พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    กระทู้ดีๆแบบนี้ เป้าหมายอาจจะเป็นแบบพระธาตุเจดีย์ศรีชัยผาผึ้งนะครับ ขอโมทนาบุญด้วยครับ กระทู้นี้ต่อไปจะ hot แตกกว่า"มอบพระวังหน้า..."นะ ดูกันต่อไป
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 13 พฤศจิกายน 2007
  2. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE class=tborder id=post758130 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">15-10-2007, 10:07 AM <!-- / status icon and date --></TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right>#10842 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175>sithiphong<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_758130", true); </SCRIPT>
    สมาชิก ยอดนิยม
    สมาชิกยอดฮิต



    วันที่สมัคร: Dec 2005
    ข้อความ: 16,062 <!-- Start Post Thank You Hack -->
    ได้ให้อนุโมทนา 19,221 ครั้ง
    ได้รับอนุโมทนา 90,417 ครั้ง ใน 12,294 โพส <!-- End Post Thank You Hack -->
    พลังการให้คะแนน: 10677 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]




    </TD><TD class=alt1 id=td_post_758130 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- message -->ช่วงนี้ งานผมเองค่อนข้างเยอะมาก ทั้งงานหลวงและงานราษฎร์ ผมขอลาพักร้อน พักงานบุญไว้ก่อน

    หลังปีใหม่(2551)นี้ ผมจะมาแจ้งให้ทราบกันอีกครั้งว่า ผมจะมอบพระพิมพ์ไหนให้กับท่านที่ร่วมทำบุญสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้งอีกนะครับ


    โมทนาสาธุครับ

    .
    <!-- / message --><!-- sig --></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  3. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE class=tborder id=post807202 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">11-11-2007, 08:39 PM <!-- / status icon and date --></TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #11445 </TD></TR></TBODY></TABLE>
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    นั่งรอมาหลายวันแล้ว รอคนที่ไม่รู้และไม่ศึกษาและที่สำคัญคือผลประโยชน์ แล้วนั่งเทียนว่าพระวังหน้าเก๊

    รอคนที่เป็นลูกผู้ชาย และคนที่มั่นใจ แต่สงสัยจะหายาก

    .


    </TD></TR></TBODY></TABLE>


    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset"></TD></TR></TBODY></TABLE>


    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ :::เพชร::: [​IMG]
    หึหึ...ชักศึกเข้าบ้านหรือไง จัดเตรียมเวรยามไว้พร้อมหรือยังครับ?

    ปิดประตูตีแมว(b-evil2)

    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    พักนี้ เริ่มชอบครับ ชอบพาคนไปนรกครับ

    กลัวคนพวกนี้จะเหงา ไม่มีเพื่อน และยังลงนรกไปไม่ลึก จะให้ลงไปลึกๆ

    (b-deejai) (b-deejai) (b-deejai)
    .
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    เวลาที่ก่อนที่จะคุย ต้องคุยที่ละเรื่อง และพาไปนรกที่ละเรื่อง ต้องแยกประเด็นกัน
    ไม่ว่าจะเป็นประเด็นพระแท้ หรือ พระปลอม
    ,เรื่องเงินทำบุญที่ทำทั้งหมดหรือบางส่วน
    , การปั่นราคาพระหรือไม่อย่างไร ฯลฯ

    ต้องทีละเรื่อง ไม่นำมารวมกัน ต่างกรรม ต่างวาระ
    (b-deejai) (b-deejai) (b-deejai)
     
  4. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  5. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ไหว้ 5 ครั้ง<O[​IMG]</O[​IMG]

    ของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ ( เจริญ ญาณวรเถระ )<O[​IMG]</O[​IMG]

    วัดเทพศิรินทราวาส<O[​IMG]</O[​IMG]

    [​IMG]

    คัดลอกจาก http://www.konmeungbua.com/saha/Lung...pu_armpan.html<O[​IMG]</O[​IMG]

    ในวันหนึ่งกับคืนหนึ่ง ไม่ว่าเวลาไร ตามแต่เหมาะต้องไหว้ให้ได้ 5 ครั้งเป็นอย่างน้อย ในคราวเดียวนั้น ถ้ามีดอกไม้ธูปเทียนก็บูชา ถ้าไม่มีก็มือ 10 นิ้วและปากกับใจ ควรไหว้จนตลอดชีวิต คือ<O[​IMG]</O[​IMG]
    <O[​IMG]</O[​IMG]

    ครั้งที่ 1 พึงนั่งกระโหย่งเท้าประณมมือว่า<O[​IMG]</O[​IMG]
    นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส ฯ 3 หน แล้วว่าพระพุทธคุณ คือ<O[​IMG]</O[​IMG]
    อิติปิโส ภควา อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน สุคโต โลกวิทู อนุตฺตโร ปุริสทมฺมสารถิ สตฺถา เทวมนุสฺสานํ พุทฺโธ ภควาติ ฯ<O[​IMG]</O[​IMG]
    หยุดระลึกถึงพระปัญญาคุณทรงรู้ดีรู้ชอบสิ้นเชิง พระบริสุทธิคุณทรงละความเศร้าหมองได้หมด พระกรุณาคุณทรงสงสารผู้อื่นและสั่งสอนให้ปฏิบัติตามของพระพุทธเจ้า จนเห็นชัดแล้วกราบลงหน 1 ฯ <O[​IMG]</O[​IMG]
    <O[​IMG]</O[​IMG]

