มีจักรท้าย ยาว 100 ฟุต กว้าง 21 ฟุต มีปืน 2 กระบอก
    พ.ศ. 2404 สร้างเรือศักดิ์สิทธาวุธ มีจักรท้าย ยาว 100 ฟุต กว้าง 22 ฟุต มีปืน 2 กระบอก
    พ.ศ. 2406 สร้างเรือยงยศอโยชฌยา มีจักรท้าย ยาว 140 ฟุต กว้าง 29 ฟุต มีปืน 2 กระบอก แต่ ลำนี้สร้างให้เป็นเรือรบของวังหน้า
    พ.ศ. 2410 เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ได้ต่อ เรือรบขึ้นอีกลำหนึ่งใหญ่กว่าบรรดาเรือรบที่ได้ต่อมาแล้ว จึงโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อว่า "สยามูประสดัมภ์"
    เมื่อการสร้างกำลังทางเรือเป็นเรื่องสำคัญ จึงโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าลูกยาเธอ กรมหมื่นวิษณุนารถนิภาธร พร้อมด้วยเจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ เสด็จไป ทอดพระเนตรกิจการต่างประเทศที่เมืองสิงคโปร์และปีนัง เพื่อศึกษาการปกครอง ท่าจอดเรือ อู่ต่อและซ่อมเรือรบ เรือ สินค้าและกิจการอื่น ๆ เพื่อปรับปรุงกองทัพเรือไทยให้ทันสมัย
    ในราชการวังหลวง เมื่อเรือกลไฟเพิ่มจำนวนมากขึ้น จึงโปรดเกล้าฯ ให้ตั้ง "กรมเรือกลไฟ" ขึ้นในกรมทหารเรือของวังหลวงมีพระยาอรสุมพลภิบาลเป็นเจ้ากรม ส่วนกองเรือวังหน้าขึ้นต่อพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวเหมือนเดิม (รอง ศยามานนท์ 2525 : 534)
    ตำรวจ
    การวางพื้นฐานทางด้านตำรวจ
    พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้โปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งตำรวจทำหน้าที่รักษาการเหมือนอย่างเช่นตำรวจในปัจจุบันนี้ แต่ไม่ได้เรียกว่าตำรวจ หากเรียกว่า "โปลิศ" มีปรากฏในบันทึกจดหมายเหตุรายวันของ หมอบรัดเลย์ (Dr. Dan Beach Bradley) ประจำเดือนเมษายน ว่า
    "เมษายน พ.ศ. 2404 กองโปลิศที่จัดตั้งขึ้นใหม่ ลงมือรักษาหน้าที่ตอนสำเพ็ง"
    เป็นอันแน่นอนว่า โปลิศซึ่งตั้งขึ้นครั้งรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้น มีหน้าที่รักษาความสงบเรียบร้อยภายในพระนคร ปฏิบัติงานคล้ายหน้าที่ของตำรวจที่ปฏิบัติกันอยู่ในปัจจุบัน แต่ในครั้งนั้นไม่ได้เรียกว่า "ตำรวจ" เรียกทับศัพท์ภาษาอังกฤษว่า "โปลิศ" จากเอกสารของนายพันตำรวจโท ฟอร์ตี (C.H. Forty)เขียนเรื่อง "A Sketch of Siam's Gendarmerie" ลงในหนังสือพิมพ์ตำรวจในประเทศอังกฤษ (ก่อน พ.ศ. 2475) ชื่อหนังสือ "The Police Journal"
    ผู้แต่งเรื่องนี้เป็นชาวต่างประเทศ เคยเข้ามารับราชการตำรวจในประเทศสยามสามารถจดจำรวบรวมเรื่องราวได้ความว่า
    ในปี พ.ศ. 2405 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้ชาวอังกฤษผู้หนึ่ง นามว่า เอส เย เบิก เอมส์ (S.J. Burg Aims) ให้เป็นผู้ตั้งกองตำรวจขึ้นในพระนครเป็นครั้งแรก สมัยนั้นเป็นเวลาก่อนที่ตำรวจในกรุงลอนดอนซึ่งใช้เครื่องแบบสีน้ำเงิน ได้เปลี่ยนจากหมวกสูง (Top hat) มาใช้หมวกยอด (Helmet) ฉะนั้นเมื่อพิเคราะห์ดูตามบรรทัดฐานของตำรวจ จะเห็นได้ว่าตำรวจของไทยมีมานานก่อนสมัยดังกล่าว เป็นพวกที่ทำหน้าที่คล้ายคลึงและใกล้เคียงกับตำรวจมากที่สุดก็คือเจ้าหน้าที่จำพวกหนึ่ง (ตำรวจหวาย) แต่งกายในเครื่องแต่งกายพลเรือน คือถือมัดหวายมีหน้าที่ช่วยเหลือตุลาการ ทำนองเดียวกันกับจำพวก โบว์ สตรีท รันเนอร์ส (Bow Street Runners) ซึ่งเป็นชื่อของตำรวจในกรุงลอนดอนสมัยโบราณ
    เอมส์ ได้รับพระราชทานยศเป็นผู้บังคับการตำรวจ ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาครั้งแรกเป็นแขกมลายู รับสมัครจากพวกซึ่งเคยเป็นทหารและตำรวจมาแล้วที่สิงคโปร์ ต่อมาได้เปลี่ยนเป็นคนไทยและแขกอินเดีย ที่เหลืออยู่ก็มีหน้าที่สืบสวน
    ข้อความซึ่งหาอ่านได้จากจดหมายเหตุของประเทศสยาม ปี พ.ศ. 2412 อันเป็นระยะที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 เพิ่งสวรรคต มีความว่า
    "... พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระอุตสาหะพากเพียร ในอันที่จะจัดนายตำรวจต่างประเทศ โดยพระราชทานเงินเดือนอย่างพอเพียง และกองตำรวจซึ่งได้ฝึกฝนมาจากเมืองท่าสิงคโปร์ของอังกฤษ พระองค์ได้ทรงพยายามเป็นเวลาหลายปี จนกระทั่งได้ผลเป็นที่พึงพอใจเรามีความยินดีที่พลเมืองได้มีหัวหน้าชาติอังกฤษ ที่สามารถทำการบังคับบัญชากองตำรวจ สำหรับที่จะคอยรักษาความปกติสุขของพระนครให้พ้นจากพวกมิจฉาชีพ..."
    ข้อความนี้เขียนโดย บาดหลวง แซมมูเอล เย. สมิธ (S.J. Smith) หมอสอนศาสนาคริสต์ และเป็นเจ้าของหนังสือพิมพ์รายเดือนฉบับแรกในกรุงเทพมหานคร (ประยุทธ สิทธิพันธ์ 2519 : 44-45)
    จึงกล่าวได้ว่าพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว ทรงเป็นผู้ก่อกำเนิดตำรวจขึ้นเป็นครั้งแรกในกรุงรัตนโกสินทร์
    การศาสนาในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 พระองค์ทรงตระหนักว่า พระภิกษุสงฆ์ประพฤติปฏิบัติผิดแผกไปจากพระธรรมวินัยเก่าแก่เป็นอันมาก การปฏิบัติศาสนกิจกระทำกันไปตามที่เคยปฏิบัติมา โดยไม่เข้าใจถึงความหมายและจุดมุ่งหมายที่แฝงอยู่ภายในเนื้อหาอันแท้จริงของพุทธศาสนา คือ ความรู้อันได้จากการตีความหมายของพระไตรปิฎก พระองค์มีพระราชประสงค์ที่จะเข้าใจในพุทธศาสนาที่แท้จริง และให้ผู้อื่นเข้าใจถึงประโยชน์อันเกิดจากข้อปฏิบัติที่ พระพุทธองค์ได้ทรงบัญญัติพร้อมทั้งหลักธรรมที่ได้จากการปฏิบัติ เน้นหนักในแนวความคิดเห็นด้าน ศีลธรรมจรรยาของชาวพุทธ
    พระองค์ทรงถือว่าพระธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธองค์ ไม่มีข้อขัดแย้งอะไรกับวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ พระองค์มิได้ทรงคัดค้านในเรื่องการตายแล้วเกิดใหม่ แต่พระองค์ทรงใช้อัตถาธิบายไปในแง่ปรัชญา ทรงชี้ให้เห็นถึงหลักของฟิสิกส์ ที่ว่าผลย่อมเกิดแต่เหตุ หากหลักเกณฑ์อันนี้ ครอบคลุมจักรวาลทางวัตถุอยู่ เหตุไฉนหลักเกณฑ์อันเดียวกันนี้จะไม่ครอบคลุมไปถึงจักรวาลทางจิตด้วย ตามหลักนี้สรุปได้ว่า กรรมทั้งหลายไม่ว่าจะเป็นกรรมดีหรือกรรมชั่ว ย่อมติดตามหรือยังผลให้เกิดขึ้นอย่างหลีกเลี่ยงไม่พ้น ไม่ว่าชาตินี้หรือชาติหน้า ถึงหากจะไม่เชื่อว่าวิญญาณจะไปเกิดใหม่ แต่อำนาจแห่งกรรมย่อมไม่มีวันเสื่อมศูนย์ แนวความคิดเช่นนี้ยากสำหรับบุคคลธรรมดาที่จะเข้าใจได้ หากแต่เป็นเพราะพระองค์ทรงเข้าใจในหลักศาสนาอย่างลึกซึ้ง พระองค์จึงทรงพยายามให้ประชาชนของพระองค์เข้าใจในหลักธรรมเช่นกัน (มอฟแฟ็ท 2520 : 24)
    เมื่อทรงผนวชเป็นสามเณรตามประเพณี ทรงศึกษาศีลธรรมและเรียนภาษาบาลีขั้นต้น พระองค์ทรงดำรงภาวะสามเณรอยู่ 7 เดือน ครั้นเมื่อมีพระ ชนมพรรษาได้ 21 พรรษา ทรงผนวชเป็นพระภิกษุ ซึ่งเดิมพระองค์ตั้งพระทัยที่จะทรงผนวชเพียงหนึ่งพรรษาตามราชประเพณี หากเกิดเหตุการณ์อันมิได้คาดคิด ผลปรากฏต่อมาว่า พระองค์ไม่ได้ทรงลาผนวชตราบจน 27 ปีภายหลัง
    การทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา
    สมัยก่อนเสวยราชย์
    พระองค์ทรงผนวชที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม แล้วเสด็จไปประทับที่ตำหนักในวัดมหาธาตุฯ ทำอุปัชฌายวัตร 3 วัน จากนั้นเสด็จไปจำพรรษา ณ วัดสมอราย (วัดราชาธิวาส พระราชทานนาม เมื่อครั้งรัชกาลที่ 4) ทรงศึกษาวิปัสสนาธุระ เมื่อต้องทรงเพศเป็นสมณะต่อไปไม่มีกำหนด จึงตั้งพระทัยเรียนให้ได้ความรู้วิปัสสนาอย่างถ่องแท้ จนจบสิ้นความรู้ของครูอาจารย์ และที่สำคัญเมื่อทรงไต่ถามเพื่อ ค้นคว้าหารากมูลของลัทธิวิธี ครูอาจารย์ไม่สามารถชี้แจงถวายให้สิ้นความสงสัย ทูลแต่ว่าครูบาอาจารย์สอนมาเพียงเท่านั้น (สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ 2514 : 69) พระองค์ทรงเห็นว่า การกล่าวเช่นนั้นเป็นการถือลัทธิดื้อรั้น ไม่รู้ผิดชอบ ไม่เป็นที่ตั้งแห่งปัญญา (สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยา วชิรญาณวโรรส 2482 : 137 อ้างถึงใน ม.ร.ว. ศุภวัฒย์ เกษมศรี 2525 : 491) จึงเกิดท้อพระหฤทัยในการศึกษาวิปัสสนาธุระรวมทั้งวัตรปฏิบัติของสงฆ์ เนื่องจากทรงมีความเห็นว่า
    "ลัทธิสมถวิปัสสนาธุระนั้น วุ่นวายมากไปด้วยสัมโมหะวิหาร เปรียบเหมือนยืมจมูกของท่านผู้อื่นมาหายใจ ท่านซึ่งเป็นพระอาจารย์นั้น จะพูดจาสั่งสอนในพระธรรมอันใด ก็งุบงิบ อ้อมแอ้ม ไม่อธิบายให้กระจ่างสว่าง ให้ได้ความเลื่อมใสศรัทธาแก่ผู้เล่าเรียน ครั้นศิษย์พวกใด ไถ่ถามบ้างก็โกรธ พูดอ้างคติโปรามาจารย์ เช่น อาจิณกัปปิกา ว่าท่านผู้ใหญ่เคยทำมาอย่างนี้…"
    (นฤมล ธีรวัตร 2525 : 80) พอออกพรรษา จึงเสด็จกลับมาประทับที่วัดมหาธาตุฯ เพื่อทรงศึกษาด้านคันถธุระต่อไป เมื่อเสด็จมาประทับวัดมหาธาตุฯ ทรงศึกษาคันถธุระให้ลึกซึ้ง ทรงเรียนภาษามคธกับพระวิเชียรปรีชา (ภู่) เจ้ากรมราชบัณฑิตย์ จนเชี่ยวชาญ จึงทรงสอบสวนในคัมภีร์พระไตรปิฎก ทรงเห็นว่าข้อปฏิบัติด้านธรรมวินัย ที่พระสงฆ์ประพฤติปฏิบัติกันอยู่คลาดเคลื่อนจากพระพุทธบัญญัติไม่ก่อให้เกิดความเลื่อมใสศรัทธา ขณะที่ทรงพระปริวิตกอยู่ ได้ทรงวิสาสะกับพระเถรรามัญนามพระสุเมธมุนี อยู่วัดบวรมงคลบวชมาจากเมืองมอญ มีความรู้เรื่องธรรมวินัยและมีวัตรปฏิบัติที่เคร่งครัด สามารถชี้แจงให้ทรงทราบอย่างชัดแจ้งและสิ้นสงสัย พระองค์ได้ทรงรับวัตรปฏิบัติตามแบบพระสุเมธมุนีและทรงนับถือเป็นพระอุปัชฌาย์อีกด้วย จึงนับได้ว่าก่อกำเนิดเป็นต้นคติธรรมยุติกนิกาย ความเลื่อมใสและทรงขยันหมั่นเพียร ทำให้พระองค์ทรงศึกษาต่อไป พระองค์ทรงใช้สามัญสำนึกและมีพระทัยที่จะค้นหาเหตุผลอย่างแท้จริงอยู่เสมอ ทรงตั้งพระทัยศึกษาค้นคว้าให้มาก ถึงความรู้ทางหลักพระพุทธศาสนาและพระวินัย ทรงศึกษาจนแตกฉานเชี่ยวชาญ ในภาษามคธทั้งบาลีและสันสกฤต สามารถสอบสวนข้อความต่าง ๆ จากพระไตรปิฎกทุกฉบับ
    ใน พ.ศ. 2369 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระราชประสงค์ให้พระองค์เสด็จเข้าสอบไล่พระปริยัติธรรมหน้าพระที่นั่ง และพระราชทานสมณศักดิ์พัดยศสำหรับเปรียญเอก 9 ประโยค โปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้เป็นพระราชาคณะ แล้วให้เสด็จเข้าร่วมในที่ประชุมพระราชาคณะผู้ใหญ่น้อยเพื่อสอบไล่พระปริยัติธรรมแก่พระภิกษุสามเณร
    ช่วงเวลาที่ประทับอยู่ ณ วัดมหาธาตุฯ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสั่งสอน กุลบุตรให้เล่าเรียนศึกษาโดยทรงเน้นข้อวินัยวัตรและสุตตันตปฏิบัติต่าง ๆ ให้ถูกต้องตามพระธรรมวินัย มีผู้บรรพชาอุปสมบท ประพฤติตามเยี่ยงอย่างพระองค์ขึ้นหลายรูป จนถึงปี พ.ศ. 2372 พระองค์จึงทรงย้ายจากวัดมหาธาตุฯ มาประทับ ณ วัดสมอราย ทรงมีศิษย์ที่ถือวัตรปฏิบัติอย่างธรรมยุติกามีจำนวนราว 20 รูป (ม.ร.ว. ศุภวัฒย์ เกษมศรี 2525 : 492) ตามเสด็จไปวัดสมอรายบ้าง คงอยู่ที่วัดมหาธาตุฯ บ้างและแยกย้ายไปอยู่ที่วัดอื่นบ้าง พระองค์ทรงตั้งสำนักนิกายธรรมยุตมีผู้คนนิยม นับถือพระองค์มาก ทั้งพระภิกษุและคฤหัสถ์ ทรงให้บรรพชาอุปสมบทแก่ผู้มีศรัทธา และสงเคราะห์แก่คฤหัสถ์ด้วยธรรมกถาอนุสาสโนวาท จึงมีพระสงฆ์นิกายธรรมยุตแพร่หลายแต่ครั้งนั้นมา การก่อตั้งนิกายธรรมยุตนี้ทำให้พระองค์ถูกเพ่งเล็งในทางการเมือง ดังปรากฏในพระราชหัตถเลขา (พระราชหัตถเลขา พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว 2506 : 44-45 อ้างถึงใน ม.ร.ว. ศุภวัฒย์ เกษมศรี 2525 : 493) ความว่า
    "... ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ข้าพเจ้าก็เป็นคนหน่าต่ำเลวลับหน่าค่าซื่อ อยู่หัวบ้านหัวเมือง ไม่มีใครรู้จักมักคุ้น ไม่มีใครได้ไปมาหาสู่... ตัวข้าพเจ้ามีวาสนาสูงคราวหนึ่งต่ำคราวหนึ่ง... ครั้งนั้นชาวบ้านชาวชาวเมืองเล่าลือว่ากีดพระเนตรพระกรรณพระเจ้าอยู่หัว..."
    ข่าวนี้ถึงพระกรรณของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงรำคาญพระราชหฤทัยและเพื่อระงับความสงสัยและข่าวลือต่าง ๆ นานา จึง โปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนสมณศักดิ์ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ขึ้นเสมอเจ้าคณะรอง และเชิญเสด็จมาครองวัดบวรนิเวศฯ (ในขณะนั้นตำแหน่ง เจ้าอาวาสว่างอยู่) ใน พ.ศ. 2379 เมื่อทรงเป็น เจ้าอาวาสวัดนี้ จึงทรงจัดระเบียบการคณะสงฆ์ การปกครองวัด และสั่งสอนผู้คนตามคติธรรมยุติกนิกาย มีผู้คนศรัทธาขอบรรพชาอุปสมบทกับพระองค์มากขึ้น มีพระสงฆ์ในพรรษาราว 130 ถึง 150 รูป สงฆ์ฝ่ายธรรมยุตเริ่มขยายตัวขึ้นมากตามลำดับ สำหรับคติธรรมยุติกนิกาย ทรงพระราชนิพนธ์เรื่อง พระรัตนตรัย (ประชุมพระราชนิพนธ์ภาษาไทยในรัชกาลที่ 4 2511 : 38-39 อ้างถึงใน ม.ร.ว. ศุภวัฒย์ เกษมศรี 2525 : 494) ไว้ว่า
    "... ทรงเห็นดังนี้แล้วสังเวชในพระทัย จึงยกเอาพระธรรมวินัย คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าเป็นที่เคารพนับถือ เป็นของจริงของแท้ปฏิบัติไปตาม จึงมีนามว่า ธรรมยุติกา... ให้ปฏิบัติเอาแต่สิ่งที่ถูกตามพระธรรมวินัยให้มีลัทธิถือมั่นในทางสวรรคนิพาน ที่ตรงที่ถูกเป็นที่แน่นอนกับใจว่านรกสวรรค์เป็นของ มีจริง มรรคผลนิพานเป็นของมีจริง คนมีปัญญา อันสุขุมละเอียดจึงจะรู้ได้ด้วยใจ จะแลไปด้วยตา ไม่เห็น..."
    "...เราทั้งหลายผู้ธรรมยุติกวาที มีวาทะถ้อยคำกล่าวตามที่ชอบแก่ธรรม เป็นผู้เลือกคัดแต่ข้อที่ชอบแก่ธรรม ไม่ผิดไม่ละเมิดจากธรรม... ในพระบาลีว่านี้เป็นคำสั่งสอนเป็นแก่นสารพระพุทธศาสนาแน่ดังนี้แล้ว เราทั้งหลายก็ปฏิบัติตามคำสั่งสอนนั้น ด้วยกายวาจาจิต..."
