เหตุการณ์ใน-นอกโลก VS ภัยธรรมชาติ และupdate พายุสุริยะ

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Falkman, 10 มกราคม 2011.

  1. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    ช่วงที่ปฏิกิริยาของดวงอาทิตย์ต่ำ จะเห็นกราฟลักษณะ sine curve ของโปรตอนพลังงานต่ำ ( เส้นสีส้ม ) ทุกทีเลย

    [​IMG]

    .
     
  2. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    ดวงอาทิตย์ โดนเงาดาวอื่นบดบัง?
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  3. เขารูปช้าง

    เขารูปช้าง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 พฤศจิกายน 2012
    โพสต์:
    24
    ค่าพลัง:
    +127
    อ่านแล้วผมยัง งงๆ อยู่ครับดวงอาทิตย์จะโดนเงาวัตถุอื่นบังได้อย่างไร
    ดวงอาทิตย์ปล่อยแสงออกมาทุกทิศทางในระบบสุริยะนี้ และเป็นเทหวัตถุที่ใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะของเรา และวัตถุที่จะบังดวงอาทิตย์ได้ดังความเห็น#3987
    นั้นจะใหญ่โตขนาดไหนสุดที่ผมจะจินตนาการได้

    รบกวนช่วยขยายความหน่อยครับ
     
  4. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    คล้ายๆ กับ สุริยุปราคาไหม?
     
  5. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    [​IMG]

    โลกอยู่ระหว่าง SDO กับ ดวงอาทิตย์ ภาพที่ได้คือ โลกไปบังกล้องที่กำลังจับภาพดวงอาทิตย์ครับ

    .
     
  6. เขารูปช้าง

    เขารูปช้าง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 พฤศจิกายน 2012
    โพสต์:
    24
    ค่าพลัง:
    +127
    ขอบคุณท่าน hiflyer เป็นอย่างสูงครับที่กรุณาช่วยมาเฉลย ตอนนี้ถึงบางอ้อแล้ว ที่แท้เป็นการสังเกตุการณ์จากกล้องของดาวเทียม SDO ไม่ใช่มองจากโลกครับ
     
  7. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    เกือบจะเป็นดวงอาทิตย์ที่เรียบมาก ปีนี้ 2013 มันน่าจะเป็นปีของ Solar Maximum และสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์กำลังจะพลิกตัว สัญญาณอย่างระยะยาวว่าดวงอาทิตย์กำลังจะถึงจัดสูงสุดได้มาถึงแล้ว แต่ถ้ามันคือ Solar Max มันดูอย่างกับ Solar Min, จานของดวงอาทิตย์เรียบมาก ไม่มีจุดดับ แทบจะเรียกว่าว่างเปล่าเลยทีเดียว

    ความจริง นี่คือ Solar maximum ที่อ่อนที่สุดในรอบ 50 ปีเลยทีเดียว มันเงียบและไม่มีจุดดับคือ การเว้นของการมี flare และ CME แล้วแต่โอกาสจะเป็นแบบนี้ อย่างน้อยหนึ่งในนักวิจัยเชื่อว่า ตอนนี้เรากำลังอยู่ในช่วง Solar maixmum และมันเป็นแบบ จุดสูงสุด สองครั้ง และเรากำลังอยู่ในระหว่างเส้นโค้งระหว่าง 2 ช่วงนี้ และช่วงที่น่าจะมีปฏิกิริยามากๆ น่าจะอยู่ราว สิ้นปี 2013 และปี 2014 ให้จับตากันไว้



    ALMOST-BLANK SUN: 2013 is supposed to be a year of solar maximum. Indeed, the sun's magnetic field is poised to flip, a long-held sign that Solar Max has arrived. But if this is Solar Max, it looks a lot like Solar Min. The face of the sun is almost completely blank:

    [​IMG]

    A careful inspection of the solar disk reveals only two sunspots, very small and quiet. NOAA forecasters estimate no more than a 1% chance of M- or X-class flares during the next 24 hours.

    In fact, this is Solar Max, the weakest one in more than 50 years. Long spells of quiet and spotlessness are punctuated by occasional flares and CMEs. At least one researcher believes the ongoing maximum is actually double-peaked, and we are now experiencing the valley between peaks. If so, a surge in solar activity could be in the offing in late-2013 and 2014. Stay tuned.