    ครั้งที่ 2 ว่าพระธรรมคุณ คือ<O[​IMG]</O[​IMG]
    สฺวากฺขาโต ภควตา ธมฺโน สนฺทิฆฐิโก อกาลิโก เอหิปสฺสิโก โอปนยิโก ปจฺจตฺตํ เวทิตพฺโพ วิญญูหีติ ฯ<O[​IMG]</O[​IMG]
    หยุดระลึกถึงคุณพระธรรมที่รักษาผู้ปฏิบัติตามไม่ให้ตกไปในที่ชั่ว จนเห็นชัดแล้วกราบลงหน 1 ฯ <O[​IMG]</O[​IMG]
    <O[​IMG]</O[​IMG]

    ครั้งที่ 3 ว่าพระสังฆคุณ คือ<O[​IMG]</O[​IMG]
    สุปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ อุชุปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ ญายปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ สามีจิปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ ยทิทํ จตฺตาริ ปุริสยุคานิ อฏฐปุริสปุคฺคลา เอส ภควโต สาวกสงฺโฆ อาหุเนยฺโย ปาหุเนยฺโยทกฺขิเนยฺโย อญฺชลิกรณีโย อนุตฺตรํ ปุญฺญกฺเขตฺตํ โลกสฺสาติฯ<O[​IMG]</O[​IMG]
    หยุดระลึกถึงคุณ คือ ความปฏิบัติดี ปฏิบัติตรง ปฏิบัติถูก ปฏิบัติชอบ ของพระอริยสงฆ์ จนเห็นชัดแล้วกราบลงหน 1 ฯ<O[​IMG]</O[​IMG]
    นั่งพับเพียบประณมมือตั้งใจถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะไม่ถือสิ่งอื่นยิ่งกว่าจนตลอดชีวิต ว่าสรณคมน์ คือ<O[​IMG]</O[​IMG]
    พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ<O[​IMG]</O[​IMG]
    ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ<O[​IMG]</O[​IMG]
    สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ<O[​IMG]</O[​IMG]
    ทุติยมฺปิ พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ <O[​IMG]</O[​IMG]
    ทุติยมฺปิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ<O[​IMG]</O[​IMG]
    ทุติยมฺปิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ <O[​IMG]</O[​IMG]
    ตติยมฺปิ พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ <O[​IMG]</O[​IMG]
    ตติยมฺปิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ<O[​IMG]</O[​IMG]
    ตติยมฺปิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ <O[​IMG]</O[​IMG]
    <O[​IMG]</O[​IMG]

    ครั้งที่ 4 ระลึกถึงคุณมารดาบิดาของตน จนเห็นชัดแล้ว กราบลงหน 1 ฯ<O[​IMG]</O[​IMG]
    ข้า ฯ ขอ กราบไหว้คุณท่านบิดาและมารดา<O[​IMG]</O[​IMG]
    เลี้ยงลูกเฝ้ารักษา แต่คลอดมาจึงเป็นคน<O[​IMG]</O[​IMG]
    แสนยากลำบากกายไป่คิดยากลำบากตน<O[​IMG]</O[​IMG]
    ในใจให้กังวลอยู่ด้วยลูกทุกเวลา<O[​IMG]</O[​IMG]
    ยามกินพอลูกร้องก็ต้องวางวิ่งมาหา<O[​IMG]</O[​IMG]
    ยามนอนห่อนเต็มตาพอลูกร้องก็ต้องดู<O[​IMG]</O[​IMG]
    กลัวเรือดยุงไรมดจะกวนกัดรีบอุ้มชู<O[​IMG]</O[​IMG]
    อดกินอดนอนสู้ ทนลำบากหนักไม่เบา<O[​IMG]</O[​IMG]
    คุณพ่อแม่มากนักเปรียบน้ำหนักยิ่งภูเขา<O[​IMG]</O[​IMG]
    แผ่นดินทั้งหมดเอามาเปรียบคุณไม่เท่าทัน<O[​IMG]</O[​IMG]
    เหลือที่ จะแทนคุณ ของท่านนั้น ใหญ่อนันต์<O[​IMG]</O[​IMG]
    เว้นไว้ แต่เรียนธรรม์ เอามาสอนพอผ่อนคุณ<O[​IMG]</O[​IMG]
    สอนธรรมที่จริงให้ รู้ไม่เที่ยงไว้เป็นทุน<O[​IMG]</O[​IMG]
    แล้วจึงแสดงคุณ ให้เห็นจริงตามธรรมดา<O[​IMG]</O[​IMG]
    นั่นแหละจึงนับได้ ว่าสนองซึ่งคุณา<O[​IMG]</O[​IMG]
    ใช้ค่าข้าวป้อนมาและน้ำนมที่กลืนกิน ฯ<O[​IMG]</O[​IMG]
    <O[​IMG]</O[​IMG]