     
  15. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    นิกายธรรมยุต ตั้งขึ้นมาเพื่อปฏิรูปพระพุทธศาสนา ฟื้นฟูด้านวัตรปฏิบัติของสงฆ์ เป็นเครื่องเตือนพุทธสาวกของพระองค์ว่า พึงอิงอยู่กับพระธรรม เป็นนิกายที่มีความเป็นเหตุผลและวิทยาศาสตร์ แก่นของพระศาสนา สัจธรรมอันลึกซึ้งที่จะนำไปสู่ความหลุดพ้น ข้อสำคัญคำสอนในพระพุทธศาสนาไม่มีอะไรขัดแย้งกับความเจริญทางวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ สิ่งที่วิทยาศาสตร์ค้นพบนั้นเป็นสิ่งที่พระพุทธ-เจ้าทรงหยั่งรู้เมื่อ 2000 ปีมาแล้ว
    พระองค์ทรงริเริ่มวางระเบียบแบบแผน ในด้านการปฏิรูปทางพระพุทธศาสนาหลายประการ ดังนี้
    1. ทรงตั้งธรรมเนียมนมัสการพระเช้าค่ำ ที่เรียกว่าทำวัตรเช้า ทำวัตรค่ำ เป็นประจำ และทรงพระราชนิพนธ์บทสวดเป็นภาษาบาลี เป็นคาถา เป็น จุณณิยบท ซึ่งใช้แพร่หลายมาจนถึงปัจจุบันนี้ มีการรักษาศีลอุโบสถ และแสดงพระธรรมเทศนาเวลาเก้าโมงเช้าและบ่ายสามโมงเย็น ในวันธรรมสวนะและวันอุโบสถ เดือนละ 4 ครั้ง
    2. ทรงปฏิรูปการเทศน์และการอธิบายธรรมทรงเริ่มการเทศนาด้วยฝีพระโอษฐ์ ชวนให้ผู้ฟังเข้าใจง่ายและเกิดศรัทธา ไม่โปรดเขียนหนังสือไว้เทศน์นอกจากนี้ยังทรงฝึกหัดศิษย์ให้ปฏิบัติตาม ทรงอธิบายเพื่อให้คนเข้าใจในเนื้อหาของหลักธรรม เผยแพร่หลักธรรมสู่ราษฎร อธิบายหลักอันยุ่งยากซับซ้อน คณะสงฆ์ธรรมยุตได้เพิ่มบทสวดมนต์ภาษาไทยลงไป ทำให้คนนิยมฟังเป็นอันมาก
    3. ทรงกำหนดวันมาฆบูชาเป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาเพิ่มขึ้นจากวันวิสาขบูชา ทรงพระราชนิพนธ์คำบูชา และวางระเบียบให้เดินเวียนเทียนและสดับพระธรรมเทศนา ทรงชักนำให้บำเพ็ญกุศลตามเทศกาลต่าง ๆ เช่น ถวายสลากภัตร ตักบาตรน้ำผึ้ง ถวายผ้าจำนำพรรษา
    4. ทรงแก้ไขการรับผ้ากฐินให้ถูกต้องตามพุทธบัญญัติ คือเริ่มแต่การซัก ตัด เย็บ ย้อม ให้เสร็จภายในวันเดียวกัน
    5. ทรงแก้ไขการขอบรรพชา และการสวดกรรมวาจาในอุปสมบทกรรมให้ถูกต้องยิ่งขึ้น เช่น ระบุนามอุปสัมปทา และนามอุปัชฌายะ ซึ่งเป็นภาษาบาลีในกรรมวาจา การออกเสียง อักษรบาลี ทรงให้ถือหลักการออกเสียงให้ถูกฐานกรณ์ของอักขระตามหลักบาลีไวยากรณ์
    6. ทรงวางระเบียบการครองผ้า คือการนุ่งห่มของภิกษุสามเณร ให้ปฏิบัติไปตามหลักเสริยวัตรในพระวินัยเพื่อให้สุภาพเรียบร้อย (เดิมพระธรรมยุตครองจีวรห่มแหวก แต่ตอนปลายรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เปลี่ยนมาห่มคลุม (ห่มหนีบ) ตามแบบพระสงฆ์มหานิกาย ครั้นถึงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสวยราชย์ จึงได้กลับมาห่มแหวกตามเดิม) ทรงวางระเบียบการกราบไหว้ของพระภิกษุสามเณร และระเบียบอาจารยะมารยาท ต้องวางตัวให้น่าเลื่อมใสศรัทธา สังวรในกิริยามารยาทและขนบธรรมเนียม
    7. ทรงให้พระสงฆ์ธรรมยุต ศึกษาพระปริยัติธรรมให้แตกฉาน สามารถแสดงธรรมเทศนา สั่งสอน สามารถแยกระหว่างความเชื่อที่มีเหตุผล และความเชื่อในสิ่งที่ไม่สามารถอธิบายได้ การศึกษาในด้านวิปัสสนาธุระ ไม่ใช่รับรู้เฉพาะสมถะวิธีอันเป็นเบื้องต้น แต่ให้รับรู้ไปถึงขั้นวิปัสสนากรรมฐาน การปฏิบัติตามพระวินัย ทรงให้ถือหลักว่าสิ่งใดที่สงสัยและน่ารังเกียจไม่ควรกระทำโดยเด็ดขาด พึงเคารพพระวินัยอย่างเคร่งครัด
    8. ทรงเห็นความสำคัญในการศึกษาหา ความรู้สาขาอื่น ๆ ของพระสงฆ์ จึงทรงอนุญาตให้พระสงฆ์เข้าศึกษาภาษาอังกฤษกับหมอแคสเวล (Reverend Jesse Caswell) ตามความสนใจ ทำให้มีการสืบสานการเข้าศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมของพระสงฆ์มาจนถึงปัจจุบัน
    นับได้ว่าพระองค์ทรงเป็นผู้ประทานกำเนิดพระสงฆ์นิกายธรรมยุต โดยทรงจัดวางระเบียบแบบแผนและธรรมยุติกวัตรขึ้นสำเร็จ ซึ่งทรงปฏิบัติไปด้วยความกล้าหาญ ไม่ทรงย่อท้อต่ออุปสรรค แม้ว่าจะมีความพยายามทำลายล้างพระสงฆ์นิกายนี้ ดังเช่นให้สึกพระอุปัชฌาย์ของพระองค์ และกลั่นแกล้งพระสงฆ์นิกายธรรมยุต อย่างไรก็ตามพระสงฆ์นิกายธรรมยุต ก็เป็นที่ศรัทธาของราษฎรทุกชั้นขึ้นตามลำดับ การก่อเกิดของธรรมยุติกนิกายยังผลให้มีการฟื้นฟู และส่งผลที่เป็นคุณแก่พระพุทธศาสนา การพยุงรักษาพระพุทธศาสนาเท่าที่กระทำกันใน รัชกาลก่อน ๆ ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ การฟื้นฟูและทำนุบำรุงพระพุทธศาสนามุ่งเน้นไปทางพระปริยัติธรรม และก่อสร้างปฏิสังขรณ์ด้านศาสนวัตถุเป็นส่วนใหญ่ แต่ศาสนบุคคลยังไม่ได้รับการฟื้นฟูอย่างจริงจัง กรณีที่มีผู้ประพฤติปฏิบัติผิดพระวินัย ก็ทรงใช้พระราชอำนาจป้องกันปราบปรามให้สึกจากสมณเพศ ยังไม่ได้เข้าไปแก้ไขในวงการสงฆ์ ดังนั้นการที่สมเด็จเจ้าฟ้ามงกุฎ ทรงตั้งคณะสงฆ์ขึ้นและมีวัตรปฏิบัติที่เคร่งครัดถูกต้องตามพระวินัยปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้องดีงาม ศึกษาพระปริยัติธรรมอย่างเข้าใจแจ่มแจ้ง นับได้ว่าทรงฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในส่วนที่บกพร่องของพระสงฆ์ไทยที่มีมาแต่โบราณ ให้สมบูรณ์ทั้งพระวินัยปิฎกและพระสุตตันตปิฎก ซึ่งเป็นการสืบต่ออายุของพระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรืองอย่างบริบูรณ์ขึ้นในประเทศไทย
    สมัยเสวยราชย์
    เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสวยราชย์ใน พ.ศ. 2394 ทรงวางนโยบายไว้อย่างชัดเจนเกี่ยวกับการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา ซึ่งสรุปได้ดังนี้ (พระราชนิพนธ์ ร.4 ว่าด้วยการในพระพุทธศาสนา 2511 : 28 อ้างถึงใน ม.ร.ว. ศุภวัฒย์ เกษมศรี 2525 : 498)
    1. ห้ามการข่มขี่และเบียดเบียนพระสงฆ์ที่ต่างนิกาย
    2. จะทำการปราบปรามภิกษุที่ประพฤติทุจริต หยาบช้าและทำลามกอนาจารต่าง ๆ เพราะเป็นสิ่งที่ทำให้ศาสนามัวหมองและเสียเกียรติยศแก่บ้านเมืองอีกด้วย
    3. ทรงยกย่องผู้ประพฤติชอบมีศีลสังวร สั่งสอนศิษย์ในข้อพระวินัย และให้ศึกษาคันถธุระวิปัสสนาธุระตามสมณกิจ
    4. ทรงนับถือเฉพาะแต่แก่นพระพุทธศาสนา ให้เห็นสัจธรรมอันลึกซึ้งที่จะนำสู่ความ หลุดพ้น ส่วน "กระพี้รุงรังสกปรกโสโครก" ที่เข้ามาปะปนในพระศาสนาไม่ทรงนับถือ เว้นแต่สิ่งนั้นได้กลายเป็นธรรมเนียมแบบแผนก็ยอมให้คงไว้
    ทรงเป็นองค์อัครศาสนูปถัมภกในพระพุทธศาสนา ทรงเริ่มทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาให้มีความมั่นคง และเรียบร้อยขึ้นในสังฆมณฑล นับแต่วาระแรกที่เสด็จขึ้นเสวยราชย์ ทรงวางพระองค์ให้เป็นกลางระหว่างสงฆ์มหานิกายและสงฆ์ธรรมยุต แม้ว่าพระองค์ทรงเป็นผู้ก่อตั้งธรรมยุติกนิกาย เมื่อคราวพระราชพิธีเสด็จฯ เลียบพระนครนั้น โปรดให้กระบวนเสด็จเลียบพระนครทางสถลมารคไปยังวัดพระเชตุพนฯ ซึ่งเป็นวัดสำคัญของสงฆ์มหานิกาย และเสด็จทางชลมารคไปยังวัดบวรนิเวศ วัดสำคัญของสงฆ์ธรรมยุต ทั้งนี้เพื่อแสดงว่าพระองค์ทรงเป็นองค์ศาสนูปถัมภกพุทธศาสนาโดยไม่ลำเอียง (ม.ร.ว. ศุภวัฒย์ เกษมศรี 2525 : 498) และระงับข้อสงสัยของคนทั่วไปว่า เมื่อเสด็จขึ้นครองราชสมบัติจะใช้พระราชอำนาจบังคับพระสงฆ์ให้เป็นสงฆ์ธรรมยุตเสียหมด และเมื่อคณะสงฆ์ฝ่ายธรรมยุตถวายฏีกาเพื่อขอพระบรมราชานุญาตกลับไปห่มแหวก พระองค์ได้พระราชทานพระบรมราชวินิจฉัยว่า การปฏิบัติพระธรรมวินัยเป็นกิจของพระสงฆ์ผู้ปฏิบัติ มิใช่ราชกิจของพระเจ้าแผ่นดิน ที่จะทรงสั่งให้ทำประการใด (สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ 2514 : 131) จะเห็นได้ว่าทรงระมัดระวังในการวางพระองค์ให้เป็นกลางอย่างเคร่งครัด เพราะทรงเป็นพระมหากษัตริย์ ฐานะของพระองค์ทรงเปลี่ยนไป มิใช่อย่างที่ทรงเคยเป็นในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว แม้ตำแหน่งในทางสมณศักดิ์ก็เช่นกัน ทรงส่งเสริมโดยถือหลักเกณฑ์อายุ พรรษา และคุณธรรม ความรู้ เป็นสำคัญมากกว่ายึดถือนิกาย และดำรัสสั่งในราชการให้ถือว่าพระสงฆ์สองนิกายเป็นอย่างเดียวกัน ฐานะเสมอกัน การสังฆมลฑลก็มิได้แตกร้าวตลอดรัชสมัย ด้วยพระสงฆ์พากันเลื่อมใสในพระปรีชาญาณขององค์อัครศาสนูปถัมภก (สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ 2514 : 132-133)
    สำหรับถาวรวัตถุทางพระพุทธศาสนา เช่น วัดวาอาราม ทรงบูรณะให้สมบูรณ์มากกว่าที่จะทรงสร้างใหม่ ทรงมีพระราชดำริว่า ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงสร้างวัดไว้มากพอแล้ว การสร้างวัดใหม่ส่วนมากโปรดเกล้าฯ ให้สร้างวัดในต่างจังหวัด ในกรุงเทพฯ โปรดเกล้าฯ ให้สร้างวัดโสมนัสวิหารราชวรวิหาร วัดปทุมวนารามราชวรวิหาร วัดราชประดิษฐ์สถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร และวัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร วัดที่ทรงสร้างไม่มีพระราชประสงค์ให้ใหญ่โต เพราะจะรักษายาก ดังประกาศ (ประชุมประกาศรัชกาลที่ 4 2408-2410 : 223-224 อ้างถึง ใน ม.ร.ว. ศุภวัฒย์ เกษมศรี 2525 : 500) ความว่า
    "... ในหลวงบัดนี้ก็ไม่สู้ถนัดที่จะคิดสร้างวัดใหญ่วัดโต เพราะเห็นว่าของชำรุดก็ไม่มีใครซ่อม วัดใหญ่นักก็ถวายเป็นที่อยู่ของศัตรูพระศาสนาไป จึงโปรดแต่ที่จะสร้างวัดเล็ก ๆ ที่จะบรรจุพระสงฆ์ 30 รูป ลงมาพอให้เจ้าอาวาสมีความรักวัดบ้าง เอาใจใส่วัดบ้าง..."
    นอกจากจะทรงสร้างบูรณะปฏิสังขรณ์วัดและปูชนียสถานแล้ว ทรงสร้าง และจำลองพระพุทธรูปและส่งสมณทูตไปลังกา เพื่อรวบรวมหลักฐานทางพระพุทธศาสนามาซ่อมพระไตรปิฎกที่ขาดไปให้ครบบริบูรณ์ ทรงบริจาคพระราชทรัพย์ สร้างพระไตรปิฎกฉบับล่องชาดและปิดทองขึ้น ทรงออกแบบอักษรไทยใช้ในภาษามคธขึ้นแทนอักษรอริยกะ ซึ่งได้ทรงคิดไว้แต่เดิม เพื่อใช้พิมพ์คำสมาทานศีล คำนำวัตรสวดมนต์สำหรับอุเทสิกเจดีย์ (ม.ร.ว. ศุภวัฒย์ เกษมศรี 2525 : 501) อีกทั้งยังทรงเป็นพระมหากษัตริย์ไทยพระองค์แรก ที่ทรงนำพระพุทธศาสนาเข้ามาเกี่ยวข้องในการพระราชพิธีต่าง ๆ ซึ่งแต่เดิมงานพระราชพิธีใช้แต่พิธีทางพราหมณ์เท่านั้น เช่น พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ พระราชพิธีตรียัมปวาย และพระราชพิธีโสกันต์
    พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเข้มงวดกวดขันการประพฤติปฏิบัติของพระสงฆ์ ทรงถือว่าพระวินัยสิกขาบทเป็นเครื่องดำรงให้ พระพุทธศาสนามั่นคงถาวร และทรงเห็นเป็นสิ่งผิดที่คฤหัสถ์จะถือลัทธิ "ชั่วช่างชีดีช่างสงฆ์" เพราะในยุคนี้มิใช่ยุคต้นศาสนา พุทธจักรต้องอาศัยราชอาณาจักร พระพุทธศาสนาจึงรุ่งเรืองอยู่ได้ พระองค์ทรงออกประกาศของทางราชการและพระราชบัญญัติ อาทิ ประกาศว่าด้วยการทรงทะนุบำรุงพระพุทธศาสนา ประกาศห้ามมิให้พระสงฆ์ บอกใบ้แทงหวยและประพฤติอนาจาร ประกาศห้ามมิให้ภิกษุสามเณรคบผู้หญิงมาพูดที่กุฏิ ประกาศพระราชบัญญัติเรื่องพระสงฆ์ สามเณรลักเพศ (ม.ร.ว. ศุภวัฒย์ เกษมศรี 2525 : 501) ทั้งนี้ เพื่อให้พุทธจักรมีความบริสุทธิ์ ไม่มัวหมองและเป็นเกียรติยศแก่ บ้านเมืองและประเทศที่นับถือศาสนาพุทธ ดังที่ปรากฏในประชุมประกาศ ความว่า
    "...พระสงฆ์สามเณรทุกวันนี้มักประพฤติการนักเลง แปลงเพศเป็นคฤหัสถ์ไปเล่นเบี้ยเล่นไพ่แลสูบฝิ่นกินสุรา ถือศัสตราวุธ เที่ยวกลางคืนชุกชุมมากขึ้นจับได้มาเนือง ๆ ครั้นแปลงเพศมาถึงกุฎีแล้ว ก็สำคัญใจว่าตัวไม่ได้ปลงสิกขาบทกลับ เอาผ้าเหลืองนุ่งห่มเข้าตามเพศเดิม การที่ถือใจว่าไม่ได้ปลง สิกขาบทกลับนุ่งห่มผ้าเหลืองนั้น เป็นความในใจจะเชื่อถือเอาไม่ได้ ฝ่ายคฤหัสถ์ที่แปลงเพศเป็นภิกษุเข้าร่วมสังฆกรรมในคณะสงฆ์นั้น ตามพระวินัยบัญญัติก็มีโทษห้ามอุปสมบท เพราะฉะนั้นตั้งแต่นี้สืบไป พระสงฆ์สามเณรรูปใด ๆ แปลงเพศเป็นคฤหัสถ์ปลอมไปเล่นเบี้ย เล่นไพ่ และสูบฝิ่นกินสุรา ถืออาวุธ เที่ยวกลางคืน อย่างใดอย่างหนึ่งที่กล่าวห้ามไว้นั้น มีผู้จับตัวมาได้หรือสึกแล้วยังไม่พ้นสามเดือน มีใครเขาก็ฟ้องกล่าวโทษ พิจารณาเป็นสัจแล้ว จะให้สักหน้าว่าลักเพศภิกษุลงพระราชอาญาเฆี่ยน 2 ยก 60 ทีส่งตัวไปเป็นไพร่หลวงโรงสี..." (กระทรวงศึกษาธิการ 2527 : 58)
    "... จึงทรงพระราชดำริเห็นว่า ภิกษุสามเณรทุกวันนี้บวชอาศัยพระศาสนาอยู่เพื่อลาภสักการ ต่างๆ ไม่บวชด้วยความเลื่อมใสในพระพุทธสิกขาบท ภิกษุสามเณรทุกวันนี้เป็นอลัชชีประพฤติความชั่วนั้นต่าง ๆ จนถึงเป็นปาราชิก ภิกษุ สามเณรทำเมถุนธรรมได้โดยง่ายนั้น เป็นเหตุให้ภิกษุสามเณร ไปหา ผู้หญิงชาวบ้านนั้นโดยง่ายอย่างหนึ่ง ผู้หญิงชาวบ้านไปหาภิกษุสามเณรที่วัดที่กุฎีอย่างหนึ่ง...ให้พระราชาคณะเอาใจใส่ภิกษุสามเณร อย่าให้คบผู้หญิงขึ้น พูดจาบนกุฎีเป็นอันขาด..." (กระทรวงศึกษาธิการ 2527 : 59)
    "... ยิ่งกว่านั้นพวกผู้หญิงยังเห็นว่า พระบางรูปอุดมสมบูรณ์ ก็เป็นจริงที่ว่าบางท่านเป็นพระมีชื่อ ร่ำรวยเงินทองได้เลื่อนฐานันดรเป็นถึงเจ้าวัดมีสมณศักดิ์สูง เป็นมหาเปรียญ มีผู้มาทำบุญเป็นเงินเป็นทอง ไปเทศน์มาได้ ไปสวดศพมาได้ แล้วยังมีงานบุญ งานกุศล ได้เงินเฟื้อง เงินสลึง ก็รวบรวม ไว้เป็นบาทเป็นตำลึง นี่แหละเป็นปัจจัยให้นึกอยากมีครอบมีครัว พระจำพวกนี้มักตกเป็นเหยื่อของพวกผู้หญิงได้ง่าย เพราะพอมีความรักขึ้นก็หลงงมงายด้วยเหตุนี้พวกหญิงเล่ห์ก็ออกอุบายให้ลูกชาย หรือญาติพี่น้อง หรือเพื่อนบ้านไปอยู่เป็นลูกศิษย์พระเพื่อเป็นสื่อติดต่อให้ใกล้ชิดยิ่งขึ้นแล้วก็ฝากขนมนมเนยไปถวาย โดยหมายจะให้พระตบะแตก การก็มักเป็นไปตามปรารถนา คือเมื่อพระถูกเอาใจด้วยความเมตตาเช่นนั้น จึงเริ่มใจอ่อน แรก ๆ ก็อือออไปกับโยมอุปฐาก แล้วก็ไปเยี่ยมไปเยือนถึงบ้านถึงเรือแพนาวาถึงที่อยู่ไม่ว่าจะเหนือใต้ใกล้ไกลเพียงไหน ต่อมาก็เลยสึกหาลาเพศ แล้วก็ตกแต่งกับโยมอุปฐาก หรือกับน้องสาวหรือกับลูกสาว ตามแต่โอกาสจะอำนวย ที่ร้ายไปกว่านั้น บางครั้งถึงกับเป็นปาราชิกเสียก่อนก็มี....." (ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช : 45-46 อ้างถึงใน มอฟแฟ็ท 2520 : 211-212)
    นอกจากจะทรงทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาแล้ว ยังได้พระราชทานพระบรมราชูปถัมภ์ไปยังศาสนาอื่นด้วย เช่น ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ พระราชทานที่ดินริมแม่น้ำเจ้าพระยาตอนใต้ให้ชาวคริสเตียนสร้างโบสถ์ พระราชทานที่แปลงหนึ่งให้เป็นสุสานสำหรับชนที่นับถือศาสนานิกายโปรเตสแตนต์ ทรงซื้อที่แปลงหนึ่งและทรงให้พวกครูสอนศาสนาชาวอเมริกันได้เช่าสร้างเป็นที่อยู่อาศัย สิ่งสำคัญประการหนึ่งที่ไม่อาจมองข้ามได้คือ ทรงให้เสรีภาพในการนับถือศาสนาแก่ประชาชนทุกคนและทรงแนะให้ใช้เหตุผลในการเลือกถือศาสนา (ประชุมประกาศรัชกาลที่ 4 2411 : 97 อ้างถึงใน กระทรวงศึกษาธิการ 2527 : 61) ความว่า
    "... อนึ่งการแสวงหาแลถือศาสนา ซึ่งจะเป็นที่พึ่งของตนในชาตินี้ก็เป็นการดี สมควรเป็นที่ยิ่งแล้ว ควรที่ท่านทั้งปวงทุกๆ คนจะตริตรองใคร่ครวญด้วยปัญญาตนเอง เมื่อเห็นคุณประจักษ์ว่า ศาสนาใดในหมู่ใดพวกใดจะเป็นที่พึ่งได้ ควรแก่ปัญญาแล้ว ก็จงถือแลปฏิบัติตามศาสนานั้นโดยน้ำใจตนเอง อย่าถือด้วยการตื่น การเกณฑ์ และการเล่าลือ แลว่า ธรรมเนียมเคยถือสืบ ๆ มา หรืออาการที่ไม่เห็นว่ามาขู่ให้กลัวให้ดีใจ ก็อย่ามีความพิศวงต่อเหตุต่าง ๆ แล้วถือตามทำตาม เมื่อได้ที่พึ่งนับถืออันงามดีควรแล้ว จงประกอบความเลื่อมใสให้มากจึงปฏิบัติตาม ก็จะมีความเจริญดีแก่ตนทุก ๆ คนนั้นแล..."