    SpaceWeather.com -- News and information about meteor showers, solar flares, auroras, and near-Earth asteroids
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 12 กันยายน 2013
  8. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    GAMMA-RAY BURSTS FROM THE CLOUDTOPS: Sometimes, Earth mimics a supernova, producing a Terrestrial Gamma-ray Flash from the tops of thunderstorms. A new lightning sensor on the International Space Station could solve the mystery of these energetic bursts

    สถานีอวกาศ ISS ได้ตรวจจับรังสีแกมม่าได้บนยอดของการเกิดฟ้าผ่า ซึ่งมีความร้อนถึง 50,000 ฟาเรนไฮ สูงกว่าพื้นผิวของดวงอาทิตย์อีก

    SpaceWeather.com -- News and information about meteor showers, solar flares, auroras, and near-Earth asteroids

    [​IMG]

    อ่านต่อ ISS "Firestation" to Explore the Tops of Thunderstorms - NASA Science
     
  9. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    ฝนดาวตก

    METEOR OUTBURST? European sky watchers are reporting an outburst of September epsilon Perseid meteors. "The outburst occurred around UT midnight on Sept. 9-10," says Bill Cooke, head of NASA's Meteoroid Environment Office. "During a two hour period, meteors appeared at a rate equivalent to ~50 per hour (ZHR). We did not see the outburst in North America because it was still daylight at the time."

    NASA all-sky cameras have been recording epsilon Perseid fireballs for days, albeit at a much lower rate than what the Europeans saw. The shower has been active since early September, allowing Cooke's team to calculate orbits for more than a dozen meteoroids:

    [​IMG]

    In the diagram, orbits are color-coded by velocity. Epsilon Perseid meteoroids hit Earth's atmosphere at a "blue-green" speed of about 62 km/s (139,000 mph). According to NASA data, the debris stream appears to be rich in fireball-producing meteoroids.

    The epsilon Perseid shower peaks every year around this time, but the shower is not well known because it is usually weak, producing no more than 5 meteors per hour. In 2008 the shower surprised observers with an outburst five times as active, and this year the shower may have doubled even that. Clearly, the epsilon Perseid debris stream contains some dense filaments of material that Earth usually misses but sometimes hits.

    No one knows the source of the September epsilon Perseid meteor shower. Whatever the parent is, probably a comet, its orbit must be similar to the green ellipses shown in the orbit-map above. As NASA cameras continue to gather data on this shower, orbital parameters will become more accurately known, possibly leading to a match.

    Meanwhile, sky watchers should be alert for more epsilon Perseids in the nights ahead. The shower is waning but still active and more outbursts are possible.

    SpaceWeather.com -- News and information about meteor showers, solar flares, auroras, and near-Earth asteroids
     
  10. จริง?หรือ?

    จริง?หรือ? เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 มิถุนายน 2013
    โพสต์:
    2,201
    ค่าพลัง:
    +7,155
    วอยเอเจอร์ 1 เดินทางทะลุสุริยะจักรวาลแล้ว
    วันศุกร์ที่ 13 กันยายน 2556 เวลา 00:00 น.

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]
    คณะนักวิทยาศาสตร์หรัฐประกาศ ยานสำรวจ "วอยเอเจอร์ 1" ที่ออกเดินทางจากโลกเมื่อ 36 ปีก่อน ล่าสุดเดินทางทะลุขอบนอกสุดของระบบสุริยะจักรวาล เข้าสู่ภพอื่นอย่างเป็นทางการแล้ว ถือเป็นยานอวกาศจากโลกลำแรก ในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ ที่เดินทางห่างไกลได้ขนาดนี้


    สำนักข่าวเอเอฟพีรายงานจากกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 12 ก.ย. ว่า นายมาร์ค สวิสดัค นักฟิสิกส์ดาราศาสตร์ มหาวิทยาลัยแมรีแลนด์ สหรัฐอเมริกา เผยเมื่อวันพฤหัสบดีว่า ยานสำรวจอวกาศ "วอยเอเจอร์ 1" ขององค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ (นาซา) สหรัฐอเมริกา ที่ออกเดินทางจากโลกเมื่อกว่า 36 ปีก่อน ล่าสุดเดินทางทะลุขอบนอกสุดของระบบสุริยะอย่างเป็นทางการแล้ว และขณะนี้กำลังเดินทางอย่างไร้จุดหมายในกลุ่มดาวกาแล็กซี่อื่น ถือเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ ที่สามารถเคลื่อนออกนอกระบบสุริยะ เพื่อสำรวจกาแล็กซี่อื่นที่ใหญ่กว่า