    ครั้งที่ 5 ระลึกถึงคุณของบรรดาท่านผุ้มีอุปการคุณแก่ตน เช่น พระมหากษัตริย์และครูบาอาจารย์ เป็นต้นไป จนเห็นชัดแล้วกราบลงหน 1 ฯ<O[​IMG]</O[​IMG]
    ข้า ฯ ขอนอบน้อมคุณแด่ท่านครู ผู้อารี<O[​IMG]</O[​IMG]
    กรุณาและปรานีอุตส่าห์สอนทุก ๆ วัน<O[​IMG]</O[​IMG]
    ยังไม่รู้ ก็ได้รู้ ส่วนของครูสอนทั้งนั้น<O[​IMG]</O[​IMG]
    เนื้อความทุกสิ่งสรรพ์ดีชั่วชี้ ให้ชัดเจน<O[​IMG]</O[​IMG]
    จิตมากด้วยเอ็นดูอยากให้รู้เหมือนแกล้งเกณฑ์<O[​IMG]</O[​IMG]
    รักไม่ลำเอียงเอนหวังให้แหลมฉลาดคม<O[​IMG]</O[​IMG]
    เดิมมืดไม่รู้แน่เหมือนเข้าถ้ำเที่ยวคลำงม<O[​IMG]</O[​IMG]
    สงสัยและเซอะซมกลับสว่างแลเห็นจริง<O[​IMG]</O[​IMG]
    คุณส่วนนี้ควรไหว้ ยกขึ้นไว้ ในที่ยิ่ง<O[​IMG]</O[​IMG]
    เพราะเราพึ่งท่านจริงจึงได้รู้ วิชาชาญ ฯ<O[​IMG]</O[​IMG]

    (บทประพันธ์สรรเสริญคุณมารดาบิดา และ ครูบาอาจารย์ของ ท่านอาจารย์ จางวางอยู่ เหล่าวัตร วัดเทพศิรินทราวาส<O[​IMG]</O[​IMG]

    ลิขสิทธิ์เป็นของ ท่านเจ้าคุณพระโศภนศีลคุณ (หลวงปู่หลุย พาหิยาเถร) วัดเทพศิรินทราวาส)
    <O[​IMG]</O[​IMG]
    ต่อไปนี้ไม่ต้องประณมมือ ตั้งใจพิจารณาเรื่อง และร่างกายของตนว่า จะต้องแก่ หนีความแก่ไปไม่พ้น จะต้องเจ็บ หนีความเจ็บไปไม่พ้น จะต้องตาย หนีความตายไปไม่พ้น จะต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจทั้งสิ้น มีกรรมเป็นของตัว คือ ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว เป็นอนิจจังไม่เที่ยง ไม่แน่นอน เป็นทุกข์ลำบากเดือดร้อน เป็นอนัตตา ไม่อยู่ในอำนาจบังคับบัญชาของตน ฯ ครั้งพิจารณาแล้ว พึงแผ่กุศลทั้งปวงมีการกราบไหว้เป็นต้นนี้ อุทิศให้แก่ท่านผู้มีคุณมีมารดาบิดา เป็นต้น ตลอดจนชั้นสูงสุด คือพระมหากษัตริย์ ทั้งเทพยดามนุษย์และสัตว์ทั้งหลายว่า จงเป็นสุข ๆ อย่ามีเวรมีภัยเบียดเบียนกันและกัน รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งสิ้นเถิด ฯ
    <O[​IMG]</O[​IMG]
    การไหว้ 5 ครั้งนี้ ถ้าวันไหนขาด ให้ไหว้ใช้ 5 ครั้งในวันรุ่งขึ้น ถ้านั่งกระโหย่งเท้าไม่ได้ ก็นั่งพับเพียบ ถ้าไม่ได้ ก็นอนไหว้ เมื่อยกมือไม่ขึ้น ก็ปากกับใจ ถ้าทำได้อย่างนี้เป็นเครื่องพยุงตนให้เป็นคนดี ไม่ให้เป็นคนชั่ว และให้ตั้งอยู่ในที่ดี ไม่ให้ตกไปในที่ชั่ว ถ้าผู้ใดประพฤติได้เสมอตลอดชีวิต ผู้นั้นจะอุ่นใจในตัวของตัวเอง มีความเจริญงอกงามไพบูลย์ยิ่ง ๆ ขึ้นเสมอทุกคืนทุกวัน คุ้มครองป้องกันภยันตรายปราศจากความเสียหายที่ไม่เหลือวิสัย และ ตั้งตัวได้ในทางคดีโลกและทางคดีธรรม เต็มภูมิเต็มขั้นของตน ๆ ทุกประการ จบเท่านี้ ฯ
     
  6. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ ( เจริญญาณวรเถระ )

    http://72.14.235.104/search?q=cache:...h&ct=clnk&cd=7


    [​IMG]

    สมเด็จพระพุทธโฆษจารย์ นามเดิม เจริญ สุขบท เกิดในรัชกาลที่ 5 เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ.2415 ที่จังหวัดชลบุรี เป็นบุตรนาย ทองสุก และนางย่าง