    แม้ว่าจะทรงให้เสรีภาพในการนับถือศาสนาแก่ประชาชน แต่ในฐานะที่พระองค์ทรงเป็นพระประมุขของประเทศ พระองค์ยังทรงนับถือศาสนาพุทธและปฏิเสธการเข้านับถือศาสนาอื่น เช่น ศาสนาคริสต์ (พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว 2507: 6) จดหมายฉบับวันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2392 (คศ.1849) ความว่า
    "เราติดต่อกับมิตรชาวอังกฤษ และอเมริกันนั้นก็เพื่อความรู้ในทางวิทยาศาสตร์แลศิลปศาสตร์ หาใช่ติดต่อเพราะชื่นชมแลอัศจรรย์ในศาสนาสามานย์นั้นไม่ เพราะเราทราบแล้วว่ามีคนเป็นอันมาก ซึ่งรอบรู้วิชา แลเป็นอาจารย์ในวิทยาศาสตร์ต่าง ๆ เช่น ดาราศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ไวยากรณ์ แลการเดินเรือ เป็นต้น พวกนี้ติฉินแลปฏิเสธทุกข้อที่กล่าวไว้ใน ไบเบอล แลแสดงว่าไม่เชื่อถือเลย ขอท่านอย่ามัวกังวล เขียนแนะนำมาในเรื่องนั้น ถ้าข้าพเจ้าเชื่อลัทธินั้น ข้าพเจ้าก็คงจะเข้าอยู่ศาสนาคริสเตียนเสียก่อนที่ท่านได้ยินนามข้าพเจ้านานแล้วกระมัง"
    พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงประกอบพระราชกรณียกิจอันสำคัญทางศาสนา พอสรุปได้ดังนี้
    1. ทรงทำนุบำรุงและส่งเสริมพระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรือง ทั้งมหานิกายและธรรมยุต
    2. รับพระราชภาระดูแลให้พระพุทธศาสนาบริสุทธิ์ ไม่ให้บังเกิดมัวหมองเป็นมลทิน หรือร้าวฉาน ขาดความสามัคคีขึ้นในคณะสงฆ์ ทั้งนี้พุทธจักรจะได้มีความรุ่งเรืองเป็นประโยชน์แก่ประชาชน ส่วนใหญ่ที่นับถือพระพุทธศาสนา
    3. บำเพ็ญพระราชกุศลถวายจตุปัจจัยไทยทานแก่ภิกษุสามเณรและทรงบริจาคพระราชทรัพย์ ประดิษฐานและปฏิสังขรณ์พระอาราม อุโบสถ วิหาร เสนาสนะ ด้วยความประณีตงดงาม ให้สมควรเป็นที่อยู่อาศัยของพระภิกษุสามเณรซึ่งปฏิบัติสมณกิจตามพระธรรมวินัย รวมทั้งพุทธเจดีย์ทุกประเภทคือ ธาตุเจดีย์ ธรรมเจดีย์ บริโภคเจดีย์ และ อุเทสิกเจดีย์
    4. พระราชทานแต่งตั้งพระภิกษุผู้รู้ธรรมให้มี สมณศักดิ์ตามฐานานุรูป รับพระราชทานนิตยภัต เพื่อทำหน้าที่ปกครองหมู่คณะให้เรียบร้อย และโปรดให้ศึกษาเล่าเรียนพระคัมภีร์และปฏิบัติสิกขาบทใหญ่น้อย
    5. ภิกษุสามเณรใดมีสติปัญญาฉลาดศึกษาเล่าเรียนจนได้เป็นเปรียญ จะได้รับการถวายนิตยภัตเพื่อกำลังใจในการศึกษาให้สูงยิ่งขึ้น
    6. พระราชทานเสรีภาพในการนับถือศาสนา หรือลัทธินิกาย ตามความสมัครใจซึ่งไม่ผิดต่อกฎหมายบ้านเมือง
     
  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    การที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงทำนุบำรุงและส่งเสริมในพระพุทธศาสนามาอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ยังทรงพระผนวชจนถึงตลอดรัชกาล ก่อให้เกิดผลอันสำคัญ ทำให้พุทธจักรมีความมั่นคงนำเกียรติยศ และชื่อเสียงของชาติไทยแพร่หลายไปในประเทศต่างๆ ที่นับถือพุทธศาสนา การฟื้นฟูและปฏิรูปพระพุทธศาสนาทั้งฝ่ายมหานิกายและธรรมยุติกนิกาย ได้กลายเป็นรากฐานสำคัญในรัชกาลต่อๆ มา และพัฒนาสถาบันสงฆ์ให้มีความเจริญก้าวหน้ามาจนถึงปัจจุบันนี้
    แนวนโยบายทางการเมืองดั้งเดิมของประเทศไทยนั้น มีลักษณะคล้ายคลึงกับประเทศอื่น ๆ ทางตะวันออกทั่วไปในประเด็นที่ว่าพยายามแยกตนอยู่โดดเดี่ยวไม่มีการติดต่อกับต่างประเทศ
    ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คือ ระหว่างปี พ.ศ. 2394 ถึง พ.ศ. 2411 เป็นระยะเวลาที่ประเทศมหาอำนาจในทวีปยุโรป อันได้แก่ ฝรั่งเศสและอังกฤษ เข้ามาแสวงหาอาณานิคมครอบครองดินแดนส่วนใหญ่ในทวีปเอเชีย และแข่งขันกันทั้งในด้านการค้าและการเมืองอย่างรุนแรง
    พระราชกรณียกิจทางด้านต่างประเทศ เป็นพระราชกรณียกิจที่สำคัญยิ่งอีกเรื่องหนึ่ง ซึ่งแสดงให้เห็นถึงพระปรีชาญาณในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงเป็นพระประมุขพระองค์เดียวของประเทศต่าง ๆ ในทวีปเอเชีย ที่ทรงคิดได้ว่าวิธีเดียวที่ประเทศในทวีปเอเชียจะคงอยู่ได้คือ ต้องยอมรับเอาอิทธิพลทางอารยธรรมของประเทศตะวันตกมาปรับปรุงประเทศของตนให้ทันสมัย ต้องยอมเปิดประเทศทำการค้าและติดต่อกับต่างประเทศและรับความคิดเห็นใหม่ๆ พื่อเปิดโลกทรรศน์ ที่จะนำไปสู่การแก้ไขประเพณีอันล้าสมัย ต้องศึกษาวิทยาการการทูตและการปกครองบ้านเมืองแบบตะวันตก (กริสโวลด์ 2511 : 1)
    พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงเห็นว่าการดำเนินนโยบายแยกตนเองอยู่อย่างโดดเดี่ยวไม่ติดต่อกับต่างประเทศนั้น ได้ก่อให้เกิดเหตุร้ายขึ้นแล้วแก่ประเทศเพื่อนบ้านในเวลานั้นประเทศทางตะวันออกกำลังจะล่ม เพราะต้องตกเป็นทาสเป็นเมืองขึ้นของชาวตะวันตกด้วยความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ไม่ยอมประนีประนอมในการติดต่อกับประเทศมหาอำนาจที่ล่าอาณานิคม ทำให้ถูกบังคับจนต้องเสียเอกราชไป คงเหลือแต่ประเทศไทยอยู่ตรงกลางประเทศเดียวเท่านั้นในแถบนี้
    ขณะนั้นประเทศไทยยังขาดความรู้ทางวิทยาการตะวันตก ขาดกำลังรบสมัยใหม่ ยังไม่มีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ ดังที่พระองค์ทรงระบายความในพระทัยถึงปัญหาของประเทศไทยไว้ดังนี้
    "ตามสภาพเท่าที่เป็นอยู่อย่างทุกวันนี้ ประเทศเราได้ล้อมรอบไปด้วยประเทศที่มีกำลังอำนาจ 2 หรือ 3 ด้าน แล้วประเทศเล็ก ๆ อย่างเราจะเป็นประการใด ถ้าหากจะสมมุติเอาว่าเราได้ค้นพบเหมืองทองคำภายในประเทศของเราเข้า จนเราสามารถขุดทองมาได้หลายล้านชั่ง จนเอาไปขายได้เงิน มาซื้อเรือรบสักร้อยลำ แม้กระนั้นเราก็ยังจะไม่สามารถไปสู้รบปรบมือกับพวกนี้ได้ ด้วยเหตุผลกลใดเล่าก็เพราะเรายังจะต้องซื้อเรือรบและอาวุธยุทธภัณฑ์ต่าง ๆ จากประเทศพวกนั้นเรายังไม่มีกำลังพอจะจัดสร้างสิ่งเหล่านี้ด้วยตัวของเราเอง แม้ว่าเราพอจะมีเงินซื้อหามาได้ เขาก็จะเลิกขายให้กับเรา ในเมื่อเขารู้ว่าเรากำลังติดเขี้ยวติดเล็บจนเกินฐานะ ในภายภาคหน้าเห็นจะมีอาวุธที่สำคัญสำหรับเราอย่างเดียวก็คือ ปากของเราและใจของเราให้เพรียบพร้อมไปด้วยเหตุผลและเชาวน์ไหวพริบ ก็เห็นพอจะเป็นทางป้องกันตัวเราได้" (มอฟแฟ็ท 2520 : 33)
    นโยบายต่างประเทศของพระองค์ ให้ความสำคัญแก่ประเทศทางตะวันตกที่เป็นมหาอำนาจ คือ อังกฤษ ฝรั่งเศส และสหรัฐอเมริกา ในรัชกาลนี้ ประเทศไทยได้ทำสัญญากับนานาประเทศ ซึ่งส่งผลให้เกิดความเปลี่ยนแปลงมากมายในบ้านเมือง ผลที่เกิดขึ้นจากการทำสัญญา ก่อให้เกิดข้อดีและข้อเสียที่ตามมาในภายหลัง แต่เมื่อคำนึงถึงภัยที่จะเกิดในขณะนั้น ต้องนับว่าการตัดสินพระราชหฤทัยในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว นั้นสมควรอย่างยิ่งแล้ว (กระทรวงศึกษาธิการ 2527 : 97)
    การที่ประเทศไทยต้องติดต่อทำสัญญากับชาติมหาอำนาจ ทำให้พระองค์ต้องทรงระมัดระวังไม่ให้กระทบกระเทือนสัมพันธไมตรีระหว่างไทยกับประเทศที่ทำสนธิสัญญา พระองค์ทรงใช้นโยบายไม่ผูกมัดกับมหาอำนาจชาติเดียว แต่จะทรงใช้การถ่วงดุลย์กับประเทศมหาอำนาจหนึ่ง โดยมีสัมพันธภาพ กับประเทศมหาอำนาจอื่นด้วย (ผูกมิตรกับมหา อำนาจหนึ่งไว้คอนมหาอำนาจอื่น)
    สัญญากับนานาประเทศที่กล่าวถึงนั้น เริ่มจากสัญญาเบาริงซึ่งทำกับรัฐบาลอังกฤษ ต่อมาทำกับสหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส เดนมาร์ก โปรตุเกส เนเธอร์แลนด์ เยอรมนี สวีเดน นอรเว เบลเยี่ยม และอิตาลี ตามลำดับ การทำสัญญาเบาริงนี้ มีความสำคัญต่อประเทศไทยมาก เพราะเป็นการเปิดประเทศ ไม่เช่นนั้นจะเป็นเหมือนประเทศใกล้เคียงที่ปิดประเทศ ไม่ยอมติดต่อกับต่างชาติ จนเกิดการใช้กำลังบังคับ พระองค์ทรงตระหนักว่า การสงครามได้พัฒนาขึ้น ไม่เหมือนแต่ก่อน การนำเทคโนโลยีมาใช้ในสงครามมีความสำคัญมากกว่าแม่ทัพ โดยทรงยกตัวอย่างสงครามอังกฤษกับพม่า ซึ่งในที่สุดพม่าก็เป็นฝ่ายพ่ายแพ้ (กระทรวงศึกษาธิการ 2527 : 97) ความว่า
    "... แลฟังข่าวดูได้ยินว่า พวกเมืองอังวะเมื่อได้ยินว่า ในทัพอังกฤษเกิดความไข้มากลงรากชุมก็ดีใจ ว่าเทวดาช่วยข้างพม่า ฤาเมื่อแอดมิราลออสเตอร์แม่ทัพเรือผู้ใหญ่ในอังกฤษมาป่วยตายลงที่เมืองปรอน เห็นเรืออังกฤษทุกลำชักธงกึ่งเสาเศร้าโศรก คำนับกันตามธรรมเนียมเขา ก็ดีใจว่าแม่ทัพอังกฤษตายเสียแล้ว เห็นจะไม่มีใครบัญชาการ จะกลับเป็นคุณข้างพม่าฟังดูมีแต่การโง่ ๆ บ้า ๆ ทั้งนั้น เมื่อรบครั้งก่อนพม่าคอยสู้อังกฤษอยู่ได้แต่คุมเหงคุมเหงหลายวัน ครั้งนี้ไม่ได้ยินสักแห่งหนึ่งว่าพม่าต่อสู้อังกฤษอยู่ได้ช้าจนห้าชั่วโมงเลย..."
    พระองค์ทรงทราบดีว่า ประเทศไทยควรจะกำหนดแนวทางบริหารประเทศในรูปแบบใด จึงทรงดำเนินนโยบายเป็นไมตรี ด้วยท่วงทำนองถ้อยทีถ้อยอาศัยกัน เพราะการแข็งขืนไม่เป็นประโยชน์อันใด และอาจเกิดสงครามขึ้นได้ ซึ่งไม่แน่ว่าประเทศไทยจะเป็นฝ่ายชนะ ในเมื่อข้อสำคัญที่ต่างประเทศต้องการ คือ ค้าขายก็ทรงเปิดให้มีการค้าขายโดยสะดวก ปัญหาอื่น ๆ ก็พลอยระงับไป ทรงตั้งพระราชหฤทัยจะรักษาความสัมพันธ์กับนานาประเทศเป็นเมืองหน้า ทรงรับเป็นไมตรีทำหนังสือสัญญากับชาติฝรั่ง สัญญาในครั้งนั้น ได้ทำในนามของพระเจ้าแผ่นดินและประธานาธิบดี ผู้ปกครองประเทศนั้น ๆ เป็นความเสมอภาค ทรงใช้นโยบายการทูตเป็นเครื่องต่อรองความสำเร็จ และเมื่อไม่อาจใช้นโยบายการทูตเป็นเครื่องต่อรอง พระองค์จำพระทัยยอมเสียผลประโยชน์ตามที่ชาติมหาอำนาจเรียกร้อง การสูญเสียครั้งสำคัญในรัชสมัยของพระองค์ คือ การเสียดินแดนเขมรส่วนนอกให้แก่ฝรั่งเศส ในปี พ.ศ. 2406 และ พ.ศ. 2410 พระองค์ทรงยอมเสียขัตติย-มานะ พระเกียรติยศที่ไม่สามารถแสดงแสนยานุภาพปกป้องพระราชอาณาเขต ด้วยสงครามตามแบบพระมหากษัตริย์ในสมัยก่อน เพื่อแลกกับเอกราชที่มีค่าเหนือสิ่งอื่นใด (นฤมล ธีรวัฒน์ 2525 : 277) ซึ่งเป็นเรื่องที่ต้องทรงอดกลั้นและขมขื่นพระราชหฤทัยมิใช่น้อย
    แม้พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงแสดงออกถึงความสัมพันธ์อันดีทางการทูตกับชาติมหาอำนาจตะวันตก แต่พระองค์มิได้ทรงมีความไว้วางพระราชหฤทัยในความเป็นมิตรของประเทศเหล่านี้ หลังจากที่ทรงเห็นว่า ฝรั่งเศสพยายามใช้อิทธิพลช่วงชิงเขมรไปจากไทย โดยอ้างว่าฝรั่งเศสเป็นผู้สืบสิทธิญวนเหนือเขมร เขมรเคยเป็นประเทศราชของญวน ความไม่ไว้วางพระราชหฤทัยในต่างชาติ ทรงแสดงออกได้ชัด เมื่อ พ.ศ. 2401 จากหลักฐานคำประกาศเทพยดาและพระเจ้าแผ่นดินกรุงเก่ามารับพลีกรรม (พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสมมตอมรพันธ์ ม.ป.ป. : 43-46 อ้างถึงใน นฤมล ธีรวัฒน์ 2525 : 285) ความว่า
    "... ชาติใดน้ำใจพาลคิดการหาเหตุจะกระทำย่ำยีบ้านเมืองเขตรแดนสยามประเทศนี้ ขอพระบารมีพระเจ้าแผ่นดินทั้งปวงช่วยปกครองป้องกันซึ่งอันตราย ทั้งทวยเทพเจ้าทั้งหลายซึ่งเคยบริรักษ์พระมหานคร จงช่วยกำจัดหมู่ดัสกรให้อันตรธาน ถ้าคนนอกประเทศที่ทำปากหวาน แต่ใจคิดการจะ เหยียบย่ำข่มขี่พาโลโสคลุมคุมโทษ ทำให้ร่อยหรอประการใดๆ ก็ดี ขอให้ความประสงค์ของพวกคนที่เป็นศัตรูในใจที่นั้น กลับไปเป็นโทษแก่พวกนั้นเองอย่าให้สมประสงค์.