    ยังเป็นที่ถกเถียงอย่างเผ็ดร้อน เกี่ยวกับจุดตำแหน่งที่แน่ชัดของยาน วอยเอเจอร์ 1 ในรอบปีที่ผ่านมา เนื่องจากบรรดานักวิทยาศาสตร์ไม่ทราบแน่ชัดว่า จะเกิดอะไรขึ้นเมื่อยานลำนี้เดินทางทะลุจักรวาลเข้าสู่ภพอื่น และอุปกรณ์ที่ติดตั้งบนยานเพื่อติดตามตรวจสอบความเปลี่ยนแปลง เสียหายใช้การไม่ได้นานแล้ว

    ยานวอยเอเจอร์ 1 ออกเดินทางจากฐานปล่อยจรวดแหลมคานาเวอรัล รัฐฟลอริดา เมื่อวันที่ 5 ก.ย. 2520 หรือเมื่อ 36 ปีกับอีก 7 วันที่แล้ว

    อย่างไรก็ตาม ตอนนี้คณะนักวิทยาศาสตร์ของนาซา ต่างยอมรับว่า ยานวอยเอเจอร์ 1 อยู่นอกฟองป้องกัน หรือที่เรียกกันว่า ขอบเขตสิ้นสุดของลมสุริยะ (เฮลิโอสเฟียร์) อย่างเป็นทางการแล้ว ตั้งแต่เดือน ส.ค. ที่ผ่านมา โดยเขตที่ว่านี้อยู่ห่างจากดาวเคราะห์ทุกดวง ของระบบสุริยะจักรวาลอย่างน้อย 13,000 ล้านกิโลเมตร

    ยานวอยเอเจอร์ 1 และยานคู่แฝด วอยเอเจอร์ 2 ที่ออกเดินทางจากโลกเมื่อวันที่ 20 ส.ค. 2520 เดิมทีมีภารกิจสำรวจดาวพฤหัสบดี และดาวเสาร์ ยานทั้งสองค้นพบรายละเอียดใหม่ๆ เกี่ยวกับวงแหวนของดาวเสร์ และยังค้นพบภูเขาไฟ บนดวงจันทร์บริวารของดาวพฤหัสบดีด้วย ยานวอยเอเจอร์ 2 เดินทางต่อไปยัง ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน ก่อนที่องค์การนาซาจะตัดสินใจขายภารกิจของยานทั้ง 2 ลำ เป็นการสำรวจขอบเขตนอกอิทธิพลของดวงอาทิตย์.


    วอยเอเจอร์ 1 เดินทางทะลุสุริยะจักรวาลแล้ว | เดลินิวส์
     
  11. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    .
     
  12. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    [​IMG]

    .
     
  13. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    [​IMG]

    NOAA คาดการณ์ว่า อีก 24-48 ชม. ข้างหน้า มีโอกาสเกิด M หรือ X flare 1 % จริิงๆแล้วช่วงนี้ปฏิกิริยาของดวงอาทิตย์ควรจะสูงสุด เพราะเป็นช่วงที่สนามแม่เหล็กกำลังกลับขั้ว ที่เรียกว่า Solar Maximum ส่วนที่มีการอธิบายว่า ครั้งนี้อาจมีช่วงพีค 2 ครั้ง ซึ่งครั้งที่ 2 อาจจะเป็น ปลายปี2013 หรือ ต้น 2014 นั้น ก็ยังฟันธงไม่ได้ คงต้องติดตามกันต่อไปอีก

    .
     
  14. Jingjoknayork

    Jingjoknayork เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    700
    ค่าพลัง:
    +3,726
    โบราณว่า ฟ้าสงบก่อนพายุจะมา....

    น่าคิดครับ....
     
  15. จริง?หรือ?