    เมื่ออายุ 8 ปี ได้เป็นศิษย์ของท่านเจ้าคุณชลโธปมคุณมุณี (พุฒ ปุณณกเร) ปฐมวัยอาวาสวัดเขาบางทราย

    เมื่ออายุ 12 ปีได้บรรพชาที่วัดเขาบางทราย และเข้าศึกษาพระปริยัติธรรมที่วัดราชบพิธอุปสมบทเมื่อวันศุกร์ที่ 11 มิถุนายน พ.ศ.2435 ที่วัดเขาบางทราย จังหวัดชลบุรี พ.ศ.2439 ได้ศึกษาพระวินัยปิฎกในสำนัก สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิรญาณวโรรส ที่วัดเทพศิรินทราวาส

    "ตาบุญ (พระยาธรรมปรีชา) ผู้เป็นอาจารย์สอนบาลีของ
    เจ้าพระคุณสมเด็จฯ มอบช้างเผือกส่งเข้ามาให้ "
    สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยา วชิรญาณวโรรส ออกพระโอษฐ์รับสั่งเมื่อครั้งสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ญาณวรเร) สอบไล่ภาษาบาลี ในมหามงกุฎราชวิทยาลัยได้ที่ 1ทุกชั้นเป็นลำดับมา

    พ.ศ.2441 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เป็นพระราชาคณะที่พระอัมราภิลักขิต เป็นผู้อำนวยการศึกษามณฑลปราจีนบุรี ต่อมาได้ตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดเทพศิรินทราวาสได้เลื่อนสมณศักดิ์เรื่อยมา

    พ.ศ.2471 โปรดให้สถาปนาขึ้นเป็นสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์

    พ.ศ.2476กรรมการเถรสมาคมมีมติให้ท่าน เป็นประธานกรรมการมหาเถรสมาคมบัญชาการคณะสงฆ์แทนพระสังฆราชเจ้าซึ่งสิ้นพระชนม์ ประมวลเกียรติคุณพิเศษสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ญาณวรเร)เป็นพระเถระบริหารงานพระศาสนาถึง 5 แผ่นดิน คือแต่รัชกาลที่ 5-9 เป็นพระราชาคณะแต่อายุ 28 ปี เป็นสมเด็จพระราชาคณะแต่อายุ 57 ปี นับเป็นพระเถระที่ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์พรรษาน้อยกว่า พระเถระหลายรูปเป็นเจ้าอาวาสวัดเทพศิรินทราวาส แต่อายุ 28 ปี ถึง 80 ปีรวม 53 ปี นับว่ายาวนานที่สุดไม่มีใครเทียบได้
    เมื่อสอบนักธรรม หรือบาลีจะสอบได้ที่ 1 ทุกชั้นทุกประโยคเป็นรูปเดียวในสังฆมณฑล ดำรงตำแหน่งแม่กองธรรมสนามหลวง แม่กองบาลีสนามหลวง องค์เดียวกัน
    ในวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ.2494เวลา 10.30 น. สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ญาณวรเระ)มรณภาพด้วยโรคเนื้องอกที่ตับรวมอายุได้ 80 ปี พรรษาที่ 59

    ความคิดเห็นส่วนตัวผม
    ท่านสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (เจริญ ญาณวรเถระ) ท่านเป็นพระอุปัชฌาย์ของท่านเจ้าคุณนรรัตนราชมานิต (ตรึก จินตยานนท์) ท่านบอกกับผู้ที่ไปกราบท่านว่า ขอให้ทุกๆวันได้ไหว้ 5 ครั้ง จะได้เป็นศิริมงคลกับตนเอง จะเหมือนกับชื่อของท่าน (เจริญ) ครับ ท่านเจ้าคุณนรเอง ก็มีความเคารพในท่านสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (เจริญ)มาก โดยท่านเจ้าคุณนรเอง เวลาเดินผ่านกุฎิของท่านสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์(เจริญ)ทุกครั้ง ท่านเจ้าคุณนร ก็จะก้มลงกราบที่กุฎิอยู่ทุกครั้งครับ

    .*********************************************.
     
  7. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    วันที่ 14 สิงหาคม 2550
    ขอเพิ่มเติมเรื่องราว ไหว้ 5 ครั้ง
    http://www.saktalingchan.com/index.p...icle&Id=262016

    [​IMG]