    พระราชกรณียกิจที่ทรงใช้เป็นเครื่องมือกระทำการให้เป็นผลสำเร็จ ในด้านนโยบายต่างประเทศ ก็คือ
    1. ทรงเผยแพร่พระเกียรติคุณของพระองค์ให้ชาวต่างประเทศรู้ว่าพระองค์ก็มีความสามารถ เพราะครั้งใดที่มีการเปลี่ยนแปลงประเพณีบางประการในพระราชสำนักให้เหมือนฝรั่ง เช่น ให้ข้าราชการใส่เสื้อเวลาเข้าเฝ้า โดยโปรดเกล้าฯ ให้ทูตานุทูตต่างประเทศเข้าร่วมในพระราชพิธีเป็นบางครั้งบางคราวเหล่านี้ย่อมแพร่หลายไปถึงต่างประเทศด้วย นับว่าเข้าหลักการประชาสัมพันธ์
    2. มีพระปรีชาสามารถรู้จักผ่อนหนักผ่อนเบาในฐานะสยามเป็นประเทศเล็ก คือใช้พระสติปัญญามองการณ์ไกลเป็นที่ตั้ง เป็นผลให้ประสบความสำเร็จทางการทูต
    3. กำลังด้านการทหาร แม้ว่ามีไม่มากนักแต่ก็สมสมัย ดังเช่นมีการต่อเรือแบบฝรั่ง และมีการหัดทหารอย่างยุโรปในวังหน้า
    4. การแต่งคณะราชทูตไปเจริญพระราชไมตรีกับประเทศทางทวีปยุโรป
    พระองค์ได้ทรงกระทำทุกสิ่งทุกอย่างเท่าที่ทรงกระทำได้ เพื่อที่จะให้ประเทศของพระองค์เป็นที่รู้จักและสร้างสัมพันธภาพอันดีในต่างประเทศ เพื่อให้ประเทศต่าง ๆ เหล่านั้นเคารพอธิปไตยของไทย พระองค์ทรงตระหนักว่าพระองค์จะต้องทรงทำการปฏิรูปกฎหมาย ขนบธรรมเนียมประเพณีต่าง ๆ และพยายามปฏิบัติให้สอดคล้องกับแนวคิดทางตะวันตก เพื่อกันมิให้ประเทศต่าง ๆ เหล่านั้นยกเป็นข้ออ้าง เพื่อแทรกแซงก่อการภายในประเทศ
    นอกจากนั้น การติดต่อค้าขายกับประเทศตะวันตกทำให้เกิดผลพลอยได้ด้านอารยธรรม ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีใหม่ ๆ พระองค์ทรงยอมรับอารยธรรมต่าง ๆมาใช้เป็นครั้งแรก เช่น การสำรวจทำแผนที่พระราชอาณาจักร การฝึกหัดทหารแบบยุโรป การต่อเรือกลไฟ การนำเครื่องจักรกลมาใช้เป็นประโยชน์ทุ่นแรง ตั้งโรงงานทำเหรียญกษาปณ์ โรงสีข้าว โรงเลื่อยไม้ ด้วยเครื่องจักร และตั้งโรงพิมพ์หนังสือราชกิจจานุเบกษา
    ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ
    พ.ศ. 2395 - ทรงแต่งตั้งราชทูตไทยไปเจริญทางพระราชไมตรีกับเมืองจีน
    - สมณทูตไทยไปลังกาทวีป
    พ.ศ. 2397 - อังกฤษเป็นประเทศแรกที่ส่งราชทูตคนแรกเข้ามา ได้แก่ เซอร์ จอห์น เบาริง (Sir John Bowring) ซึ่งได้รับแต่งตั้งเป็นราชทูตจากสมเด็จพระนางเจ้าวิกตอเรีย เข้ามาเจริญพระราชไมตรี
    พ.ศ. 2398 - เซอร์ จอห์น เบาริง เข้าเฝ้าทูลเกล้าฯ ถวายพระราชสาสน์ และเครื่องราชบรรณาการของสมเด็จพระนางเจ้าวิกตอเรีย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงต้อนรับดุจดังครั้งสมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงต้อนรับราชทูตฝรั่งเศส ทำให้อังกฤษพอใจมาก
    - มิสเตอร์ฮาริปัก (Mr. Hary Parks) ซึ่งเคยเข้ามากับเซอร์ จอห์น เบาริง ได้กลับเข้ามาอีก เพื่อทูลเกล้า ถวายพระราชสาสน์และเครื่องราชบรรณาการอันสำคัญ อย่างหนึ่ง คือ ขบวนรถไฟพร้อมรางจำลอง (เป็นต้นเหตุของการดำเนินกิจการ "รถไฟ" ในรัชกาลต่อมา)
    เมื่อเซอร์ จอห์น เบาริง กราบบังคมทูลลา กลับไปแล้ว มีทูตอีกหลายประเทศมาทำสัญญาทางพระราชไมตรี ดำเนินตามแบบสัญญาที่อังกฤษทำไว้ทุกประการ มีการตั้งกงสุลอเมริกัน ฝรั่งเศส และประเทศในยุโรปหลายประเทศ ทรงส่งคณะทูตไทยอัญเชิญพระราชสาสน์และเครื่องราชบรรณาการ ไปถวายพระเจ้านโปเลียนที่ 3 และยังทรงตั้งเซอร์ จอห์น เบาริง เป็นทูตไทยทำสัญญาพระราชไมตรีกับประเทศต่าง ๆ ถึง 13 ประเทศ
    พ.ศ. 2399 - ทำสัญญากับสหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส ญี่ปุ่น
    พ.ศ. 2400 - ราชทูตไทยอัญเชิญพระราชสาสน์และเครื่องราชบรรณาการ ไปถวายสมเด็จพระนางเจ้าวิกตอเรีย ณ ประเทศอังกฤษ นับเป็นครั้งแรก ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ที่ได้มีการส่งคณะราชทูตไปเจริญสัมพันธไมตรีถึงทวีปยุโรป คณะราชทูตที่ไปนี้กลับเมื่อ พ.ศ. 2401 พร้อมด้วยเครื่องจักรที่ซื้อมาจัดสร้างโรงกษาปณ์
    พ.ศ. 2401 - ทำสัญญากับประเทศเดนมาร์ก และแอนซิเอติก
    พ.ศ. 2402 - ทำสัญญากับประเทศโปรตุเกส
    พ.ศ. 2403 - ทำสัญญากับประเทศฮอลันดา (ประเทศเนเธอร์แลนด์)
    พ.ศ. 2404 - ราชทูตไทยไปเจริญสัมพันธไมตรี กับพระเจ้านโปเลียนที่ 3 แห่งประเทศฝรั่งเศส
    - ทำสัญญากับประเทศเยอรมนี
    - ทูตรัสเซียเข้ามาทำหนังสือสัญญาทางพระราชไมตรี
    พ.ศ. 2405 - เจ้าเมืองเบตาเวียเข้ามาเปลี่ยนหนังสือสัญญาฮอลันดา
    - ทูตเยอรมนีเข้ามาทำสัญญา
    - สวีเดน นอรเว ส่งผู้แทนมาทำหนังสือสัญญา
    พ.ศ. 2406 - พระเจ้ากรุงฝรั่งเศสถวายเครื่องราชอิสริยยศ
    พ.ศ. 2410 - ทูตโปรตุเกสเจริญสัมพันธไมตรี
    - เบลเยี่ยมส่งผู้แทนมาทำหนังสือสัญญา
    พ.ศ. 2411 - ทำสัญญากับประเทศสวีเดน นอรเว เบลเยี่ยม และ อิตาลี
    การปรับประเทศให้ทันสมัยแบบตะวันตก ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณี ราชประเพณี ดังต่อไปนี้
    ธรรมเนียมจับมืออย่างชาติตะวันตก พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเริ่มใช้ธรรมเนียมฝรั่งโดยพระราชทานพระหัตถ์ให้แก่ผู้มาเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทจับเป็นครั้งแรก เมื่อปี พ.ศ. 2409 และครั้งนั้นได้พระราชทานพระหัตถ์ให้เจ้ากาวิโลรส เจ้าประเทศราชแห่งพระนครเชียงใหม่จับเป็นคนแรกและพระราชทานพระราชวโรกาสแก่ผู้อื่นจับพระหัตถ์เป็นลำดับไป ถือเป็นขนบธรรมเนียมสืบเนื่องใช้มาจนทุกวันนี้
    ในการติดต่อกับต่างประเทศ ทรงมีพระราชหัตถเลขาสั่งราชการด้วยพระองค์เองกับชาวต่างประเทศ และข้าราชการไทยที่ไปปฏิบัติหน้าที่ในต่างแดนหรือหัวเมือง
    โปรดให้ชาวต่างประเทศยืนเฝ้าฯ ได้ในท้องพระโรง เมื่อถึงงานพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงแก้ราชประเพณีเก่าอีกอย่างหนึ่งในวันเสด็จออกมหาสมาคม ณ พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย ด้วยพระราชทานบรมราชานุญาตให้ชาวฝรั่งที่อยู่ในกรุงเทพฯ เข้าเฝ้าด้วย มีฝรั่งประมาณ 10 คน เข้าไปยืนเฝ้าฯ อยู่ข้างหลังแถวขุนนางที่หมอบ
    มีพระบรมราชานุญาตให้ดื่ม เครื่องดื่มและสูบบุหรี่ได้ต่อหน้าพระพักตร์ ระหว่างปฏิสันถาร
    โปรดให้ทำเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตอบแทนกับของต่างประเทศ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเข้าพระทัยเกี่ยวกับวัฒนธรรมตะวันตก เมื่อทรงทราบว่าพระมหากษัตริย์ของชาวยุโรปมีประเพณีการประดับเครื่องหมายแสดงพระเกียรติยศที่ฉลองพระองค์ จึงทรงสร้างเครื่องราชอิสริยาภรณ์ขึ้น สำหรับเป็นเครื่องทรงของพระมหากษัตริย์ และสร้างสำหรับพระราชทานแก่ผู้มียศต่าง ๆ ในพระราชอาณาจักรและชาวต่างประเทศที่มีความชอบ
    โปรดเกล้าฯ ให้ข้าราชการสวมเสื้อเวลาเข้าเฝ้า ตามแบบอารยธรรมตะวันตก พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงแก้ไขขนบธรรมเนียม เก่า ๆ มีพระราชดำรัสสั่งให้เลิกประเพณีเข้าเฝ้าตัวเปล่าไม่สวมเสื้อ ให้เจ้านายและข้าราชการสวมเสื้อเข้าเฝ้าต่อไปเป็นนิจ
    โปรดให้วังเจ้านาย สถานที่ราชการของไทย ชักธงประจำตำแหน่งแบบกงสุลต่างประเทศ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการให้ทำเสาธงทั้งในวังหลวงและวังหน้า เสาธงวังหลวงให้ชักธงตรามหามงกุฎ และเสาธงวังหน้าให้ชักธงจุฑามณี คนทั้งหลายเข้าใจว่า เสาชักธงเป็นเครื่องหมายพระเกียรติยศของพระเจ้าแผ่นดิน ครั้นเมื่อทำหนังสือสัญญาพระราชไมตรีกับรัฐบาลต่างประเทศแล้ว มีกงสุลนานาประเทศเข้ามาอยู่ในกรุงเทพฯ มาตั้งเสาชักธงชาติของตนขึ้นตามกงสุล คนทั้งหลายไม่รู้ประเพณีฝรั่งพากันตกใจ โจษจัน ว่าพวกกงสุลตีตัวเสมอพระมหากษัตริย์ พระองค์ทรงพระราชดำริหาอุบายแก้ไข โดยมีพระราชดำรัสสั่ง เจ้านายต่างกรมกับทั้งขุนนางผู้ใหญ่ ให้ทำเสาธงช้างขึ้นตามวัง ที่บ้าน และสถานที่ราชการ เมื่อมีเสาธงชักขึ้นมากคนทั้งหลายก็หายตกใจ
    พระปรีชาญาณที่ควรจะกล่าวถึงอีกเรื่องหนี่งของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คือการที่ทรงเป็นนักศึกษาค้นคว้าทั้งทางด้านประวัติ-ศาสตร์และโบราณคดี พระองค์ทรงกล่าวกับเซอร์ จอห์น เบาริง ว่า "ประวัติศาสตร์สมัยโบราณของประเทศไทยยังค่อนข้างมืดมน และเต็มไปด้วยนิยายอันเหลือเชื่อต่าง ๆ" (กริสโวลด์ 2511 : 67) แต่ พระองค์ไม่ทรงยอมให้เป็นอย่างนั้นอีกต่อไป ประวัติศาสตร์สมควรได้รับการสังคายนาเช่นเดียวกับพระไตรปิฎก พระองค์จึงทรงศึกษา ค้นหาวินิจฉัย เปรียบเทียบหลักฐานทั้งหมดที่มีอยู่ เพื่อให้เป็นหลักฐานต่อ ๆ มาปรากฏว่าพระองค์ทรงพระราช-นิพนธ์บทความวินิจฉัยประวัติศาสตร์หลายเรื่อง ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา เราจึงได้รับรู้เรื่องราวเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ตอนต้นของไทยเพิ่มขึ้นเป็นอันมาก แม้ว่าบางครั้งพระราชวินิจฉัยของพระองค์จะใช้เป็นแนวทางในปัจจุบันไม่ได้ แต่พระราชวินิจฉัยเหล่านั้นก็เต็มไปด้วยความเฉลียวฉลาด มุ่งตรงไปยังผลอย่างแน่ชัดและเป็นการเริ่มต้นให้ได้ทราบก่อน ไม่เช่นนั้นเราคงไม่สามารถทราบประวัติศาสตร์ได้ดีถึงทุกวันนี้ (กริสโวลด์ 2511 : 68)
    68)
     
  17. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    เมื่อพระองค์โปรดเกล้าฯ ให้แต่งพระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขานั้น ทรงคำนึงถึงความถูกต้อง มีการตรวจสอบเอกสารจากที่ต่าง ๆ ได้มีพระราชหัตถเลขาขอหนังสือเรื่องคณะเอกอัครราชทูตฝรั่งเศสได้มาเจริญทางพระราชไมตรีใน รัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช จากเซอร์ จอห์น เบาริง (กระทรวงศึกษาธิการ 2527 : 66) ความว่า
    "...เพื่ออนุโลมความคำขอของ ฯพณฯ ท่าน (เซอร์ จอห์น เบาริง : ผู้เขียน) ข้าพเจ้ากับน้องชายของข้าพเจ้า คือกรมหลวงวงศาธิราชสนิท ผู้มีอำนาจเต็มฝ่ายเราคนหนึ่ง ซึ่งได้รับแต่งตั้งให้ปรึกษากับฯพณฯท่านในนครนี้เมื่อเดือนเมษายนนั้น กำลังพยายามจะเตรียมแต่งพงศาวดารสยามอันถูกต้อง จำเดิมแต่ตั้งกรุงศรีอยุธยา โบราณราชธานี เมื่อปี ค.ศ. 1350 นั้นกับทั้งในเรื่องพระราชวงศ์ของเรานี้ ก็จะได้กล่าวโดยพิสดาร ยิ่งกว่าที่ข้าพเจ้าได้เรียบเรียงมาให้ ฯพณฯ ท่านทราบในคราวนี้ด้วย
    เราได้ลงมือแต่งแล้วเป็นภาษาไทย ในขั้นต้นเราเลือกสรรเอาเหตุการณ์บางอย่าง อันเป็นที่เชื่อถือได้มาจากหนังสือโบราณว่าด้วยกฎหมายไทย และพงศาวดารเขมรหลายฉบับกับทั้งคำบอกเล่าของบุคคลผู้เฒ่าอันเป็นที่นับถือได้ซึ่งได้เคยบอกเล่าให้เราฟังนั้นด้วยหนังสือ ซึ่งเราได้ลงมือเตรียมแต่งและแก้ไขอยู่ในบัดนี้ ยังไม่มีข้อความเต็มบริบูรณ์เท่าที่เราจะพึงพอใจ...
    ข้าพเจ้าใคร่จะขอหนังสือ ฯพณฯ ท่านสักเล่ม 1 คือหนังสือเรื่องคณะเอกอัครราชฑูตฝรั่งเศสมาเจริญทางพระราชไมตรีในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์ พระเจ้ากรุงสยามแต่ก่อนนั้น ฉบับหมายเลขที่ 4 ในสมุดซึ่งส่งมาด้วยนี้... ข้าพเจ้าคิดว่าหนังสือเล่มนั้น บางหน้าบางตอนคงจะช่วยให้เราจะแต่งขึ้นใหม่นี้ได้ ในกรุงสยามนี้ก็มีจดหมายเหตุรายการหรือรายละเอียดแต่งขึ้นไว้ นับว่าเป็นจดหมายเหตุของคณะเอกอัครราชฑูต ในเมื่อกลับมาจากฝรั่งเศส แต่สำนวน และข้อความไม่เป็นที่พอใจที่เราจะเชื่อได้ เพราะว่าเป็นการกล่าวเกินความจริงไปมาก กับทั้งขัดต่อความรู้ภูมิศาสตร์ ซึ่งเรารู้อยู่ในเวลานี้ว่าเป็นการเป็นไปที่แท้ที่จริงแห่งโลกนั้นมาก ด้วยผู้แต่งจดหมายเหตุของคณะเอกอัครราชฑูตสยามในครั้งนั้น คงจะคิดว่า ไม่มีใครในกรุงสยามจะได้ไปดูไปเห็นประเทศฝรั่งเศสอีกเลย..."