    จริง?หรือ? เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 มิถุนายน 2013
    โพสต์:
    2,201
    ค่าพลัง:
    +7,155
    เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับ “วอยเอเจอร์ 1” วัตถุฝีมือมนุษย์ชิ้นแรกที่สามารถเดินทางทะลุจักรวาล
    วันอาทิตย์ที่ 15 กันยายน 2556 เวลา 20:44 น.
    [​IMG]
    สาระน่ารู้เกี่ยวกับยานสำรวจระบบสุริยะ "วอยเอเจอร์ 1" ซึ่งสร้างประวัติศาสตร์ครั้งสำคัญให้แก่มวลมนุษยชาติ ด้วยการเป็นวัตถุจากโลกชิ้นแรก ที่สามารถเดินทางออกนอกระบบสุริยะจักรวาล

    สำนักข่าวต่างประเทศรายงานจากกรุงวอชิงตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 15 ก.ย. ว่าเมื่อ 36 ปีที่แล้ว องค์การบริหารการบินแห่งชาติ ( นาซา ) ของสหรัฐ ปล่อยยานสำรวจวอยเอเจอร์ 1 ออกเดินทางไปสำรวจความเร้นลับและเวิ้งว้างของระบบสุริยะ โดยกำหนดระยะเวลาเริ่มต้นเอาไว้เพียง 5 ปี แต่ยานยังคงเดินทางต่อไปได้ จนกระทั่งถึงเมื่อวันที่ 12 ก.ย. ที่ผ่านมา ยานวอยเอเจอร์ 1 สร้างประวัติศาสตร์ครั้งยิ่งใหญ่ให้แก่มวลมนุษยชาติ ด้วยการเป็นสิ่งประดิษฐ์โดยมนุษย์ชิ้นแรก ที่สามารถเดินทางพ้นขอบนอกสุดของระบบสุริยะอย่างเป็นทางการ แล้วเดินทางต่อไปสำรวจกาแล็กซี่อื่นได้สำเร็จ

    ซึ่งนี่คือเกร็ดน่ารู้โดยสังเขปเกี่ยวกับยานวอยเอเจอร์ 1 และยานพี่น้อง คือ "วอยเอเจอร์ 2"

    จุดเริ่มต้นของเดินทางอันเด็ดเดี่ยว
    ยานวอยเอเจอร์ 2 ออกเดินทางก่อนเมื่อวันที่ 20 ส.ค. 2520 จากฐานปล่อยจรวดในศูนย์อวกาศเคนเนดี บนแหลมคันนาเวอรัล ในรัฐฟลอริดา ด้วยจรวด “ไททัน-เซนทอร์”
    ยานวอยเอเจอร์ 1 ออกเดินทางเมื่อวันที่ 5 ก.ย. 2520 จากฐานปล่อยจรวดในศูนย์อวกาศเคนเนดี บนแหลมคันนาเวอรัล ในรัฐฟลอริดา ด้วยจรวด “ไททัน-เซนทอร์” เช่นกัน

    การเดินทางครั้งยิ่งใหญ่ในห้วงจักรวาล
    ยานวอยเอเจอร์ 1 และ 2 เดินทางไปร่วมกันไขปริศนาและค้นหาความจริงเกี่ยวกับดาวเคราะห์ที่โคจรอยู่บริเวณชั้นนอกของระบบสุริยะ ไม่ว่าจะเป็นดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน ตลอดจนดวงจันทร์บริวารของดาวเคราะห์ทั้งหมดนี้รวม 48 ดวง และความลับเกี่ยวกับวงแหวนของดาวเสาร์ และสนามแม่เหล็กรอบดวงดาว

    ยานวอยเอเจอร์ 1 เดินทางเข้าใกล้ดาวพฤหัสบดีที่สุดเมื่อวันที่ 5 มี.ค. 2522
    ส่วนของยานวอยเอเจอร์ 2 คือวันที่ 1 ก.ค. 2522

    ยานวอยเอเจอร์ 1 เดินทางเข้าใกล้ดาวเสาร์ที่สุดเมื่อวันที่ 12 พ.ย. 2523 ส่วนของยานวอยเอเจอร์ 2 คือวันที่ 25 ส.ค. 2524