    เจ้าพระคุณสมเด็จ พระพุทธโฆษาจารย์ ญาณวรเถร<O:p</O:p

    วัดเทพศิรินทราวาส ราชวรวิหาร<O:p</O:p



    <O:p</O:p
    1. เจ้าประคุณสมเด็จ ฯ ได้เป็นเจ้าอาวาสพระอารามหลวงนี้ เมื่อพระคุณท่านมีอายุเพียง 27 ปี มีพรรษา 7 ยั่งยืนตลอดมาเป็นเวลาช้านานถึง 53 ปีฯ<O:p</O:p
    2. เจ้าประคุณสมเด็จ ฯได้รับพระราชทานสมณศักดิ์สถาปนาเป็นสมเด็จพระราชาคณะ นั้นมีอายุเพียง 56 ปี เท่านั้น ฯ<O:p</O:p
    3. เจ้าประคุณสมเด็จ ฯ เป็นผู้ริเริ่มจัดตั้งธรรมเนียมการเทศนาธรรมในวันอาทิตย์ขึ้นเป็นแห่งแรก เริ่มเมื่อวันอาทิตย์ที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2471 ติดต่อกันมาถึงปัจจุบันนี้ นับเป็นเวลา 45 ปี ล่วงแล้ว ฯ<O:p</O:p
    4. เจ้าประคุณสมเด็จ ฯ ดำรงตำแหน่งประธานกรรมการมหาเถรสมาคมบัญชาการคณะสงฆ์แทนพระองค์สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ แลบัญชาการคณะสงฆ์โดยตรงสืบต่อมาเป็นเวลา 5 ปี ( ตั้งแต่ พ.ศ. 2476 ถึง พ.ศ. 2481 ) ฯ<O:p</O:p
    5. เจ้าประคุณสมเด็จ ฯ ได้ถวายพระธรรมเทศนามงคลวิเสสกถาติดต่อกันถึง 4 รัชกาล คือตั้งแต่รัชกาลที่ 6-7-8-9 เป็นเวลาถึง 25 ปี ฯ<O:p</O:p
    6. เจ้าประคุณสมเด็จ ฯ มีสัทธิวิหาริก-อันเตวาสิก มากที่สุดถึง 6,666 องค์ ฯ<O:p</O:p
    7. เจ้าประคุณสมเด็จ ฯ เป็นต้นกำเนิดตำราไหว้ 5 ครั้งให้ศิษยานุศิษย์ปฏิบัติตาม หากผู้ใดไหว้ครบ 1 ปี เป็นกำหนด ผู้นั้นจักได้รับรูปที่ระลึกจากองค์ท่านด้านหน้าเป็นรูปองค์ท่าน ด้านหลังเป็นรูปยันต์ภควัม จากกรึกนามองค์ท่านเป็นอักษรย่อ โดยลำดับแห่งราชทินนามนั้น ๆ กระทั่งครั้งสุดท้ายได้จารึก 3 อักษรว่า พ.ฆ.อ. ซึ่งย่อจากราชทินนามว่า พุทธโฆษาจารย์ สมเด็จพระราชาคณะ ฯ<O:p</O:p
    8. สัทธิวิหาริกของเจ้าประคุณสมเด็จ ฯ ที่มีอายุยืนยาวที่สุด คือ ท่านเจ้าคุณพระโศภณศีลคุณ ( หลวงปู่หลุย พาหิยเถร ) ซึ่งเป็นสัทธิวิหาริกองค์ที่ 23 ปัจจุบันอายุ 92 ปี พรรษา 67 ( เกิด 9 สิงหาคม 2426 ) ยังเดินลงโบสถ์ลงสวดมนต์ทำวัตรได้เป็นประจำทุก ๆ วัน เป็นพระเถราจารย์องค์สำคัญ ซึ่งเป็นที่เคารพนับถือยิ่งของท่านเจ้าคุณนรรัตน์ ฯ<O:p</O:p
    9. สัทธิวิหาริกของเจ้าประคุณสมเด็จ ฯ ที่ประพฤติปฏิบัติยอดเยี่ยม และเป็นพระเถระองค์สำคัญที่มีเกียรติคุณโด่งดังในปัจจุบัน คือ ท่านเจ้าคุณนรรัตน์ ฯ ธมมฺวิตกฺโก ซึ่งเป็นสัทธิวิหาริกองค์ที่ 1740 ฯ





    ไหว้ 5 ครั้ง<O:p</O:p

    ของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์<O:p</O:p
    วัดเทพศิรินทราวาส<O:p</O:p