    พระองค์ได้ทรงศึกษาวิชาประวัติศาสตร์อย่างลึกซึ้ง ดังที่ทราบกันอยู่แล้วว่า ได้มีประกาศต่างๆ ที่เกี่ยวกับเรื่องราวทางโบราณคดีหรือปัญหาเกี่ยวกับการใช้ภาษาออกมาระหว่างรัชกาลนี้ แม้ว่าจะมิได้ทรงลงพระปรมาภิไธยเองแต่พระองค์ได้พระราชทาน พระราชดำริให้จัดทำขึ้น และยังได้ทรงมีรับสั่งให้จัดพิมพ์พระราชพงศาวดารสยาม ตั้งแต่ปี พ.ศ. 1893 คราวเสียกรุง นอกจากนั้นยังทรงพระราชนิพนธ์หนังสือข้อสังเกตย่อ ๆ เกี่ยวกับพระราชพงศาวดารสยามเป็นภาษาอังกฤษ ข้อสังเกตต่างๆ เกี่ยวกับปัญหาอันมืดมนในประวัติศาสตร์เก่าแก่ก็ดี โบราณคดีก็ดี หรือขนบธรรมเนียมประเพณีก็ดี เหล่านี้ล้วนมีประโยชน์ต่อนักศึกษาที่ต้องการศึกษาค้นคว้าเป็นอันมาก ความรู้ทางประวัติศาสตร์ของประเทศไทยจึงได้เจริญแพร่หลาย แม้จนทุกวันนี้ใครจะศึกษา ประวัติศาสตร์และโบราณคดีของประเทศไทย ก็ยังได้อาศัยพระบรมราชาธิบายของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวซึ่งทรงพระราชนิพนธ์ไว้แทบทุกคน (สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ 2514 : 83)
    ในระหว่างที่เสด็จธุดงค์ในปี พ.ศ. 2376 ทรงค้นพบหลักศิลาจารึกที่สุโขทัย นครหลวงโบราณ หลักศิลานี้จารึกด้วยอักษรไทยรุ่นแรกที่สุดเท่าที่ค้นพบ เป็นหลักศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำแหง ที่ทรงสร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 1836 นอกจากนี้พระองค์ยังทรงค้นพบพระแท่นมนังคศิลาที่พ่อขุนรามคำแหง ทรงใช้เป็นที่ประทับและได้ทรงนำมาไว้ที่กรุงเทพมหานคร ในปัจจุบันได้ใช้พระแท่นนี้ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกทุกครั้ง (ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช : 6-7 อ้างถึงใน มอฟแฟ็ท 2520 : 19)
    ระหว่างเสด็จธุดงค์ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพิจารณาซากเมืองสุโขทัย ทอดพระเนตรศาสนสถานอันใหญ่โตที่ปรักหักพังอยู่ในป่าต่าง ๆ โบราณสถานเหล่านี้ไม่ว่าจะเป็นแบบขอมหรือไทยย่อมมีความหมายต่อประเทศ ถ้าสามารถรู้ถึงความหมายได้ พระองค์ทรงเชิญนักโบราณคดีชาวฝรั่งเศสเข้ามาศึกษาซากโบราณสถานเหล่านี้ เพื่อค้นหาความลับในอดีตด้วยการใช้เทคนิคแบบใหม่ สิ่งนี้ นับว่าเป็นการเริ่มต้นที่ดีและได้มีผลยิ่งขึ้นในรัชกาล ต่อ ๆ มา
    พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์แรกที่ทรงเริ่มจัดให้มี พิพิธภัณฑสถานขึ้นในประเทศไทย (สมพงษ์ เกรียงไกรเพชร ม.ป.ป. : 423) จากความสนพระทัยส่วนพระองค์ในการรวบรวมวัตถุโบราณที่ทรงพบ ในขณะที่ได้เสด็จออกธุดงค์ในที่ต่างๆ เมื่อครั้งทรงผนวช อาทิ ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ศิลาจารึกวัดป่ามะม่วง พระแท่นมนังคศิลาบาตร ซึ่งเป็นโบราณวัตถุจากเมืองเก่าสุโขทัย ในคราวเสด็จธุดงค์มณฑลฝ่ายเหนือ เมื่อปี พ.ศ. 2376 และโปรดเกล้าฯ ให้นำมาเก็บรักษาไว้ในพระบรมมหาราชวัง ครั้งแรกจัดแสดงไว้ที่พระที่นั่งราชฤดี
    ครั้งถึงปี พ.ศ. 2400 โปรดเกล้าฯ ให้ย้ายสิ่งของจากพระที่นั่งราชฤดีไปไว้ยังพระที่นั่งประพาสพิพิธภัณฑ์ในหมู่พระอภิเนาวนิเวศน์ ซึ่งได้รับการออกแบบเป็นอาคารแบบฝรั่ง ตามลักษณะพระราชวังในยุโรป เนื่องด้วยทรงเล็งเห็นว่าในรัชสมัยแห่งพระองค์ได้มีพระราชไมตรีกับพระมหานครใหญ่ ๆ ในยุโรปและอเมริกา มีเครื่องมงคลบรรณาการอย่างดีมาถวาย สมควรจะเก็บรักษาไว้เพื่อเป็นที่ระลึกทางพระราชไมตรี ครั้นจะจัดประดับในพระที่นั่งอย่างไทยก็ดูจะไม่เข้ากับเครื่องบรรณาการที่มีอยู่
    พระที่นั่งประพาสพิพิธภัณฑ์ หรือ Royal Museum คือ พิพิธภัณฑ์ส่วนพระองค์ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และในขณะนั้นเรียกพิพิธภัณฑ์ทับศัพท์ภาษาอังกฤษว่า "มิวเซียม" แม้คำว่า "พิพิธภัณฑ์" จะได้เกิดขึ้นแล้วจากท้ายนามพระที่นั่งประพาสพิพิธภัณฑ์ แต่ก็เป็นความนิยมที่มาเรียกกันในชั้นหลัง (ส่งศรี ประพัฒน์ทอง และคนอื่น ๆ 2536 : 23)
    นอกจากนี้ พระองค์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้นำสิ่งของไปร่วมจัดแสดงในงานพิพิธภัณฑ์ นานาชาติ ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ เมื่อปี พ.ศ. 2404 และงานพิพิธภัณฑ์นานาชาติ ณ กรุง ปารีส ประเทศฝรั่งเศส ใน พ.ศ. 2409 นับเป็นครั้งแรกที่ประเทศไทยได้ส่งศิลปวัตถุโบราณของชาติไปแสดงถึงทวีปยุโรป (สมพงษ์ เกรียงไกรเพชร ม.ป.ป. : 423)
    จะเห็นได้ว่างานพิพิธภัณฑ์ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มิได้เป็นเพียงจุดเริ่มต้นบทบาทของพิพิธภัณฑ์ที่สอดคล้องกับแนวคิด และปรัชญาของการพิพิธภัณฑ์ในขณะนั้นแต่เพียงประการเดียว หากยังเป็นการเริ่มต้นบทบาทของพิพิธภัณฑ์เพื่อการศึกษา โดยเป็นแหล่งศึกษาความรู้เกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของชาติ จากโบราณวัตถุที่มีอยู่ในพิพิธภัณฑ์ด้วยเช่นกัน แม้ว่าพิพิธภัณฑ์ในระยะแรกนั้นจัดขึ้นอย่างเป็นการภายในส่วนพระองค์ ยังมิได้เปิดให้ประชาชนทั่วไปเข้าชมก็ตาม
    ในระหว่างปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ติดต่อมาถึงต้นรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แนวทางของภาษาและหนังสือเริ่มมีการเปลี่ยนแปลง ทั้งนี้เพราะพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อยังทรงผนวชอยู่ทรงให้ความสนพระทัยในการเรียนภาษาอังกฤษ และทรงศึกษาจนสามารถใช้ภาษาอังกฤษได้อย่างดียิ่ง นับเป็นก้าวแรกของการยอมรับอารยธรรมตะวันตก และเป็นจุดเริ่มต้นของการปฏิรูปภาษาเข้าสู่ยุคใหม่ของประเทศไทย ภาษาไทยเริ่มได้รับอิทธิพลจากภาษาต่างประเทศ แต่ลักษณะ ทั่ว ๆ ไปของภาษาไทยยังไม่เปลี่ยนแปลง เพียงแต่มีคำภาษาต่างประเทศมาปะปนอยู่เพียงเล็กน้อยเท่านั้น (กองหอสมุดแห่งชาติและกองวรรณคดีและประวัติศาสตร์ กรมศิลปกร 2525 : 14)
    ตัวอย่างภาษาไทย

    ในรัชกาลที่ 4
    รดูฝน
    ฤาว่า
    กระหนกตกใจ
    สำนักพิ์
    คุมเหง
    ทองรูปประพรรณ์
    ทำบาลชี
    ตระลาการ
    ฤทชาทำเนียบ
    เข้ากันเป็น
    พระราชพิทธี
    ไปหัวเมือง
    สัญญาทานบล
    ในปัจจุบัน
    ฤดูฝน
    หรือว่า
    ตระหนกตกใจ
    สำนัก
    ข่มเหง
    ทองรูปพรรณ
    ทำบัญชี
    ตุลาการ
    ฤชาธรรมเนียม
    รวมกันเป็น
    พระราชพิธี
    ไปต่างจังหวัด
    สัญญาค้ำประกัน
    รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวแม้ว่าพระองค์ทรงเห็นความสำคัญ และทรงศึกษาภาษาต่างประเทศ แต่พระองค์ก็ยังทรงฝักใฝ่พระราชหฤทัยในภาษาไทย และทรงกวดขันเรื่องการใช้ถ้อยคำที่จะใช้เป็นภาษาเขียนของภาษาไทย หรือกราบทูลเรื่องราวต่าง ๆ ว่าคำใดที่ควรใช้หรือมิควรใช้ ได้พระราชทานคำอธิบายให้แบบอย่างไว้ ดังตัวอย่างเช่น

    ใส่บาตร ให้ใช้ว่า ตักบาตร
    ใส่เสื้อ " สวมเสื้อ
    ใส่กางเกง " นุ่งกางเกง
    ใส่หมวก " สวมหมวก
    ใส่ดุม " ขัดดุม
    ใส่กุญแจ " ลั่นกุญแจ
    ใส่ยา " ทายา
    ใส่กลอน " ขัดกลอน
    กะปิ " เยื่อเคย
    น้ำปลา " น้ำเคย

    พระองค์ทรงใส่พระทัยในเรื่องการใช้ภาษาไทยของคนไทยเป็นอันมาก ซึ่งแสดงให้เห็นว่ามิได้สนพระทัยแต่เรื่องความทันสมัยเท่านั้น ได้พระราชทานพระราชกระแสทักท้วง แนะนำ ตักเตือนคนทุกระดับชั้น ตั้งแต่ พระบรมวงศานุวงศ์ ขุนนาง ข้าราชการ จนถึงราษฎร ในเรื่องการเขียน การอ่าน การพูด และ การใช้ภาษาไทย หากเป็นผู้มีความรู้มากจะยิ่งทรงกวดขันเป็นพิเศษ เนื่องจากคนเหล่านี้จะเป็นอย่างแก่คนอื่น ๆ ต่อไป ขอยกตัวอย่างซึ่งแสดงให้เห็นว่าทรงพิถีพิถันในเรื่องการใช้ศัพท์ให้ตรงกับความหมายจากประชุมประกาศรัชกาลที่ 4 เล่ม 2 191 (กระทรวงศึกษาธิการ 2527 : 64) ความว่า
    "…คำเรียกซากผีว่าศพนั้นถูกแล้ว ให้ใช้เขียนหนังสือแลกราบทูลว่าศพอยู่นั้นแล ใครอย่าอุตริคิดตามชาววัดคิดล้มไปเขียนบ้าง กราบทูลบ้างว่า "อสุภ อสภ อาสภ" อย่างใด ๆ อย่างหนึ่งเลย… คำว่า ศพนี้ออกจากคำมคธว่า ฉโวเป็นแท้ไม่ใช่คำอื่นฯ…"
    พระองค์ไม่โปรดให้มี การพลิกแพลงการใช้คำมากเกินไป ทรงให้เลี่ยงคำหยาบและคำผวน เช่น ผักบุ้ง โปรดให้ใช้ว่า "ผักทอดยอด" เคยกริ้วเมื่อมีผู้เรียกดอกนมแมวว่า "ดอกถันวิฬาร์" เรียกช้างว่าสัตว์โต ทรงมีพระราชดำรัสว่า พวกนี้เป็นพวกใจกระดุกกระดิกคิด
    ผู้ใช้ภาษาไทยผิด ๆ ทรงมีวิธีลงโทษเพื่อให้จดจำได้ เช่น
    ทรงแช่งไว้ว่าให้ศรีษะคนนั้นล้านเหมือนหลวงตาในวันโกนเป็นนิจนิรันดร์ไป โปรดให้อาลักษณ์ปรับเสียคำละเฟื้อง จนกระทั่ง ให้กวาดชานหมากและล้างน้ำหมาก ทั้งในทั้งนอกท้องพระโรงพระบรมมหาราชวัง
    พระอัจฉริยะทาภาษาของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ เป็นที่ยอมรับกันทั่วไป เพราะตราบจนทุกวันนี้หนังสือหลักภาษาไทยยังบรรจุการสอนเรื่องกับ แก่ แต่ ต่อ ซึ่งนำมาจากพระบรมราชาธิบายของพระองค์ท่าน ดังจะยกพระบรมราชาธิบายในเรื่องนี้มาแสดงให้เห็นเป็นฐาน จากประชุมประกาศรัชกาลที่ 4 เล่ม 2 179 (กระทรวงศึกษาธิการ 2527 : 65) ความว่า
    "ประกาศมาให้คนเขียนหนังสือทั้งปวงทราบทั่วแล้วสังเกตใช้ให้ถูกในที่ควรจะว่า (กับ) ว่า (แก่) ว่า (แต่) ว่า (ต่อ) ว่า (ใน) ว่า (ยัง) จงสังเกตให้แน่แล้วใช้ให้ถูก อย่าให้เป็นกันไปทุกแห่ง แลอย่างกลัว (กับ) งกเงิ่นไปฯ คนสองสามคน ขึ้นไปทำกิริยาเหมือนกันใช้ว่า กับ…ผัวอยู่กับเมีย นายไปกับบ่าวคนหนึ่งนั่งพูดเล่นกับคนหนึ่ง นายปรึกษากับบ่าว…อนึ่ง ถ้าเป็นของที่ไปด้วยมาด้วย อยู่ด้วย ได้มาด้วยเสียไป หายไปด้วยกัน ก็ว่ากับได้เหมือนหนึ่งคนไปกับย่ามของตัว ไปกับดาบแลปืนของตัวก็ว่าได้ คนมากับหาบสิ่งของ คนแก่มากับไม้เท้า คนมากับช้าง กับม้า กับโค กับกระบือ คนอยู่กับหีบผ้า ทองเก็บไว้กับเงิน ผ้ากับเสื้ออยู่ด้วยกัน… ของก็ดี สัตว์ก็ดี คนก็ดีอยู่ด้วยกัน ไปด้วยกัน ทำอะไรด้วยกัน ต้องที่จะออกชื่อด้วยกัน ว่ากับได้สิ้นคือ เงินกับทอง หม้อข้าวกับเชิงกราน บังเหียนกับม้า ตะพดกับโค…อะไรเป็นอันมากที่ไปด้วยกันมาด้วยกันอยู่ด้วยกัน ทำอะไรด้วยกันว่ากับได้หมด แต่ถวายแลให้แลรับ แลเรียกเอา บอกเล่า ว่ากับไม่ได้ เลยฯ.."
    พระองค์ทรงพยายามดัดแปลงตัวอักษรและวิธีการเขียนหนังสือไทย เพื่อให้เหมือนอักษรและวิธีการเขียนหนังสือไทย เพื่อให้เหมือนอักษรของชาวยุโรป คือ สระและพยัญชนะอยู่บรรทัดเดียวกัน เรียงสระไว้หลังพยัญชนะ ตัวอักษรที่ได้ปรับปรุงแก้ไขนี้ เรียกว่า อักษรอริยกะ พระองค์โปรดให้ทดลองใช้กับพระสงฆ์ฝ่ายธรรมยุต แต่อักษรอริยกะไม่แพร่หลาย เนื่องจากอักษรอริยกะเปลี่ยนรูปสระและพยัญชนะ และวิธีการเขียนเปลี่ยนไปจากอักษรไทยเดิม เหมาะกับการเขียนภาษาบาลีเท่านั้นไม่ช้าก็เลิกล้มไปไม่เป็นที่นิยม
    ลักษณะตัวอักษรอริยกะสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พ.ศ. 2390
     
  18. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ทรงพระราชนิพนธ์หนังสือไว้มากมาย พระราชนิพนธ์ส่วนใหญ่เป็นร้อยแก้วมากกว่าร้อยกรอง ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ไทยที่ทรงมีพระราชหัตถเลขาไปยังนานาประเทศ และบุคคลสำคัญบางคนในประเทศ ด้วยลายพระหัตถ์เป็นภาษาอังกฤษ จึงได้รับการยกย่องว่า ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงเชี่ยวชาญภาษาต่างประเทศ นอกจากพระราชสาสน์ ยังมีพระบรมราชาธิบายต่าง ๆ และประกาศสำคัญ ๆ ทรงพระราชนิพนธ์เรื่อง สมเด็จพระนเรศวรต้องตกไปเป็นตัวประกันอยู่เมืองพม่า และพระบรมราชา ธิบายบทพระคาถาตำนานพระแก้วมรกตเป็นภาษาอังกฤษ
    (ทรงแปลจากบทพระราชนิพนธ์ของพระองค์เอง)
    วรรณกรรมที่สำคัญ คือ ชุมนุมพระบรมราชาธิบายในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รวบรวมวิชาการสาขาต่าง ๆ ไว้ 4 หมวด คือ
    หมวดวรรณคดี
    ตอนที่ 1 ว่าด้วยอักษรและศัพท์
    ว่าด้วยอักษร ฤ ฤา ภ ภา ใช้ตัว ห นำไม่ได้
    ว่าด้วยคำ สำเร็จ เสร็จ กับคำว่า สำเรทธิ เสรทธิ
    ว่าด้วยคำว่า ทรง เขียนเป็น ธรง ไม่ได้
    ว่าด้วยลักษณะใช้ กับ แก่ แต่ ต่อ ใน ยัง
    ว่าด้วยลักษณะคำว่า ใส่
    ว่าด้วยคำ ทแกล้ว
    ว่าด้วยศัพท์ ศพ
    ว่าด้วยศัพท์ พระอิศวร ประฎิทิน
    ว่าด้วยคำภูษามาลา และวัดพนัญเชิง
    ว่าด้วยศัพท์ สัทธรรมเทศนา และคำทูลเกล้า ฯ ถวาย
    ว่าด้วยคำ พระเมรุทอง และพิหารหลวง พิหารราย
    ตอนที่ 2 ว่าด้วยนามข้าราชการ
    ว่าด้วยนามพระยาอิศรานุภาพ ธัญญาภิบาลและพระยาประเสริฐสาตรดำรง
    ว่าด้วยนามหลวงบันเทาทุกข์ราษฎร
    ว่าด้วยนามเจ้าพระยามุขมนตรี และหลวงมลโยธานุโยค
    ว่าด้วยนามผู้สำเร็จราชการเมืองขึ้นเมืองกาญจนบุรี 7 เมือง
    ว่าด้วยนามผู้สำเร็จราชการเมืองนครเขื่อนขันธ์
    ตอนที่ 3 ว่าด้วยนามสถานที่ต่าง ๆ
    ว่าด้วยนามพระที่นั่งสุทไธสวรรย์ และพุทไธสวรรย์
    ว่าด้วยนามวัดรัชฎาธิฐาน และวัดกาญจนสิงหาสน์
    ว่าด้วยนามท้องสนามหลวง และท้องสนามไชย
    ว่าด้วยนามเมืองประจวบคิริขันธ์เมืองปัจจันตคิรีเขตต์
    ว่าด้วยนามคลองเจดีย์บูชา
    ว่าด้วยนามพระที่นั่งชลังคพิมาน และพระที่นั่งในพระบรมมหาราชวัง
    ว่าด้วยนามพระที่นั่งท่าที่ประทับราชวรดิษฐ์
    ว่าด้วยนามคลองผดุงกรุงเกษม คลองถนนตรง และ ถนนเจริญกรุง
    ว่าด้วยนามวัดมหาธาตุ วัดราชประดิษฐ และวัดราชบุรณะ
    ว่าด้วยเรื่องแขกเรียกเมืองมะกะ และเมืองมะดีนะว่าเมืองกบิลพัสดุ์
    หมวดโบราณคดี
    ตอนที่ 1 ว่าด้วยราชประเพณีโบราณ
    ว่าด้วยประเพณีนำริ้วตรวจทางเสด็จพระราชดำเนิน
    ว่าด้วยประเพณีลงสรงโสกันต์
    ว่าด้วยประเพณีพระราชทานเบี้ยหวัดและเงินเดือนแก่ เจ้านายในพระราชวังบวร
    ว่าด้วยประเพณีพระราชทานเบี้ยหวัดพระราชวงศานุวงศ์ที่ทรงผนวช
    ว่าด้วยประเพณีพระราชทานบรรดาศักดิ์แก่พ่อค้าต่างประเทศ
    ว่าด้วยประเพณีเสด็จพระราชทานพระกฐินพระอารามหลวงกรุงศรีอยุธยา
    ว่าด้วยประเพณีพระสงฆ์รามัญสวดพระปริตรทำน้ำ พระพุทธมนต์ในพระราชวังชั้นใน
    ตอนที่ 2 ว่าด้วยจารีตโบราณ
    ว่าด้วยอากรค่าน้ำ
    ว่าด้วยอากรไม้ปกำใบและน้ำมัน
    ว่าด้วยอากรค่านา
    ว่าด้วยพิกัดเงินตรา
    ว่าด้วยการใช้เบี้ย
    ว่าด้วยพิกัดทองคำ
    ว่าด้วยตราภูมิคุ้มห้าม
    ว่าด้วยดวงตราที่ใช้ในตราภูมิ
    ว่าด้วยสักเลขหมายหมู่
    ว่าด้วยละครผู้หญิงของหลวง
    ว่าด้วยนายบ่อนทดรองเงินให้ผู้เล่นเบี้ย
    ตอนที่ 3 ว่าด้วยโบราณสถาน
    ว่าด้วยตำนานเมืองลพบุรี
    ว่าด้วยชื่อพระที่นั่งในเมืองลพบุรี
    ว่าด้วยนามเมืองลพบุรี
    ว่าด้วยพระราชทานเปลี่ยนที่วิสุงคามสีมาเมืองลพบุรี
    ว่าด้วยตำนานวัดไชยพฤกษมาลา และวัดเขมาภิรตาราม
    ว่าด้วยตำนานวัดหงสรัตนาราม
    ตอนที่ 4 ว่าด้วยโบราณวัตถุ
    ว่าด้วยพระปฐมเจดีย์
    ว่าด้วยพระเจดีย์ในวัดชุมพลนิกายาราม
    ว่าด้วยพระมหามณีรัตนปฏิมากรแก้วมรกต
    ว่าด้วยพระพุทธบุษยรัตน์
    หมวดธรรมคดี
    หมวดตำรา
    ทางภาษาบาลี ทรงพระราชนิพนธ์พระคาถาตำนานพระแก้วมรกต ตำนานพงศาวดาร กรุงรัตน-โกสินทร์สังเขป และพระคาถาว่าด้วยการพระราชทานพระนามพระราชโอรสพระราชธิดาสมณสาส์น พระราชทานถวายคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกายส่งไปยังคณะสงฆ์ ณ ลังกาทวีป