    หลังจากนั้นยานวอยเจอร์ 1 เบนเส้นทางมุ่งหน้าสู่ขอบระบบสุริยะ ปล่อยให้ยานวอยเอเจอร์ 2 สำรวจดาวเคราะห์ที่เหลือต่อไป ซึ่งเดินทางเข้าใกล้ดาวยูเรนัสที่สุดเมื่อวันที่ 24 ม.ค. 2529 และดาวเนปจูนเมื่อวันที่ 25 ส.ค. 2532

    ยานสำรวจที่เดินทางได้ไกลที่สุดในประวัติศาสตร์
    ยานวอยเอเจอร์ 1 และ 2 เป็นยานสำรวจระบบสุริยะลำดับที่ 3 และ 4 ของโลก ที่สามารถเดินทางผ่านดาวเคราะห์ในระบบสุริยะได้ครบทุกดวง ต่อจากยาน “ไพโอเนียร์ 10” และ “ไพโอเนียร์ 11” แต่ยานวอยเอเจอร์ 1 ทำลายสถิติระยะทางของยานไพโอเนียร์ 10 เมื่อวันที่ 17 ก.พ. 2531

    แผ่นบันทึกภาพและเสียงสีทอง ( โกลเด้น เรคคอร์ด )
    นาซาบรรจุแผ่นโกลเด้น เรคคอร์ด ขนาด 12 นิ้ว เอาไว้ภายในยานวอยเอเจอร์ทั้ง 2 ลำ ซึ่งบันทึกเสียงธรรมชาติ อาทิ เสียงสัตว์ เสียงจากวัตถุที่มนุษย์สร้างขึ้น อาทิ เสียงหวูดรถไฟ และเสียงทักทายใน 55 ภาษาของมนุษย์ ที่รวมถึงเสียงของประธานาธิบดีจิมมี คาร์เตอร์ ผู้นำสหรัฐในช่วงที่ยานวอยเอเจอร์ออกเดินทาง รวมถึงภาพสถานที่สำคัญ และธรรมชาติบนโลกอีก 115 ภาพ ซึ่งนาซาเชื่อว่า ในอนาคตอาจมีสิ่งมีชีวิตจากดาวดวงอื่นมาพบยานวอยเอเจอร์ แล้วนำข้อมูลจากโกลเด้น เรคคอร์ดไปแปลงเป็นภาษาของตัวเอง

    สถานะปัจจุบันของยานวอยเอเจอร์
    ยานวอยเอเจอร์ 1 เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 3.6 เอยูต่อปี ( 1 เอยู คือระยะทางระหว่างโลกจากดวงอาทิตย์ ประมาณ 150 ล้านกิโลเมตร ) ขณะที่ยานวอยเอเจอร์ 2 เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 3.3 เอยูต่อปี
    ทั้งนี้ สถิติของนาซาเมื่อวันที่ 15 ก.ย. ระบุว่า ยานวอยเอเจอร์ 1 อยู่ห่างจากโลกราว 18,780 ล้านกิโลเมตร ส่วนยานวอยเอเจอร์ 2 อยู่ห่างจากโลกราว 15,312 ล้านกิโลเมตร

    กำแพงระบบสุริยะ
    ยานวอยเอเจอร์ 1 เดินทางผ่านกำแพงระบบสุริยะ เมื่อเดือนธ.ค. 2547 ขณะที่ยานวอยเอเจอร์ 2 เดินทางผ่านบริเวณเดียวกันนี้ เมื่อเดือนส.ค. 2550

    เฮลิโอสเฟียร์ – ขอบเขตระบบสุริยะ
    เริ่มมีกระแสข่าวออกมาตั้งแต่ช่วงเดือนส.ค. ว่ายานวอยเอเจอร์ 1 เดินทางพ้นขอบเขตระบบสุริยะมาตั้งแต่ ส.ค. แต่นาซายืนยันอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 12 ก.ย. ที่ผ่านมา หลังผลวิเคราะห์การสั่นสะเทือนของคลื่นและความหนาแน่นในพลาสมา บ่งชี้ชัดเจนว่ายานวอยเอเจอร์ 1 เดินทางเข้าสู่อาณาเขตมวลสารระหว่างดวงดาว หรือ “อินเตอร์สเตลลาร์ มีเดียม” อันเคว้งคว้างแล้ว และนับจากนี้เป็นต้นไป ยานวอยเอเจอร์ 1 จะเดินทางต่อไปในทิศทางใด หรือจะพบกับสิ่งใดบ้าง เป็นเรื่องที่ไม่มีใครสามารถคาดเดาได้อีกต่อไป อย่างไรก็ตาม เชื้อเพลิงของยานวอยเอเจอร์ 1 ซึ่งผลิตจากเครื่องกำเนิดไฟฟ้าที่อาศัยแร่พลูโตเนียมในการสร้างพลังงาน เพียงพอสำหรับการใช้งานได้เต็มที่ถึงปี 2568

    เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับ “วอยเอเจอร์ 1” วัตถุฝีมือมนุษย์ชิ้นแรกที่สามารถเดินทางทะลุจักรวา
     
  16. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    ดาวหางอีกดวง LoveJoy จะมาปรากฎบนฟ้าให้เห็นเวลาเดียวกับ ISON

    By Deborah Byrd in
    Blogs | Space on Sep 10, 2013

    Move over Comet ISON. A new Comet Lovejoy has arrived

    [​IMG]

    Australian amateur astronomer Terry Lovejoy has discovered a new comet. The new Comet Lovejoy will occupy the same part of the sky as Comet ISON by November 2013.

    Many are anticipating the brightening of Comet ISON, which is now in Earth’s predawn sky, not far from the bright planets Jupiter and Mars, but too faint to see without telescopes and/or photographic equipment. Read more about Comet ISON here. In the meantime, on September 9, 2013, noted comet discoverer Terry Lovejoy of Australia announced another new comet, bringing his total number of comet discoveries to four. The newest Comet Lovejoy will be in the same part of the sky as Comet ISON beginning in November. What a cool photo opportunity!

    [​IMG]

    The new comet has been formally labeled as C/2013 R1 Lovejoy. Terry Lovejoy apparently used a relatively small 8-inch (20 cm) Schmidt-Cassegrain reflecting telescope to photograph the new comet for two nights, as this faint object was located on the sky’s dome in front of the border between our constellations Orion and Monoceros.

    Read Terry Lovejoy’s own discovery story here.

    Now that the comet has been confirmed by other astronomers, amateur astronomers will be getting excited! Watch this space.

    [​IMG]

    Both Comet ISON and Comet Lovejoy are faint now. Both will get brighter. Unlike ISON, no one is expecting Comet Lovejoy to become visible to the eye alone. It might not be all that easy to spot through a telescope. So why the excitement? For sure, some will photograph the two comets together on the sky’s dome.

    By the way, there will actually be three comets visible in the sky together in early November. Comet Encke will be joining the crowd around then. Read more the “comet convoy” at Cumbrian Sky.

    [​IMG]

    Bottom line: Australian amateur astronomer Terry Lovejoy has discovered a new comet, his fourth. The new Comet Lovejoy will be in the same part of the sky as Comet ISON beginning around the start of November 2013. For those with the right equipment, it’ll be a great photo opportunity.
     
  17. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    ล่าสุดครับ 1 ชม. ที่แล้ว

    [​IMG]

    [​IMG]

    เพิ่มเติม :

    AR : ACTIVE REGION
    EF : EMERGING FLUX



    [​IMG]

    .
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 กันยายน 2013
  18. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    เมื่อ 10:23 UTC ( 17:23 น. )

    [​IMG]

    .
     
  19. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    ปฏิกิริยาของดวงอาทิตย์ยังคงต่ำมาก AR 1840 ทางขอบด้านตะวันตกกำลังก่อตัวเป็นจุดดับใหม่ ส่วน AR 1841 ยังคงสงบนิ่ง คาดว่าจะไม่มีการระเบิดที่รุนแรง
    กระแสลมสุริยะจาก Corona Hole จะเริ่มทวีความเร็วขึ้นก่อนหมดวันนี้ อาจส่งผลต่อสนามแม่เหล็กโลกได้ โดยแถบละติจูดสูงๆทั้งเหนือและใต้ จะสามารถเห็นแสงเหนือและแสงใต้ได้


    [​IMG]

    .
     
  20. puvadon777

    puvadon777 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 กันยายน 2011
    โพสต์:
    1,076
    ค่าพลัง:
    +5,890

แชร์หน้านี้

Loading...