    <O:p</O:p
    ในวันหนึ่งกับคืนหนึ่ง ไม่ว่าเวลาใด ตามแต่เหมาะ ต้องไหว้ให้ได้ 5 ครั้งเป็นอย่างน้อย ในคราวเดียวกัน ถ้ามีดอกไม้ ธูปเทียน ก็บูชา ถ้าไม่มีก็มือ 10 นิ้วและปากกับใจ ควรไหว้จนตลอดชีวิต คือ ครั้งที่ 1 พึงนั่งกระโหย่งเท้าประนมมือว่า นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสฺมพุทฺธสฺส ฯ 3 หน แล้วว่าพระพุทธคุณ คือ อิติปิ โส ภควา อรห<SUP>°</SUP> สมฺมาสมฺพุทฺโธ วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน สุคโต โลกวิทู อนุตฺตโร ปุริสทมฺมสารถิ สตฺถา เทวมนุสฺสาน<SUP>° </SUP>พุทฺโธ ภควาติ ฯ หยุดระลึกถึงพระปัญญาคุณทรงรู้ดีรู้ชอบสิ้นเชิง พระบริสุทธิคุณทรงละความเศร้าหมองได้หมด พระกรุณาคุณทรงสงสารผู้อื่นและสั่งสอนให้ปฏิบัติตาม ของพระพุทธเจ้า จนเห็นชัดแล้วกราบลงหน 1 ฯ ครั้งที่ 2 ว่าพระธรรมคุณ คือ สฺวากฺขาโต ภควตา ธฺมโม สนฺทิฏฐิโก อกาลิโก เอหิปสฺสิโก โอปนยิโก ปจฺ จตฺต<SUP>°</SUP> เวทิตพฺโพ วิญฺญหีติ ฯ หยุดระลึกถึงคุณพระธรรมที่รักษาผู้ปฏิบัติตามไม่ให้ตกไปในที่ชั่ว จนเห็นชัดแล้วกราบลงหน 1 ฯ ครั้งที่ 3ว่าสังฆคุณ คือ สุปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ อุชุปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสฺงโฆ ญายปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสฺงโฆ สามีจิปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสฺงโฆ ยทิทฺ จฺตตาริ ปุริสยุคานิ อฏฐ ปุริสปุคฺคลา เอส ภควโต สาวกสฺงโฆ อาหุเนยฺโย ปาหุเนฺยโย ทกฺขิเณยฺโย อญฺชลิกรณีโย อนุตฺตรฺ ปุญฺญกฺเขตตฺ โลกสฺสาติ ฯ หยุดระลึกถึงคุณ คือ ความปฏิบัติดี ปฏิบัติตรง ปฏิบัติถูก ปฏิบัติชอบของพระอริยสงฆ์ จนเห็นชัดแล้วกราบลงหน 1 ฯ นั่งพับเพียบประนมมือ ตั้งใจถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะ ไม่ถือสิ่งอื่นยิ่งกว่าจนตลอดชีวิต ว่าสรณคมน์ คือ พุทฺธ<SUP>°</SUP> สรณ<SUP>°</SUP> คจฺฉามิ ธมฺม<SUP>°</SUP> สรณ<SUP>°</SUP> คจฺฉามิ สงฺฆ<SUP>°</SUP> สรณ<SUP>°</SUP> คจฺฉามิ ฯ ทุติยมฺปิ พุทฺธ<SUP>°</SUP> สรณ<SUP>°</SUP> คจฺฉามิ ทุติยมฺปิ ธมฺม<SUP>°</SUP> สรณ<SUP>°</SUP> คจฺฉามิ ทุติยมฺปิ สงฺฆ<SUP>°</SUP> สรณ<SUP>°</SUP> คจฺฉามิ ฯ ตติยมฺปิ พุทฺธ<SUP>°</SUP> สรณ<SUP>°</SUP> คจฺฉามิ ตติยมฺปิ ธมฺม<SUP>°</SUP> สรณ<SUP>°</SUP> คจฺฉามิ ตติยมฺปิ สงฺฆ<SUP>°</SUP> สรณ<SUP>°</SUP> คจฺฉามิ ฯ ครั้งที่ 4 ระลึกถึงคุณมารดาบิดาของตน จนเห็นชัดแล้วกราบลงหน 1 ฯ ครั้งที่ 5 ระลึกถึงคุณของบรรดาท่านผู้มีอุปการคุณแก่ตน เช่น พระมหากษัตริย์ และครูบาอาจารย์เป็นต้นไป จนเห็นชัดแล้วกราบลงหน 1 ฯ <O:p</O:p
    ต่อนี้ไปไม่ต้องประนมมือ ตั้งใจพิจารณาเรื่องและร่างกายของตนว่า จะต้องแก่ หนีความแก่ไปไม่พ้น จะต้องเจ็บ หนีความเจ็บไปไม่พ้น จะต้องตาย หนีความตายไปไม่พ้น จะต้องพลัดพราก จากของรัก ของชอบใจทั้งสิ้น มีกรรมเป็นของตัว คือ ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว เป็นอนิจจัง ไม่เที่ยงไม่แน่นอน เป็นทุกข์ลำบากเดือดร้อน เป็นอนัตตา ไม่อยู่ในอำนาจบังคับบัญชาของตน ฯ ครั้นพิจารณาแล้ว พึงแผ่กุศลทั้งปวงมีการกราบไหว้เป็นต้นนี้ อุทิศให้แก่ท่านผู้มีคุณ มีบิดามารดาเป็นต้น ตลอดจนชั้นสูงสุด คือ พระมหากษัตริย์ ทั้งเทพดามนุษย์และสัตว์ทั้งหลายว่า จงเป็นสุข ๆ อย่ามีเวรมีภัยเบียดเบียนกันและกัน รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งสิ้นเถิด ฯ<O:p</O:p
    การไหว้ 5 ครั้งนี้ ถ้าวันไหนขาด ให้ไหว้ใช้หนี้ 5 ครั้งในวันรุ่งขึ้น ถ้านั่งกระโหย่งเท้าไม่ได้ ก็นั่งพับเพียบ ถ้าไม่ได้ ก็นอนไหว้ เมื่อยอมือไม่ขึ้นก็ปากกับใจ ถ้าทำได้อย่างนี้ เป็นเครื่องหยุดตนให้เป็นคนดีไม่ให้เป็นคนชั่ว และให้ตั้งอยู่ในที่ดีไม่ให้ตกไปในที่ชั่ว ถ้าผู้ใดประพฤติได้เสมอจนตลอดชีวิต ผู้นั้นจะอุ่นใจในตัวของตัวเอง มีความเจริญงอกงามไพบูลย์ยิ่งๆ ขึ้นเสมอทุกคืนทุกวัน คุ้มครองป้องกันภยันตรายปราศจากความเสียหายที่ไม่เหลือวิสัย และตั้งตัวได้ในทางคดีโลกและทางคดีธรรม เต็มภูมิเต็มชั้นของตน ฯ ทุกประการ จบเท่านี้ ฯ