    ทางบทร้อยกรองที่สำคัญมี บทพระราชนิพนธ์มหาชาติซึ่งเป็นร่ายยาว ได้แก่ กัณฑ์จุลพน กัณฑ์สักรบรรพ กัณฑ์ฉกษัตริย์ กัณฑ์วนปเวสน์ และกัณฑ์มหาพน
    บทละครเรื่องรามเกียรติ์ ตอนพระรามเดินดง พระรามเข้าสวนพิราม
    บทเบิกโรงเรื่องพระนารายณ์ ปราบนนทุก
    บทรำเบิกต้นไม้ทองเงิน
    บทพระฤาษี
    บทละครเรื่องระบำ
    พระราชกรณียกิจอันสำคัญที่ควรกล่าวถึงในเรื่องการอนุรักษ์และการฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรมไทย คือการพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้หัดละครผู้หญิงกันได้โดยทั่วไป และพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้นำบทพระราชนิพนธ์ไปเล่นได้
    เมื่อเริ่มรัชกาล ยังไม่มีละครหลวง เพราะละครหลวงเลิกไปเสียแต่ครั้งรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ครั้นถึงรัชสมัยของพระองค์มิได้ทรงรังเกียจ ดังนั้นสมเด็จพระนางโสมนัสวัฒนาวดี จึงทรงหัดละครเด็กผู้หญิงในพระบรมมหาราชวังขึ้นชุดหนึ่ง แต่ไม่ทันได้ออกแสดง เนื่องจากสมเด็จพระนางโสมนัสวัฒนาวดีได้สิ้นพระชนม์ก่อน ต่อมาเมื่อทรงรับช้างเผือก (คือพระวิมลรัตน กิริณี) สู่พระบารมี ใน พ.ศ. 2396 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้รวมละครของสมเด็จพระนางโสมนัสวัฒนาวดี ฝึกหัดเป็นละครหลวงได้ออกโรงเล่นสมโภชช้างเผือกเป็นครั้งแรกใน พ.ศ. 2397
    ในรัชกาลนี้ โปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่าด้วย ละครผู้หญิง พ.ศ. 2398 โปรดอนุญาตให้เจ้านาย ขุนนาง และผู้มีบรรดาศักดิ์หัดละครผู้หญิงขึ้นได้ แต่ได้ขอจำกัดสิทธิ์บางประการไว้สำหรับละครหลวง เช่นรัดเกล้ายอด เครื่องแต่งตัวลงยา พานทอง หีบทอง ซึ่งใช้เป็นเครื่องยศ เครื่องประโคมแตรสังข์ และห้ามมิให้บังคับผู้ที่ไม่สมัครใจเล่นละครให้ได้รับความเดือดร้อน จึงโปรดเกล้าฯ ให้ออกประกาศในประชุมประกาศรัชกาลที่ 4 ภาค 2 58 (หอพระสมุดวชิรญาณ 2465 : 55-56) ความว่า
    "...แต่ก่อนในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก แลแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาไลย มีลครผู้หญิงแต่ในหลวงแห่งเดียว ด้วยมีพระราชบัญญัติห้ามมิให้พระราชวงศานุวงศ์แลข้าราชการผู้ใหญ่ผู้น้อยฝึกหัดลครผู้หญิง เพราะฉนั้นข้างนอกจึงไม่มีใครเล่นลครผู้หญิงได้ ครั้นในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวไม่โปรดลคร แต่ทว่าทรงแช่งชักติเตียนจะไม่ให้ผู้อื่นเล่น ถึงกระนั้นก็มีผู้ลักเล่นเงียบ ๆ อยู่ด้วยกันหลายราย มาในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนี้ พระราชวงศานุวงศ์ แลข้าราชการผู้ใหญ่ ผู้น้อย ผู้ใดเล่นลครผู้ชายผู้หญิงก็มิได้ทรงรังเกียจเลย ทรงเห็นว่ามีลครด้วยกันหลายรายดี บ้านเมืองจะได้ครึกครื้น จะได้เป็นเกียรติยศแผ่นดิน เดี๋ยวนี้ท่านทั้งปวงเห็นว่าลครในหลวงมีขึ้นก็หามีใครเล่นลครเหมือนอย่างแต่ก่อนไม่ คอยจะกลัวผิดแลชอบอยู่ การอันนี้มิได้ทรงรังเกียจเลย ท่านทั้งปวงเคยเล่นอยู่แต่ก่อนอย่างไรก็ให้เล่นไปเถิด ในหลวงมีการงานอะไรบ้าง ก็จะได้โปรดหาเข้ามาเล่นถวายทอด พระเนตรบ้าง จะได้พระราชทานเงินโรงรางวัลให้บ้าง ผู้ใดจะเล่นก็เล่นเถิด ขอยกเสียแต่รัดเกล้ายอดอย่างหนึ่ง เครื่องแต่งตัวลงยาอย่างหนึ่ง พานทองหีบทองเป็นเครื่องยศอย่างหนึ่ง เมื่อบททำขวัญยกแต่แตรสังข์อย่างหนึ่ง แล้วอย่าให้ฉุดบุตรชายหญิงที่เขาไม่สมัคเอามาเป็นลคร ให้เขาได้ความเดือดร้อนอย่างหนึ่ง ขอห้ามไว้แต่การเหล่านี้ ให้ท่านทั้งปวงเล่นไปเหมือนอย่างแต่ก่อนเถิด"
    การที่ประกาศพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ใครก็มีละครผู้หญิงได้ การแสดงละครชายจริงหญิงแท้ เริ่มมีเป็นครั้งแรกในสมัยของพระองค์นี้เอง และเกิดการเปลี่ยนแปลงการเล่นละครซึ่งเดิมเป็นละครผู้ชาย กลายเป็นผู้หญิงเล่นแทบทั่วทั้งเมือง ผู้คนก็ชอบดูละครผู้หญิง ดังนั้นละครผู้หญิงจึงแพร่หลาย เจ้าของละครได้รับประโยชน์มากขึ้นจากการรับงานละครไว้มาก พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตั้งภาษีโขน-ละคร เพื่อให้เจ้าของละครได้ช่วยเหลือแผ่นดินบ้าง เรียกว่าภาษีโรงละคร พิกัดที่เก็บภาษีละคร เก็บดังนี้คือ
    ละครโรงใหญ่เล่นเรื่องละครใน
    เล่นเรื่องรามเกียรติ์ เล่นวันกับคืน 1 หรือวัน 1 ภาษี 20 บาท
    เล่นเรื่องอิเหนา เล่นวันกับคืน 1 หรือวัน 1 ภาษี 16 บาท
    เล่นเรื่องอุณรุท เล่นวันกับคืน 1 หรือวัน 1 ภาษี 12 บาท
    ละครเล่นเรื่องละครนอก
    ละครกุมปนี คือเลือกคัดแต่ตัวดีเล่นประสมโรงกัน เล่นวัน 1 ภาษี 4 บาท
    ละครสามัญ เล่นงานปลีก เล่นวันกับคืน 1 ภาษี 3 บาท
    ละครสามัญ เล่นงานปลีก เล่นวัน 1 ภาษี 2 บาท
    ละครสามัญ เล่นงานปลีก เล่นคืน 1 ภาษี 1 บาท
    ละครเล่นงานเหมา เล่นวันกับคืน 1 ภาษี 1 บาท 50 สตางค์
    ละครเล่นงานเหมา เล่นวัน 1 ภาษี 1 บาท
    ละครเล่นงานเหมา เล่นคืน 1 ภาษี
    50 สตางค์
    ละครหลวง และละครที่เกณฑ์เล่นงานหลวง ยกเว้นไม่ต้องเสียภาษี กับยังมีการเล่นอย่างอื่นรวมอยู่ในภาษีละครอีกหลายอย่าง จะกล่าวไว้ด้วยพอให้ทราบความเป็นมา คือ
    โขน เล่นวัน 1 ภาษี 4 บาท
    ละครหน้าจอหนัง เล่นเรื่องรามเกียรติ์ ตัวละครตั้งแต่ 10 คน ขึ้นไป เล่นคืน 1 ภาษี 2 บาท 50 สตางค์
    ละครชาตรีและละครแขก เล่นวัน 1 ภาษี 50 สตางค์
    เพลง เล่นวัน 1 ภาษี 1 บาท
    แคน มอญรำ ทวายรำ เล่นวัน 1 ภาษี 50 สตางค์
    กลองยาว เล่นวัน 1 ภาษี 12 สตางค์ครึ่ง
    หุ่นไทย เล่นวัน 1 ภาษี 1 บาท
    หนังไทย เล่นคืน 1 ภาษี 50 สตางค์
    งิ้ว เล่นวัน 1 ภาษี 4 บาท
    หุ่นจีน เล่นวัน 1 ภาษี 1 บาท
    หนังจีน เล่นวัน 1 ภาษี 50 สตางค์
    การแสดงเบิกโรงละครใน ก่อนที่จะแสดงละครใน จะต้องมีการแสดงชุดเบิกโรงเสียก่อน โดยผู้แสดงละครใน 2 คน แต่งกายยืนเครื่องพระ สวมหัวเทวดาโล้น สองมือกำหางนกยูง (หัวเทวดาที่ไม่มีมงกุฏ) ออกมารำเบิกโรง เรียกว่า รำประเลง จนถึงสมัยรัชกาลที่ 4 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงคิดประดิษฐ์ดอกไม้เงิน ดอกไม้ทอง โดยเอาแบบมาจากเครื่องราชบรรณาการ เป็นอุปกรณ์สำหรับใช้ในการรำเบิกโรง จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนแปลงการแสดงรำเบิกโรงละครในจากชุดรำประเลง มาเป็นรำดอกไม้เงิน ดอกไม้ทอง โดยใช้ผู้แสดงละครใน 2 คน แต่งกายยืนเครื่องพระ สวมชฏาแทนสวมหัวเทวดาโล้น สองมือถือดอกไม้เงินดอกไม้ทองแทนหางนกยูง แล้วทรงพระราชนิพนธ์บทขับร้องประกอบการรำดอกไม้เงินดอกไม้ทองขึ้นใหม่ (พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว 2463 : 1)
    “เมื่อนั้น ไทท้าวเทพบุตรบุรุษสอง
    สองมือถือดอกไม้เงินทอง ป้องหน้าออกมาว่าจะรำ
    เบิกโรงละครในให้ประหลาด มีวิลาศน่าชมคมขำ
    ท่าก็งามตามครูดูแม่นยำ เป็นแต่ทำอย่างใหม่มิใช่ฟ้อน
    หางนกยูงอย่างเก่าเขาเล่นมาก ไม่เห็นหลากจืดตามาแต่ก่อน
    คงแต่ท่าไว้ให้งามตามละคร ที่แต่งตนก้นไม่งอนตามโบราณ
    รำไปให้เห็นเป็นเกียรติยศ ปรากฏทุกตำแหน่งแหล่งสถาน
    ว่าพวกฟ้อนฝ่ายในใช้ราชการ สำหรับพระภูบาลสำราญรมย์
    ย่อมช่วงใช้ดอกไม้เงินทอง ไม่เหมือนของเขาอื่นมีถื่นถม
    ถึงผิดอย่างไปใครจะไม่ชม ก็ควรนิยมว่าเป็นมงคลเอย”
    ฯ 10 คำ ฯ
     
  19. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ละครหลวงในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้แก่
    1. เจ้าจอมมารดาวาด เป็นตัวอิเหนา มีชื่อเสียงมาก ร่ายรำได้งดงามทั้งฝีมือและรูปร่าง ได้เป็นครูละครหลวงในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเป็นท้าววรจันทร์ เป็นครู อิเหนา ละครหลวงกรมมหรสพ ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และเป็นครูพิเศษแก่คณะละครวังสวนกุหลาบ
    2. เจ้าจอมมารดาเขียน เป็นตัวอิเหนา เป็นครูละครหลวงในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเป็นผู้หัดละครรำของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ (พระราชโอรส) เป็นครูพิเศษให้กับละครวังสวนกุหลาบ กระบวนท่ารำที่ท่านคิดค้นขึ้น คือ ท่ารำของละครพันทางเรื่องพระลอ ท่ารำในละครร้องเรื่องสาวเครือฟ้า (ละครร้องเรื่องแรก) ตอนสาวเครือฟ้าแต่งตัวคุณครูเฉลย ศุขะวณิช ท่านได้จดจำนำมาถ่ายทอดให้กับศิษย์ในวิทยาลัยนาฏศิลป
    3. เจ้าจอมมารดาสุ่น เป็นตัววิหยาสะกำ ได้เป็นครูละครหลวงในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ต่อมาเป็นท้าววนิดาวิจาริณี
    4. ท้าวชื่น เป็นตัวประสันตา ได้เป็นครูละครหลวงในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอม- เกล้าเจ้าอยู่หัว ต่อมาเป็นท้าวอินสุริยา
    5. คุณสัมฤทธิ์ เป็นตัวจรกา ได้เป็นครูละครหลวงในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
    6. เจ้าจอมมารดาสาย เป็นยืนเครื่องชั้นเด็กในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นครูละครในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และครูละครคณะละครวังสวนกุหลาบ ได้รับการถ่ายทอดกระบวนท่ารำของนางละครหลวง อาทิ ท่ารำฉุยฉายสองนาง (รำเบิกโรงที่แต่งขึ้นใหม่ ใน รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว)
    7. คุณลิ้นจี่ เป็นตัวทศกัณฐ์ มีชื่อมาก ไม่มีผู้ใดสู้ได้ทั้งหญิง-ชาย เล่ากันว่า เมื่อท่านถึงแก่กรรม (ในรัชกาลที่ 4) แล้ว ไม่โปรดให้ละครหลวงเล่นเรื่องรามเกียรติ์ตอนที่มีบททศกัณฐ์ตลอดรัชกาล ท่านเป็นครูละครให้กับเจ้าจอมมารดาวัน
    8. คุณเล็ก เป็นตัวนนทุก เป็นครูละครหลวงในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ต่อมาได้เป็นท้าวโสภานิเวศน์
    9. คุณกุหลาบ ธิดาเจ้าพระยาวิเชียรคีรี (เม่น) เจ้าเมืองสงขลา เป็นตัวทศกัณฐ์นั่งเมือง ได้ไปเป็นครูฝึกละครที่เมืองสงขลาด้วย
    10. เจ้าจอมมารดาเอม เป็นตัวนางมะเดหวี เป็นครูละครหลวงในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
    11. เจ้าจอมมารดาห่วง เป็นตัวนางจินตะหรา เป็นครูละครหลวงในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
    12. เจ้าจอมมารดาทับทิม เมื่อยังเป็นเด็กอยู่ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นตัว นางแมว ถึงรัชกาลที่ 5 เป็นตัวนางเกนหลงหนึ่งหรัด ได้เป็นเจ้าจอม เป็นครูละครหลวงในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเป็นครูละครคณะวังสวนกุหลาบ กระบวนท่ารำที่สืบทอดมาในปัจจุบัน ท่านได้ถ่ายทอดกระบวนท่าตัวนางเอกทั้งหมดให้กับละครวังสวนกุหลาบ โดยเฉพาะท่านางเมขลานั่งวิมาน ท่านางแมวในเรื่องไชยเชษฐ์
    13. คุณลำไย เป็นตัวนางประเสหรัน ได้เป็นครูละครหลวงในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าฯ
    14. คุณลำไย (น้องคุณลิ้นจี่) เป็นตัวนาง บาหยัน ได้เป็นครูละครหลวงในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าฯ
    15. คุณอรุน เป็นตัวนางบุษบาชั้นใหญ่ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ เป็นภรรยาพระยาอรรคราช วราทร (เนตร) ได้กลับเข้ามาเป็นครูละครหลวงในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าฯ
    16. เจ้าจอมละม้าย ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ เป็นตัวนางชั้นเด็ก ได้เป็นครูละครหลวงในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าฯ เป็นครูละครวังสวนกุหลาบ
    ละครสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)
    1. หม่อมแก้ว เป็นตัวไกรทอง (ศิษย์คุณน้อยงอก) เป็นครูละครท้าวราชกิจวรภัตร (แพ) ธิดาสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ) เป็นครูละครในกรมมหรสพ ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าฯ เป็นท้าวศรีสุนทรนาฎ
    2. หม่อมแย้ม เป็นตัวอิเหนา ได้เป็นครูละครท้าวราชกิจวรภัตร และละครผสมสามัคคี เป็นครูพิเศษให้กับละครวังสวนกุหลาบ
    3. หม่อมศิลา เป็นตัวยักษ์ได้เป็นครูละครของเจ้าพระยาสุรพันธุ์พิสุทธิ์
    4. หม่อมแสง เป็นตัวนางจินตะหรา ได้เป็นครูละครเจ้าจอมมารดาเอมวังหน้า
    5. หม่อมวัน เป็นตัวนางเอก ได้เป็นครูละครท้าวราชกิจวรภัตร และเป็นครูละคร กรมมหรสพ
    6. หม่อมหุ่น เป็นตัวนาง ได้เป็นครูละครท้าวราชกิจวรภัตร
    ละครเจ้าจอมมารดาจันทร์ ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ
    เจ้าจอมมารดาจันทร์ หัดละครในพระบรมมหาราชวังโรงหนึ่ง ตัวละครโรงนี้ได้เป็นครูหัดโรงอื่นต่อไปอีกหลายคน
    1. กลีบ เป็นตัวนายโรง เป็นภรรยาเจ้าพระยามหินทรศักดิ์ธำรง (เพ็ง เพ็ญกุล) ต่อมาเป็นครูละครผสมสามัคคี
    2. ทิม เป็นตัวนางเอก เป็นครูละครพระยาวิชิตสงคราม จางวางเมืองภูเก็ต
    ละครนายทับ เดิมเป็นตัวท้าวล่าสำ (พี่ชายจรกาในเรื่องอิเหนา) เป็นละครกรมหลวงรักษรณเรศร์ ฝึกหัดลูกหลานเล่นเป็นละครนอก สืบมาถึง 3 ชั่วคน คือ นางเอม ธิดานายทับ มารดาพระจัดดุริยางค์ (ป่วน) และพระยาสุนทรเทพระบำ (เปลี่ยน สุนทรนัฎ)
    ละครพระยาสีหราชฤทธิไกร (เสือ) ต่อมาตกเป็นของพระยานรานุกิจมนตรี (เปลี่ยน) ผู้บุตร เล่นต่อมาถึงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าฯ
    ละครพระยามณเฑียรบาล (บัว) ต่อมาตกเป็นของธิดาชื่อเกษ เล่นมาถึงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
    ละครขุนยี่สานเสมียนตราวังหน้า บ้านอยู่ที่คลองสะพานหัน เลื่องลือว่าแสดงเรื่องพระอภัยมณี ไม่มีใครสู้ได้
    ละครจางวางเผือก บ้านอยู่ที่ปากคลองตลาดเป็นคู่แข่งกับขุนยี่สานเสมียนตราวังหน้า
    ละครนายนวล บุตรเจ้ากรับ ซึ่งรับมรดกละครนอก รับเล่นต่อมาจนถึงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
    ละครนายเนตร นายต่าย นายเนตรเดิมเป็นละครคุณหญิงกลีบภรรยาพระยาประจักษ์วรวิไสย นายต่ายเดิมเป็นละครกรมหมื่นภูมินทรภักดี เมื่อทรงเลิกเล่นละครนายต่ายจึงมาผสมโรงกับนายเนตร แล้วถวายตัวเป็นข้าหลวงเดิมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อยังดำรงพระยศเป็นสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมขุนพินิตประชานาถ เมื่อเสด็จประทับอยู่ที่ พระตำหนักสวนกุหลาบ
    กระบวนเล่นละครโรงนี้ เป็นที่เลื่องลือมา ตั้งแต่ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ ถึง รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าฯ หลังจากท่านทั้งสองสิ้นชีวิต นายปลื้มอยู่วัดอรุณฯ เป็นน้องภรรยานายเนตร ยังคุมพวกละครเล่นต่อมา
    ละครชาตรีของหลวง เป็นละครชาตรีของ ผู้หญิง ทั้งโรง เดิมเป็นละครพระองค์เจ้าปัทมราช พระราชธิดากรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เมื่อรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ ได้พระ-ราชทานพระบรมราชานุญาตให้เสด็จออกไปรักษาพยาบาล เจ้าจอมมารดานุ้ยเล็ก(ธิดาเจ้าพระยานครพัฒน์) พระมารดา ที่เมืองนครศรีธรรมราช ได้ทรงหัดละครขึ้นโรงหนึ่งเล่นเรื่องอิเหนา ครั้นเจ้าจอมมารดาถึงอนิจกรรมแล้ว เสด็จกลับมากรุงเทพฯ พาละครโรงนั้นเข้ามาด้วยแล้วทูลเกล้าฯ ถวายเป็นมรดกแด่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯให้เล่นเป็นละครชาตรี จึงมีละครชาตรีของหลวงขึ้น