    ปัจฉิมโอวาท
    ของ
    สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ ญาณวรมหาเถระ
    วัดเทพศิรินทราวาส

    ไม่ตายควาวนี้ ก็ตายคราวหน้า อย่างเศร้าโศก เสียทีที่ศึกษาปฏิบัติมา ร้องให้เศร้าโศก ก็ร้องไห้เสร้าโศกสังขารที่
    เกิดแก่เจ็บตายนั้นเอง ที่ไม่ร้องไห้เศร้าโศกนั้นมิใช่จะเป็นคนใจไม้ใส้ระกำอะไร

    ธรรมของพระก็คือ
    สพฺเพ สงฺขารา อนิจฺจา
    สพฺเพ สงฺขารา ทุกฺขา
    สพฺเพ ธมฺมา อนตฺตา
    ย่นลงก็ สพฺเพ สงฺขารา อนิจฺจา
    สพฺเพ ธมฺมา อนตฺตา แล้วปรินิพพาน
    ไม่ต้องเกิดมาแก่ มาเจ็บ มาตายอีก

    (มีบัญชาให้บันทึกไว้เมื่อเช้าวันที่ ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๙๔)
     
  8. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    วิธีการไหว้ ๕ ครั้ง ( มนต์พิธี )<O:p</O:p

    คนเราทุกคน ในวันหนึ่งๆ จะต้องไหว้ให้ได้ ๕ ครั้ง เป็นอย่างน้อยคือ ในเวลาค่ำใกล้จะนอน ตั้งใจระลึกถึงพระรัตนตรัยอันเป็นสรณะอันสูงสุดและท่านผู้มีพระคุณแก่ตน คือ มารดาบิดา และครูอาจารย์ โดยประนมมือ<O:p</O:p
    ๑. นมัสการพระอรหันต์สัมมาสัมพุทธเจ้ากล่าวว่า<O:p</O:p
    อะระหัง สัมมา สัมพุทโธ ภะคะวา พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ กราบลงหนหนึ่ง<O:p</O:p
    ๒. ไหว้พระธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้า ว่า<O:p</O:p
    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม ธัมมัง นะมัสสามิ กราบลงหนหนึ่ง<O:p</O:p
    ๓. ไหว้พระสงฆ์สาวกของพระพุทธเจ้า ว่า<O:p</O:p
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สังฆัง นะมามิ กราบลงหนหนึ่ง<O:p</O:p
    ๔. ไหว้คุณมารดาบิดา ว่า<O:p</O:p
    มัยหัง มาตาปิตูนังวะปาเท วันทามิ สาทะรัง กราบลงหนหนึ่ง<O:p</O:p
    ๕. ไหว้ครูอาจารย์ ว่า<O:p</O:p
    ปัญญาวุฑฒิกะเร เต เต ทินโน วาเท นะมามิหัง กราบลงหนหนึ่ง<O:p</O:p
    ต่อจากนั้น พึงตั้งใจแผ่เมตตาจิตไปในเพื่อนมนุษย์ และสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ว่า ขอท่านทั้งหลายอย่าได้มีเวรแก่กันและกันเลย อย่าได้เบียดเบียนซึ่งกันและกันเลย อย่าได้มีความทุกข์กายทุกข์ใจเลย จงมีความสุขกายสุขใจ รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยด้วยกันหมดทั้งสิ้น เทอญ.

    เมื่อเจ้ามา มีอะไร มาด้วยเจ้า เจ้าจะเอา แต่สุข สนุกไฉน<O:p</O:p
    เจ้ามามือเปล่า เจ้าจะ เอาอะไร เจ้าก็ไป มือเปล่า เหมือนเจ้ามา
    <O:p</O:p
    ยศและลาภ หาบไป ไม่ได้แน่ มีเพียงแต่ ต้นทุน บุญกุศล
    ทรัพย์สมบัติ ทิ้งไว้ ให้ปวงชน แม้ร่างตน เขาก็เอา ไปเผาไฟ<O:p</O:p
     
  9. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    ขอบคุณคร้าบ ที่เป็นห่วงคิดถึงล่ะซิ....อาทิตย์ก่อนผมยังกระซิบให้ท่าน ปา-ทานขายเลย ผมยังปลอดภัยไร้กังวลครับ เพียงแต่น้ำมัน 91มันแพง เพิ่งเปลี่ยนมาใช้ก๊าซโซฮอล เลยแป็กเล็กน้อย วันนี้ว่าจะกลับมาเติม91อีกครั้งเดี๋ยวตามพี่ตั้งใจไม่ทันครับ
    nongnooo...
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 13 พฤศจิกายน 2007
  10. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