    ละครชาตรีของนายหนู บ้านอยู่สนามควาย (นางเลิ้ง ปัจจุบัน) เล่นอย่างละครโนราชาตรี นครศรีธรรมราช ผิดกันแต่ตัวนายโรงใส่ชฎา ไม่ใส่เทริด ตัวนาง แต่งตัวอย่างละครในกรุง (แต่งแบบละครนอก)
    ละครนายเสือ เล่นแบบละครมะย่ง แต่งตัวแบบมลายู ร้องเป็นภาษามลายูแต่เจรจาเป็นภาษาไทย เล่นเรื่อง อิเหนาใหญ่ มาจนถึงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
    พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานให้เล่นละครได้อย่างเสรี พวกละครจึงเอาบทพระราชนิพนธ์ละครนอกไปเล่น ทำให้แพร่หลาย การหัดละครผู้หญิงเกิดขึ้นมากมายหลายโรง เจ้าของละครต่างแสวงหาเรื่องเล่นละครของตนให้แปลกใหม่กว่าโรงละครอื่น จึงทำให้เกิดบทละครขึ้นใหม่เป็นจำนวนมาก วิวัฒนาการละครในรัชกาลนี้ กล่าวได้ว่าเฟื่องฟูและนับได้ว่าเป็นยุคทองของศิลปินที่เป็นผลสืบเนื่องมากระทั่งทุกวันนี้
    นับเป็นเวลาหลายศตวรรษมาแล้วที่ประเทศไทยได้มีเครื่องหมายแสดงเกียรติยศ และบำเหน็จความชอบเรียกกันว่า เครื่องยศ ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงสร้างขึ้นสำหรับพระราชทานแก่ พระบรมวงศา นุวงศ์ เจ้านาย ขุนนาง ที่ไว้วางพระราชหฤทัยให้ปฏิบัติพระราชภารกิจต่างพระเนตรพระกรรณ เครื่องยศเหล่านี้จะเป็นสิ่งสำคัญแสดงตำแหน่งที่ลำดับยศศักดิ์ของบุคคล ได้แก่ แหวน สังวาล ลูกประคำทอง พานหมากทองคำ กาน้ำทองคำ โต๊ะทองคำ ดาบฝักทอง ฉัตรเครื่องสูง ยานพาหนะ เครื่องนุ่งห่ม หมวก ฯลฯ เครื่องแสดงเกียรติยศและบำเหน็จความชอบทั้งหลายดังกล่าวใช้สำหรับประดับกับตัว หรือนำพาไปเคียงข้างตัว ไม่ใช้ประดับกับเสื้ออย่างเครื่องหมายแสดงเกียรติยศ และบำเหน็จความชอบที่เรียกว่าเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ตามแบบอย่างของประเทศตะวันตก และประเทศไทยเป็นประเทศแรกในเอเชียที่มีการสร้างเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ซึ่งใช้ประดับกับเสื้อเป็นครั้งแรกในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อ พ.ศ. 2400 (สำนักนายกรัฐมนตรี 2523 : 4)
    พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเข้าพระทัยเกี่ยวกับวัฒนธรรมตะวันตก เมื่อได้ทรงทราบว่า พระมหากษัตริย์ของชาวยุโรป มีประเพณีการประดับเครื่องหมายแสดงพระเกียรติยศที่ฉลองพระองค์ พระองค์จึงมีพระราชดำริที่จะทรงสร้างเครื่องหมายแบบชาวตะวันตก จากรูปแบบของสิ่งที่เป็นมงคลดั้งเดิมของไทย เช่น พลอย 9 ชนิด หรือ นพรัตน์ และจากแบบอย่างของตราประทับหนังสือราชการ ซึ่งแสดงถึงเครื่องหมายแทนพระองค์พระมหากษัตริย์ เครื่องหมายดังกล่าวนี้ ภาษาสากล เรียกว่า Star พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงบัญญัติศัพท์ ว่า "ดารา" และยังคงใช้คำนี้ในการเรียก ดารา ส่วนประกอบของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ สำหรับชั้นที่ 2 ขึ้นไป จนถึงชั้นสายสะพายมาจนถึงปัจจุบันนี้ (สำนักนายกรัฐมนตรี 2536 : 7)
    ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนี้ ทรงสร้างเครื่องราชอิสริยาภรณ์ขึ้น 6 อย่าง (ม.จ. พูนพิศมัย ดิศกุล 2534 : 157) คือ
    1. ดาราไอราพต
    ดาราไอราพต เป็นดาราดวงแรกซึ่งพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสร้างขึ้นเมื่อราว พ.ศ.2400 สำหรับเป็นเครื่องทรงของพระมหากษัตริย์ โดยทรงนำแบบอย่างมาจากลวดลายของตราอันหมายถึงองค์พระมหากษัตริย์ ซึ่งเรียกว่าพระราชลัญจกรไอราพต เป็นรูปช้าง 3 เศียร มีฉัตรเครื่องสูงข้างละ 1 คู่ ประกอบอยู่ทางด้านซ้ายและขวา ทรงสร้างสำหรับพระองค์ 2 ดวง และสำหรับพระราชทาน พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวอีก 2 ดวง
    ดาราไอราพต (เครื่องต้น)
    ทำด้วยทองคำลงยาราชาวดี รูปกลมรี มีรัศมี 12 แฉก ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 8.5 X 7.3 เซนติเมตร ลายกลางจำหลักเป็นรูปไอราพต (ช้างสามเศียร) มีบุษบกมหาอุณาโลมประดิษฐานอยู่บนหลัง ขนาบด้วยฉัตรข้างละ 1 คู่ อยู่ภายในวงกรอบประดับเพชร ประดับฉลองพระองค์เบื้องซ้ายสำหรับพระมหากษัตริย์ทรง
    ดาราไอราพต (องค์รอง)
    ทำด้วยทองคำลงยาราชาวดีเป็นรูปกลมรี มีรัศมี 12 แฉก ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 7.5 X 6.5 เซนติเมตร ลายกลางจำหลักเป็นรูปไอราพต เศียรกลางเฉียงขวา มีบุษบกมหาอุณาโลมประดิษฐานอยู่บนหลัง ขนาบด้วยฉัตรข้างละ 1 คู่ อยู่ภายในวงกรอบลายดอกไม้ สำหรับประดับฉลองพระองค์เบื้องซ้าย
    ดาราไอราพต สำหรับพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว
    พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสร้างดาราไอราพตนี้ สำหรับพระราชทานพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งสมัยนั้นเรียกว่าพระเจ้าแผ่นดินองค์ที่ 2 (สำนักนายกรัฐมนตรี 2536 : 7)
    ทำด้วยทองคำลงยาราชาวดี รูปกลมรีมีแฉก 12 แฉก ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 8.0 X 6.3 เซนติเมตร ลายกลางจำหลักเป็นรูปไอราพต (ช้างสามเศียร) เศียรกลางเฉียงซ้าย มีพระมหามงกุฎประดิษฐานบนหลังขนาบด้วยฉัตรข้างละ 1 ฉัตร อยู่ในวงกรอบซึ่งประดับทับทิมล้อมรอบวงกรอบรอบนอกมีเนื่องเพชรโดยรอบ สำหรับประดับที่อกเสื้อเบื้องซ้าย
    ดาราไอราพต (องค์รอง) สำหรับพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว
    ทำด้วยทองคำลงยาราชาวดี รูปกลมรี 12 แฉก ลายกลางจำหลักเป็นรูปไอราพตเศียรกลางเฉียงขวามีพระมหามงกุฎประดิษฐานบนหลัง ขนาบด้วยฉัตรข้างละ 1 ฉัตร อยู่ในวงกรอบประดับทับทิมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 8.0 X 6.8 เซนติเมตร สำหรับประดับที่อกเสื้อเบื้องซ้าย
    . ดารานพรัตน
    พ.ศ. 2401 - พ.ศ. 2402 หลังจากที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างดาราตราตำแหน่งเลียนแบบรูปลักษณ์ และวิธีการประดับของสากลประเทศขึ้นแล้ว พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างเครื่องราชอิสริยาภรณ์หรือเครื่องประดับ สำหรับยศอื่น ๆ เป็นลำดับมา ได้แก่ ดารานพรัตน ด้วยมีพระราชดำริ อันเป็นเหตุผลที่มาในการสร้าง ดังที่พระราชทาน พระบรมราชาธิบายไว้ตอนหนึ่งว่า
    "...พระเจ้าแผ่นดินสยามในรัชกาลปัจจุบันนี้ เมื่อส้องเสพย์กับชาวต่างประเทศ ได้สืบทราบว่าในประเทศต่าง ๆ มีเครื่องยศ สำหรับสำแดงลำดับยศอย่างสูงแลลำดับนั้น ๆ ลงมา ด้วยทำเป็นดาว และดอกจันทน์ และรูปต่าง ๆ ตามบัญญัติในเมืองนั้น จึงได้คิดตั้งพระราชบัญญัติให้ทำดอกจันทน์ประดับด้วยพลอย 9 อย่าง นั้นขึ้นเพื่อจะให้ประดับในหน้า
    เสื้อเป็นสำคัญยศอย่างสูง..."
    ดอกจันทน์ประดับพลอย 9 อย่างนี้คือ "ดารานพรัตน" พระองค์ทรงสร้างดารานพรัตน ทั้งหมดขึ้น 5 ดวง ครั้งนั้นทรงสร้างขึ้นไว้เป็นเครื่องต้น 1 ดวง ภายหลังจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างเพิ่มเติม โดยพระราชทานให้กับพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว 1 ดวง พระราชทานพระบรมวงศานุวงศ์ 3 ดวง คือ พระราชทานแก่พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหลวงวงศาธิราชสนิท พระเจ้าลูกยาเธอ กรมหมื่นมเหศวรศิววิลาส และพระเจ้าลูกยาเธอ กรมหมื่นวิษณุนาถนิภาธร ซึ่งเมื่อพระเจ้าลูกยาเธอพระองค์นี้สิ้นพระชนม์ ก็ได้พระราชทานแก่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ครั้งยังทรง ดำรงพระอิสริยยศ สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้า จุฬาลงกรณ์ฯ อีกทั้งมีแนวพระราชดำริว่า ต่อไปจะพระราชทานแก่ผู้ที่ได้รับพระราชทานเครื่องยศแหวนทองคำประดับพลอย 9 ชนิดด้วย ดารานพรัตน ดังกล่าวนี้เป็นต้นเค้าของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์
    3. ดาราช้างเผือกสำหรับพระราชทานคนไทย
    พ.ศ. 2404 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างตราเป็นลายรูปช้างเผือกขึ้น ด้วยมีพระราชดำริจะให้เป็นเครื่องหมายถึงแผ่นดินสยาม เรียกกันว่า "ดาราช้างเผือก" อันเป็นต้นเค้าของเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกในปัจจุบัน ดาราช้างเผือกนี้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างสำหรับพระราชทานแก่ผู้มียศต่าง ๆ ในพระราชอาณาจักรที่มีความชอบ เป็นรูปพระมหามงกุฎบนหลังช้าง โดยกำหนดไว้เป็น 4 ชั้น ได้แก่
    ชั้นพิเศษ ทำด้วยทองคำเป็นรูปกลม มีรัศมี 16 แฉก มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 7.3 X 6.0 เซนติเมตร ลงยาราชาวดีจำหลักเป็นช้างเผือกผูกเครื่องมั่น มีพระมหามงกุฎประดิษฐานอยู่บนหลัง กรอบล้อมด้วยเพชรประดับทับทิม รัศมีลงยาราชาวดี ใช้ประดับฉลองพระองค์เบื้องซ้าย เป็นดาราช้างเผือกที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ดาราช้างเผือกชั้นพิเศษมีหลายดวง และมีขนาดแตกต่างกัน
    ชั้นที่ 1 ลักษณะเหมือนชั้นพิเศษ แต่ไม่ ประดับเพชรพลอย
    ชั้นที่ 2 ลักษณะเหมือนชั้นพิเศษ แต่ทำด้วยทองคำเกลี้ยง
    ชั้นที่ 3 ลักษณะเหมือนชั้นพิเศษ แต่ทำด้วยทองคำ ตัวช้างเป็นเงิน
    4. ดาราช้างเผือกสำหรับพระราชทานชาวต่างประเทศ
    พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างดาราช้างเผือกสำหรับพระราชทานชาวต่างประเทศที่มีความชอบ ทำด้วยทองคำเป็นรูปกลม 16 แฉก ขนาดกว้าง 6.0 เซนติเมตร ลงยาราชาวดี จำหลักเป็นช้างเผือกผูกเครื่องมั่น มีธงพร้อมเสาบนหลังช้าง อยู่ภายในกรอบสำหรับประดับที่อกเสื้อเบื้องซ้าย
    5. ดาราพระมหามงกุฏ (ฝ่ายใน)
    พ.ศ. 2404 เครื่องประดับยศอีกอย่างหนึ่งที่เข้าเกณฑ์เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ซึ่งสันนิษฐานได้ว่า พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเช่นเดียวกับดาราช้างเผือกแต่ขนาดเล็กกว่า คือดารามหามงกุฎฝ่ายในสำหรับพระราชทานเจ้าจอม ซึ่งแต่งตัวเป็นมหาดเล็กตามเสด็จ มี 2 ชั้น คือ
    ชั้นที่ 1 มีลักษณะเป็นรูปกลมรีตามแนวนอน มีรัศมี 10 แฉก ทำด้วยทองคำลงยาราชาวดี ลายกลางจำหลักเป็นพระมหามงกุฎมีฉัตรเครื่องสูง กับพาน 2 ชั้น รองแว่นและรองสมุดอยู่ 2 ข้าง
    ชั้นที่ 2 ลักษณะเหมือนชั้นที่ 1 แต่ทำด้วยทองคำเกลี้ยง
    ดาราพระมหามงกุฎ (ฝ่ายใน)
     
  20. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    6. ดาราตราตำแหน่ง
    การสถาปนาดาราตราตำแหน่งเป็นครั้งแรก
    ดาราตราคชสีห์
    เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างดาราไอราพตสำหรับเครื่องทรง และพระราชทานพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวแล้ว ในปีเดียวกันนี้ (พ.ศ. 2400) ได้ทรงคำนึงถึงข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ซึ่งมีตำแหน่งสำคัญ คือ สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) เมื่อยังดำรงตำแหน่งสมุหพระกลาโหมว่า สมควรจะมีดาราเพื่อแสดงถึงยศและตำแหน่งด้วย
    พระองค์จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ สร้างดาราขึ้นอีก 1 ดวง สำหรับตำแหน่งสมุหพระกลาโหม โดยนำลายของดวงตราประจำตำแหน่งสำหรับประทับบนหนังสือราชการ ซึ่งเรียกว่าตรา คชสีห์ มาสร้างเป็นดาราประดับเสื้อ
    ลักษณะของดาราตราคชสีห์ เป็นรูปกลมรี มีรัศมี 14 แฉกทำด้วยทองคำสลักลายลงยาราชาวดี ตรงกลางจำหลักเป็นรูปคชสีห์ มีพระมหามงกุฎอยู่บนหลัง กรอบวงกลมประดับเพชร
    ดาราตราราชสีห์
    พ.ศ. 2407 ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้สถาปนาดาราสำหรับตำแหน่งสมุหนายกซึ่งมีลักษณะเหมือนดาราตราคชสีห์ ต่างกันที่ลายตรงกลางเป็นรูปราชสีห์ซึ่งเป็นตราประทับบนหนังสือราชการของผู้ดำรงตำแหน่งสมุหนายก และผู้ซึ่งดำรงตำแหน่งนี้ใน พ.ศ. 2407 คือ เจ้าพระยาภูธราภัย (นุช บุณยรัตพันธุ์)
    เหรียญเงินตรา
    ประเทศไทยเริ่มใช้เงินพดด้วงตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี ติดต่อเรื่อยมาจนถึงสมัย กรุงรัตนโกสินทร์
    ในสมัยกรุงสุโขทัย พระเจ้าแผ่นดินทรงริเริ่มและให้ผลิตเงินตราพดด้วงขึ้นใช้ แต่มิได้ผูกขาดในการผลิต ทรงเปิดโอกาสให้เจ้าเมืองขึ้น ตลอดจนพ่อค้าประชาชนผลิตเองได้ เงินพดด้วงสมัยกรุงสุโขทัย จึงมีตราบ้าง ไม่มีบ้าง เนื้อเงินและน้ำหนัก ตลอดจนลักษณะจึงแตกต่างกันไป
    ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ทางราชการผูกขาดในการทำเงินพดด้วงทั้งหมด ซึ่งมีการผลิตเงินพดด้วงทองคำด้วย และห้ามราษฎรผลิตเงินตราใช้เอง เงิน พดด้วงจึงมีรูปร่างลักษณะ น้ำหนัก และเนื้อเงินเป็นอย่างเดียวกันหมดเป็นต้นมา จนถึงสมัยกรุงธนบุรีและสมัยกรุงรัตนโกสินทร์
    ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ เงินพดด้วงยังคงผลิตใช้ติดต่อกันมาจากสมัยกรุงธนบุรี ตั้งแต่รัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ถึงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ต่อมาในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้ผลิตเงินพดด้วงที่ระลึก 2 ครั้ง หลังจากนั้นไม่มีการผลิตอีก และโปรดเกล้าฯ ให้เลิกใช้ เนื่องจากมีการสร้างเหรียญเงินตราขึ้น เพื่อใช้แทนตั้งแต่รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา
    พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ไทยพระองค์แรกที่โปรดให้ปฏิรูปเงินตราไทย คือ ทรงริเริ่มสร้าง "เงินแบน" หรือ "เงินแป" ขึ้นใช้แลกเปลี่ยนแทน "เงินกลม" หรือ "เงินพดด้วง" ให้เท่าเทียมประเทศตะวันตกสมัยนั้น (ตุ๋ย เหล่าสุนทร 2515 : 1)
    เมื่อพระองค์เสด็จขึ้นเสวยราชสมบัติ แม้จะยังโปรดเกล้าฯ ให้ผลิตเงินพดด้วงออกใช้ แต่ความต้องการเงินตราไทยมีมาก เนื่องจากในรัชสมัยนี้ กิจการค้าระหว่างประเทศได้ขยายตัวเจริญก้าวหน้ามากยิ่งขึ้น เรือสินค้าต่างประเทศนำสินค้าเข้ามาจำหน่ายและซื้อสินค้าจากประเทศไทยออกไปเป็นเงินคราวละมาก ๆ ในขณะเดียวกันไทยก็ต่อเรือบรรทุกสินค้าไปจำหน่ายและซื้อสินค้าจากต่าง-ประเทศเข้ามามากขึ้นอย่างรวดเร็ว ทั้งนี้พ่อค้าต่างประเทศนำเงินเหรียญประเทศต่างๆ มาใช้ในการซื้อขาย ทำความยุ่งยากให้กับพ่อค้าไทย เพราะไม่คุ้นเคยและยังไม่ค่อยเชื่อถือค่าของเงินเหรียญเหล่านั้นซึ่งมีหลายชนิดด้วยกัน พ่อค้าชาวอังกฤษ ฝรั่งเศส หรืออเมริกัน ที่เข้ามาตั้งร้านค้าขายอยู่ในกรุงเทพฯ ต้องช่วยเป็นธุระนำเงินเหรียญต่างประเทศเข้าไป วานช่างในพระคลังมหาสมบัติหลอมและทำให้เป็นเงินพดด้วงออกมาใช้เป็นจำนวนเกือบสามแสนเหรียญ แต่ช่างทำเงินพดด้วงมีจำนวนน้อย เตาผลิตมีเพียง 10 เตา สามารถผลิตได้วันละ 2,400 บาท เป็นอย่างมาก (ประยุทธ สิทธิพันธ์ 2516 : 297) จึงส่งผลให้การผลิตเงินพดด้วงทำได้น้อย และช้าไม่ทันกับความต้องการ นายเบลล์ (Mr. Charles Bell) ผู้ว่าการแทนกงสุลอังกฤษประจำประเทศไทยระหว่างนั้น ได้ทำหนังสือขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ประชาชนรับเงินเหรียญต่างประเทศบางชนิด โดยเฉพาะในการซื้อขายรายใหญ่ ๆ ตั้งแต่ 10 ชั่งขึ้นไป และกำหนดให้เงินเหรียญต่างประเทศชนิดหนัก 7 สลึง จำนวน 100 เหรียญ เท่ากับเงินพดด้วง 2 ชั่ง 1 ตำลึง 3 บาท 2 สลึง หรือ 167.50 บาท แต่จะขอรับอัตราแลกเปลี่ยนเพียง 166 บาทเท่านั้น ส่วนการซื้อขายรายย่อยจ่ายเป็นเงินพดด้วง (สดับ ธีระบุตร 2528 : 79-80)
    พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงประกาศให้ใช้เงินเหรียญต่างประเทศแทนเงิน พดด้วง ทรงมีพระราชดำริว่าเงินเข้ามาในบ้านเมืองมากเป็นการดี ทำให้ราษฎรมั่งมีทรัพย์สินเงินทองยิ่งขึ้น ประเทศอื่น เช่น จีน ญวน พม่า แขก ที่ลูกค้าชาวต่างประเทศเข้าไปค้าขาย ก็นำเงินเหรียญต่างประเทศไปใช้จ่ายไม่มีอะไรขัดข้อง เมืองขึ้นของไทยขณะนั้น เช่น เมืองสงขลา ถลาง (ภูเก็ต) พงา (พังงา) ตะกั่วทุ่ง ตะกั่วป่า ซึ่งทำการค้าขายถึงกันกับประเทศที่ขึ้นกับอังกฤษ ก็ใช้เงินเหรียญต่างประเทศอยู่บ้างนานมาแล้ว จึงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งคณะกรรมการขึ้นพิจารณาเรื่องนี้โดยเฉพาะ มีพระเจ้าลูกยาเธอกรมหมื่นวิษณุนาถนิภาธรเป็นประธานกรรมการ คณะกรรมการพิจารณาแล้ว เห็นควรอนุญาตให้ใช้ได้ และอัตราแลกเปลี่ยนยุติธรรมดี จึงทรงประกาศให้ราษฎรใช้เงินเหรียญต่างประเทศได้เป็นครั้งแรกเมื่อวันพุธ เดือน 2 ขึ้น 12 ค่ำ ปีมะโรง พ.ศ. 2399 โดยให้มีอัตราแลกเปลี่ยน 3 เหรียญ (ชนิดเหรียญละ 7 สลึง) ต่อ 5 บาทไทยหรือ 48 เหรียญ เม็กซิกันชนิด 8 เรียล (นิยมเรียกว่า "เหรียญนก" เพราะด้านหนึ่งเป็นรูปนกอินทรีย์) ต่อ 1 ชั่ง เหรียญญี่ปุ่นชนิดหนึ่งเยน 49 เหรียญ ต่อ 1 ชั่ง เหรียญฮอลันดาชนิด 2 1/2 กิลเดอร์ 52 เหรียญ ต่อ 1 ชั่ง และเหรียญอินเดียชนิดหนึ่งรูปี 112 เหรียญ ต่อ 1 ชั่ง ทั้งนี้คิดตามน้ำหนักและเนื้อเงิน เงินเหรียญเหล่านี้เมื่อผู้ใดสงสัยก็ให้เจ้าพนักงานพระคลังมหาสมบัติ ตรวจตีตราประจำแผ่นดินและตราประจำรัชกาล คือ ตราจักรและตรามงกุฎบนเหรียญนั้น ๆ เพื่อแสดงว่าเป็นของแท้และมีค่าตามที่ประกาศ
    พระองค์โปรดเกล้าฯ ให้มีการผลิตเงินเหรียญแทนเงินพดด้วง ความต้องการเงินตราไทย มีมากขึ้นอย่างรวดเร็ว การผลิตเงินพดด้วงไม่ทันใช้ และถึงกับต้องใช้เงินเหรียญต่างประเทศออกจ่ายเป็นเบี้ยหวัดเงินเดือนข้าราชการอยู่ระยะหนึ่ง ใน พ.ศ. 2400 จึงทรงมีพระราชดำริให้จัดตั้งโรงงานผลิตเงินเหรียญขึ้นแทนเงินพดด้วง โดยมีพระราชหัตถเลขาลงวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2400 ถึงคณะราชทูตไทยซึ่งกำลังไปเจริญพระราชไมตรีอยู่ในประเทศอังกฤษ ให้จัดซื้อเครื่องจักรผลิตเหรียญกษาปณ์ชนิดที่ผลิตได้ทั้งเหรียญเงิน และเหรียญทองคำส่งเข้ามายังประเทศไทย
    เครื่องจักรผลิตเหรียญกษาปณ์เครื่องแรก สมเด็จพระนางเจ้าวิกตอเรีย พระเจ้าแผ่นดินอังกฤษส่งมาถวายเป็นบรรณาการ เป็นเครื่องเล็กผลิตได้ช้า ใช้ผลิตใน พ.ศ. 2400 ถึง 2401 ก็เลิก ส่วนเครื่องจักรที่สั่งซื้อมาจากประเทศอังกฤษมีขนาดใหญ่และสามารถผลิตได้เร็วกว่า
    ครั้นถึง พ.ศ. 2403 โปรดเกล้าฯ ให้สร้างโรงงานและติดตั้งเครื่องจักรที่บริเวณประตูพรหมโสภา หน้าพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาทในพระบรมมหาราชวังแล้วเสร็จ พระราชทานนามว่า "โรงกระษาปน์สิทธิการ" เพื่อผลิตเงินเหรียญแบบสากลนิยม โดยใช้เครื่องจักรทำการแทนแรงคน เริ่มผลิตตั้งแต่ พ.ศ.2403 เงินเหรียญที่ผลิตขึ้นใช้ในระยะแรกเรียกว่า "เงินแป" หรือ "เงินแบน" เพราะมีรูปลักษณะแบนกลมเหมือนเหรียญต่างประเทศทั่วไป ตราของเงินเหรียญใช้รูปจักรมีช้างยืนบนแท่นอยู่กลางเป็นตราประจำแผ่นดิน จักรมี 9 กลีบ รอบจักรมีดอกจัน 8 ดอก ในขนาดหนึ่งบาท 4 ดอก ในขนาดกึ่งบาท 2 ดอก ในขนาดสลึง และหนึ่งดอกในขนาดเฟื้อง ส่วนตราประจำรัชกาล มีรูปร่างเป็นพระมหามงกุฎยอดมีรัศมี มีฉัตร 5 ชั้น กระหนาบสองข้าง พื้นเป็นเปลวกนกมีดอกจันล้อมรอบจำนวนเท่าด้านตราจักร
    ใน พ.ศ. 2405 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้โรงกระษาปน์ผลิตเหรียญดีบุก เพื่อเป็นเครื่องแลกใช้แทนเบี้ยหอย และประกาศให้ใช้กะแปะอัฐ และโสฬสที่ทำขึ้นใหม่นี้ เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2405 เหรียญดีบุกนี้ทำด้วยดีบุกดำผสมทองแดง ด้านหนึ่งมีตราช้างในวงจักร อีกด้านหนึ่งมีรูปพระมหามงกุฎกับฉัตร เหรียญดีบุกขนาดใหญ่เรียกว่า "อัฐ" มีราคา 8 อันต่อหนึ่งเฟื้อง สำหรับขนาดเล็กเรียกว่า "โสฬส" มีราคา 16 อันต่อหนึ่งเฟื้อง
    นอกจากนี้ เพื่อเป็นการรักษาสภาพของอัฐ และโสฬส จึงออกประกาศห้ามมิให้นับอัฐโสฬสลงที่พื้นแข็ง ๆ ซึ่งมีข้อความดังต่อไปนี้ "ใครจะนับเบี้ยกะแปะอัฐ แลโสฬสที่ใด ๆ ห้ามอย่าให้เทลงนับที่พื้นปูน พื้นศิลา และพื้นอิฐกระเบื้อง กระดานแข็ง ๆ หยาบ ๆ ของจะสึกหรอเสียลวดลายไปเร็ว ให้ปูผ้าหรือเจียมลงก่อนแล้วจึงเทลงนับบนผ้าหรือเจียมทุกแห่งทุกตำบล คนทั้งปวงจะต้องพร้อมใจสงวน เพราะใช้ด้วยกันทุกคนไปนาน ๆ" (ม.จ. พูนพิศมัย ดิศกุล 2534 : 139)
    พ.ศ. 2406 ประเทศไทยค้าขายกับต่าง-ประเทศได้ทองคำเข้ามามาก จึงมีพระราชดำริให้ผลิตเหรียญทองคำ มีตราทำนองเดียวกับเงินเหรียญขึ้น เพื่อใช้เป็นเครื่องแลก 3 ขนาด คือ ขนาดใหญ่ เรียกว่า "ทศ" หรือ "ทุกกังส์" ราคาเหรียญละ 8 บาท (เทียบเท่าราคาทองปอนด์สเตอร์ลิงก์ของอังกฤษในสมัยนั้น) ขนาดกลาง เรียกว่า "พิศ" หรือ "เอกกังส์" ราคาเหรียญละ 4 บาท และขนาดเล็ก เรียกว่า "พัดดึงส์" หรือ "จีนกังส์" ราคาเหรียญละ 10 สลึง (เท่ากับตำลึงจีน)
    ครั้นถึง พ.ศ. 2408 โปรดเกล้าฯ ให้สร้างเหรียญทองแดง มีตราเช่นเดียวกับเหรียญดีบุกเป็นเครื่องแลกอีก 2 ขนาด ขนาดใหญ่ เรียกว่า "ซีก" ราคา 2 อัน ต่อหนึ่งเฟื้อง และขนาดเล็ก เรียกว่า "เสี้ยว" ราคา 4 อันต่อหนึ่งเฟื้อง
    อนึ่ง การใช้เหรียญทองคำและเหรียญดีบุก เพื่อเป็นเงินตราหรือเป็นเครื่องแลกในการซื้อขาย มิได้เป็นดังพระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทั้งนี้เนื่องจากราษฎรมักนำเหรียญทองคำไปทำรูปพรรณเครื่องประดับ หรือเก็บรักษาไว้เสมือนสิ่งมีค่า ดังนั้นเหรียญทองคำจึงค่อย ๆ หายสูญไปจากท้องตลาด สำหรับเหรียญดีบุกนั้น มีการทำเหรียญปลอมขึ้น จนราษฎรรังเกียจการที่จะรับหรือใช้เหรียญดีบุก
    เงินตราสยามซึ่งพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระราชดำริสร้างขึ้นเป็นเงินเหรียญได้เองจากโรงกระษาปน์ภายในประเทศแล้ว เงิน พดด้วงมิได้ผลิตเพิ่ม แต่ก็ยังไม่ประกาศเลิกใช้ จนถึงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศเลิกใช้เงินพดด้วงทุกชนิด ตั้งแต่วันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2447 เป็นต้นมา และโปรดเกล้าฯ ให้ราษฎรนำเงินพดด้วงมาขอแลกเงินเหรียญ หรือนำส่งเป็นเงินภาษีอากรหรือรายได้ ของรัฐบาลอย่างอื่นๆ ทุกประเภท และทรงมีประกาศฉบับสุดท้าย กำหนดให้แลกเงินพดด้วงได้เพียงวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2451 เป็นการยุติ (สดับ ธีระบุตร 2528 : 83-85)
    ฉะนั้นการใช้เงินพดด้วงของประเทศไทย จึงได้สิ้นสุดลง หลังจากที่ใช้กันมานานกว่า 600 ปี
    ธนบัตร
    "หมาย"
    เงินกระดาษหรือธนบัตร ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2396 ดังหลักฐานจดหมายเหตุรัชกาลที่ 4 (ภาพประวัติศาสตร์ราชวงศ์จักรี กรุงรัตน-โกสินทร์ 200 ปี ม.ป.ป. : 468) เรียกว่า "หมาย" เป็นเครื่องแลกทำด้วยกระดาษ มีตัวอักษรพิมพ์และประทับพระราชลัญจกร 3 ดวง ให้ราคาตั้งแต่เฟื้องจนถึงหนึ่งบาท ผลิตขึ้น 3 ประเภท คือ
    หมายประเภทที่หนึ่ง ทำด้วยกระดาษปอนด์สีขาวขนาดใหญ่ ความกว้าง 4 นิ้ว ความยาว 5 นิ้วครึ่ง สันนิษฐานว่าผลิตขึ้นครั้งแรกใน พ.ศ. 2396 ตามหลักฐานที่ปรากฏ มีสี่ราคา ได้แก่ สามตำลึง สี่ตำลึง หกตำลึง และสิบตำลึง ด้านหน้ามีกรอบสี่เหลี่ยมผืนผ้าสองชั้นและบ่งราคาไว้ เช่น "หมายราคาสี่ตำลึง" มีความหมายว่า "ใช้สี่ตำลึงให้แก่ผู้เอาหมายนี้มาให้เก็บหมายนี้ไว้ทรัพย์จักไม่สูญเลย" ทั้งสองข้างมีตราอักษรจีน (แปลว่าพิทักษ์หรือคุ้มครองประทับอยู่เท่ากับจำนวนตำลึง และมีตราใบไม้ประทับอยู่บนตราอักษรจีนอีกชั้นหนึ่ง เพื่อป้องกันการปลอมแปลง ตรงกลางประทับตราจักรและตรามหาพิชัยมงกุฎ สำหรับด้านหลังเป็นลายเครือเถาเต็มทั้งด้าน มีตราชาดสี่เหลี่ยมผืนผ้าเป็นอักษรขอมประทับอยู่ แปลเป็นภาษาไทยได้ว่า "กรุงเทวมหานครอมรรัตนโกสินทรมหินทรายุธฌิยาบรมราชธานี" (ประยุทธ สิทธิพันธ์ ม.ป.ป. : ไม่ปรากฏเลขหน้า)
    หมายประเภทที่สอง เป็นกระดาษปอนด์สีขาว ขนาดความกว้าง 2 นิ้ว ความยาว 3 นิ้วครึ่ง สันนิษฐานว่าออกใช้ในปี พ.ศ. 2396 มีราคาหนึ่งเฟื้อง หนึ่งสลึง สลึงเฟื้อง สองสลึง สองสลึงเฟื้อง สามสลึง สามสลึงเฟื้อง และหนึ่งบาท ด้านหน้ามีกรอบรูปวงกลมเล็ก ๆ เหนือกรอบมีวงกลมดุนเล็ก ๆ สองวง ประทับตราชาดเช่นเดียวกับหมายประเภทที่หนึ่ง และบ่งราคาไว้ เช่น หมายราคาสองสลึง ก็มีว่า "เงิน2 ใช้หมายนี้แทนเถิด เข้าพระคลังจักใช้เงินเท่านั้นให้แก่ผู้เอาหมายนี้มาส่งในเวลาแต่เที่ยงไปจนบ่ายสามโมงทุกวัน ณ โรงทหารพระบรมมหาราชวังฯ" ด้านหลังเป็นกรอบรูปดอกไม้และใบไม้ มีอักษรบอกราคาเป็นหนังสือไทย จีน ลาติน อังกฤษ กุจาตี มลายู เขมร พม่า รามัญ ลาว สันสกฤตและบาลี ประทับตราจักรและตรามหาพิชัยมงกุฎ
    หมายประเภทที่สาม เป็นกระดาษปอนด์สีขาว ความกว้าง 2 นิ้ว ความยาว 3 นิ้ว เท่าที่หลักฐานปรากฏว่ามีราคายี่สิบบาท และแปดสิบบาท ด้านหน้ามีกรอบลวดลายต่าง ๆ กัน ภายในกรอบมีข้อความว่า "หมายสำคัญนี้ ให้ใช้แทน 320 ซีก ฤา 640 เสี้ยว ฤา 1280 อัฐ ฤา 2560 โสฬส คือเป็นเงินยี่สิบบาท ฤา ห้าตำลึง ฤา 12 เหรียญนก ฤา 28 รูเปีย ได้ให้ไปเปลี่ยนที่พระคลังจะได้จงเชื่อเถิด" ประทับตราจักร และตรามหาพิชัยมงกุฎ ด้านหลังเป็นภาษาอังกฤษ ปรากฏข้อความดังนี้
    "Twenty Ticals" This is the Testimony for exchange of the following names 320 halves, or 640 quarters, or 1280 eights, or 2560 sixteenths of a fuang, or 20 Ticals, or $ 12, or 28 Ruppees, can be obtained in any one manner at Grand Treasury Palace, Bangkok"
    ใบ "พระราชทานเงินตรา" หรือ "เช็ค" เป็นกระดาษสีขาวพิมพ์หน้าเดียว ไม่พบหลักฐานว่า ออกใช้ในปีใด สันนิษฐานว่าคงเป็นเรื่องจ่ายเบี้ยหวัดให้แก่ข้าราชการในยามที่เงินตราโลหะขาดแคลน ซึ่งอาจเป็นระหว่าง พ.ศ. 2399-2403 ว่ากันว่ามีราคา สามตำลึง สี่ตำลึง ห้าตำลึง เจ็ดตำลึง สิบตำลึง สิบสองตำลึง สิบห้าตำลึง หนึ่งชั่ง หนึ่งชั่งห้าตำลึง และหนึ่งชั่งสิบตำลึง มีขนาดกว้าง 3 นิ้วครึ่ง ยาว 4 นิ้วครึ่ง
    ใบพระราชทานเงินตราที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ทำขึ้นนี้ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ก็ได้ถือเป็นแบบอย่างใบสั่งจ่าย ให้ได้ใช้กันต่อมา แต่เรียกว่า "พระบรมราชโองการ" มีขนาดใหญ่ประมาณสามเท่าของใบพระราชทานเงินตรา
    การใช้หมายหรือที่พระคลังมหาสมบัติ เรียกว่า ธนบัตร และทั้ง "เช็ค" หรือที่เรียกกันว่าใบ "พระราชทานเงินตรา" นั้นมีมาตั้งแต่รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์จึงทรงเป็น ผู้นำในการสร้างเครื่องแลกทำด้วยกระดาษโดยแท้จริง (ประยุทธ สิทธิพันธ์ ม.ป.ป. : 144)
    1. พดด้วงเงินที่ระลึกตราพระแสงจักร-พระมหามงกุฎ พ.ศ. 2402
    พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ทำพดด้วง ชนิดราคาหนึ่งชั่งตำลึง และกึ่งตำลึง ขึ้นเพื่อฉลองพระมหามณเฑียรพระที่นั่งอนันตสมาคมในพระบรมมหาราชวัง เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2402
    พดด้วงเงินที่ระลึกตราพระแสงจักร-พระมหามงกุฎ พ.ศ. 2402
    1 ตราพระแสงจักร
    2 ตราพระมหามงกุฎ
    2. พดด้วงทองคำเถาที่ระลึกตราพระแสงจักรพระมหามงกุฎ พ.ศ. 2394
    พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้สร้างขึ้นเป็นที่ระลึกสำหรับพระราชทานในโอกาสสำคัญ สร้างหลังจากเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติแล้ว
    3. พดด้วงทองคำที่ระลึกตราพระเต้า
    พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ทำขึ้นเพื่อพระราชทานเป็นที่ระลึกในโอกาสสำคัญ ออกใช้ก่อน พ.ศ. 2399
    . เหรียญเงินเม็กซิโกเปรูประทับตราพระแสงจักรพระมหามงกุฎ พ.ศ. 2397-2411
    พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประทับตราพระแสงจักร-พระมหามงกุฎ บนเหรียญที่ชาวต่างประเทศนำมาชำระค่าสินค้า เพื่อแก้ไขปัญหาผลิตเงินพดด้วงขึ้นไม่ทันต่อความต้องการทางการค้า
    5. เหรียญทองคำ เงินตราพระแสงจักร-พระมหามงกุฎพระเต้า พ.ศ. 2399
    พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้สร้างทดลองผลิตขึ้นใช้ก่อนที่จะได้รับเครื่องจักรทำเหรียญมาจากอังกฤษ เป็นเหรียญแบบรุ่นแรกของไทย ที่ออกใช้หมุนเวียนในระยะหนึ่ง
    6. เหรียญเงินบรรณาการตราพระแสงจักร-พระมหามงกุฎ พ.ศ. 2401
    เหรียญกษาปณ์ชุดนี้ ผลิตจากเครื่องจักรขนาดเล็ก ที่สมเด็จพระนางเจ้าวิกตอเรียแห่งประเทศอังกฤษ ส่งมาเป็นเครื่องราชบรรณาการแด่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
    7. เหรียญทองคำพระแสงจักร-พระมหามงกุฎ พ.ศ. 2406
    พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ผลิตเหรียญทองคำขึ้นใช้ 3 ชนิดราคาได้แก่ เหรียญทองทศ เหรียญทองพิศและเหรียญทองพัดดึงส์ ในช่วงเวลาที่การค้ากับต่างประเทศเจริญขึ้น ประจวบกับเป็นเวลาที่มีการเปิดเหมืองทองใหม่ที่แคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา และเหมืองทองในทวีปออสเตรเลีย จึงมีทองคำเข้ามาในประเทศเป็นจำนวนมาก
    8. เหรียญกษาปณ์ที่ระลึก ทองคำ เงิน ตราพระมหามงกุฎกรุงสยาม
    พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ผลิตขึ้นพระราชทานแด่พระบรมวงศานุวงศ์และบรรดาข้าราชการ ในงานพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 5 รอบของพระองค์ เรียกกันโดยทั่วไปว่าเหรียญแต้เม้ง
    ในกระบวนการด้านศิลปะและสถาปัตยกรรม ในรัชกาลนี้ได้หันความนิยมไปสู่แบบตะวันตกแทนรูปแบบศิลปะของจีน พระมหาปราสาทราชมณเฑียรรับเอารูปลักษณะ "ฝรั่ง" มาใช้มากขึ้น พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้สร้างหมู่พระอภิเนาวนิเวศน์ ขึ้นในที่สวนขวาใหม่ทั้งหมู่ นอกจากนั้นกระบวนการช่างศิลปะอย่างยุโรปได้แพร่หลายออกไปสู่วัดวาอาราม และวังเจ้านายในท้องที่ต่าง ๆ จนกล่าวได้ว่า รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 เป็นสมัยเริ่มแรกของศิลปะตะวันตกในยุครัตนโกสินทร์ (มหาวิทยาลัย ศิลปากร 2525 : 6) อย่างไรก็ดีการรับรูปแบบศิลปะต่างชาติของรัชกาลนี้ก็มิได้หมายความว่า ศิลปะ ตะวันตกจะสอดแทรกเข้าไปทุกหนทุกแห่งในสถาปัตยกรรมไทย คงมีในบางแห่งและเป็นบางส่วนเท่านั้น
    สรุปลักษณะสถาปัตยกรรมในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 เป็นข้อสังเกตได้ดังนี้
    1. สถาปัตยกรรมมีลักษณะเป็นแบบอาคารสมัยโกธิก หรือ เรเนซองซ์
    2. การจัดรูปผังพื้นอาคารคล้อยตาม สถาปัตยกรรมของศิลปะสมัยนั้น(เฉพาะอาคารที่เป็นที่พักอาศัยและอาคารราชการ)
    3. ใช้ซุ้มโค้งครึ่งวงกลม และใช้เสาแบบคลาสสิก
    4. อาคารที่เป็นวัดไทยนิยมใช้ศิลปะตะวันตกในส่วนที่เป็นกรอบซุ้ม ประตู หน้าต่าง ลายหน้าบัน และเสา ส่วนผัง พื้น วิธีการใช้อาคารและทรงหลังคาคงเป็นไปตามแบบไทยเช่นเดิม
     

แชร์หน้านี้

Loading...