    <!-- currently active users --><TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=thead>ขณะนี้มีคนกำลังดูกระทู้นี้อยู่ : 11 คน ( เป็นสมาชิก 1 คน และ บุคคลทั่วไป 10 คน ) </TD><TD class=thead width="14%"></TD></TR><TR><TD class=alt1 width="100%" colSpan=2>nongnooo </TD></TR></TBODY></TABLE>
    มีผมเป็นสมาชิกเดียวดายอีกล่ะ
     
  11. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อ้างอิง:
    ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    อ้างอิง:
    เรื่องทุนนิธิที่จะจัดตั้งขึ้นเพื่อพระสงฆ์อาพาธและเรื่องที่เกี่ยวกับศาสนกิจของพระศาสนา ในช่วยแรกจะมีพระพิมพ์มอบให้ผู้ที่ร่วมทำบุญ ส่วนเรื่องป่วน ตอนนี้ยิ่งไม่มีปัญหา ถ้ามีป่วนบอกได้เพียงอย่างเดียวว่า กรรมงานนี้เร็ว,แรงและให้ผลโดยฉับพลันและเร็วมาก เนื่องจาก......งานนี้ทั้งเบื้องบนและเบื้องล่างท่านมาโมทนาบุญในเรื่องนี้แน่นอน

    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    มีเรื่องที่จะต้องแจ้งพี่ๆ เพื่อนๆ น้องๆ เรื่องจะทำกองทุนรักษาพระอาพาธที่โรงพยาบาลสงฆ์ หากพี่ๆ เพื่อนๆ น้องๆ ท่านใดสนใจ ขอให้แจ้งให้ผมทราบด้วย ผมจะโทร.แจ้งเป็นรายท่านนะครับหรือโทร.มาหาผมก็ได้นะครับ ด่วนนะครับ มีแค่ 5 องค์เท่านั้น(ท่านละ 1 องค์)

    โมทนาสาธุครับ
    .

    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ พันวฤทธิ์ [​IMG]
    มากันเยอะ และเยอะมากด้วย กลับมาบ้านโทร.ถามพี่ใหญ่ว่า ต้องบอกท่านข้างบนไหมสำหรับการนี้ คำตอบที่ได้ไม่ต้อง ท่านรู้แล้ว แถมท่านที่มาดูระดับมหา...ทั้งนั้น คุณโสระถึงขนลุกตลอดเวลา แถมกำชับว่า งานนี้ไม่ต้องห่วงกันใครทำใครได้ คิดมากจิตจะตกจะไม่ได้บุญเต็ม

    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    มาแจ้งความคืบหน้าเรื่องที่จะจัดตั้งทุนนิธิ วันนี้ได้ไปคุยกันในเบื้องต้นแล้ว คุณ นายสติ ได้นำพระพิมพ์มามอบให้ทุกๆท่านที่จะร่วมทำบุญกันในครั้งนี้ ค่อนข้างมาก แจ้งไว้สักนิดว่า พระพิมพ์ที่มอบให้ในชุดแรกที่เริ่มตั้งทุนนิธิ ถ้าหมดแล้วจะไม่มีมามอบให้เพิ่มอีกนะครับ ต้องเร็วกันด้วยนะครับ



    <TABLE class=tborder id=post808688 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">เมื่อวานนี้, 05:46 PM <!-- / status icon and date --></TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right>#11479 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175>โสระ<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_808688", true); </SCRIPT>
    สมาชิก

    [​IMG]

    เข้ามาครั้งสุดท้ายเมื่อ: เมื่อวานนี้ 06:48 PM
    วันที่สมัคร: Sep 2005
    ข้อความ: 93 <!-- Start Post Thank You Hack -->
    ได้ให้อนุโมทนา 37 ครั้ง
    ได้รับอนุโมทนา 868 ครั้ง ใน 86 โพส <!-- End Post Thank You Hack -->
    พลังการให้คะแนน: 123 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]



    </TD><TD class=alt1 id=td_post_808688 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- icon and title -->ตัวอย่างกรุวัดประยูรที่จะนำมาให้ร่วมทำบุญเข้ากองทุนสงฆ์อาพาธ
    <HR style="COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- / icon and title --><!-- message -->เป็นพระที่นายสติจะนำมาให้ร่วมทำบุญกันครับนำตัวอย่างมาให้ชมกันก่อนอดใจรอ ได้ขอดีไว้บูชาได้บุญด้วย งานนี้ไม่มีหักค่าใช้จ่าย ทำบุญ100%โปร่งใสตรวจสอบได้ สบายใจทุกๆฝ่ายครับ

    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    พระพิมพ์ที่จะนำมามอบให้ทุกๆท่านที่ร่วมทำบุญเรื่องสงฆ์อาพาทและศาสนกิจอื่นๆนั้น มีทั้งพระกรุพระธาตุพนม ,พระกรุวัดประยูรและวัดโพธิ์ ,พระสมเด็จเจ้าคุณกรมท่าคะแนนร้อย(ซึ่งไม่จำเป็นต้องไปหาพระสมเด็จวัดระฆัง ,วัดบางขุนพรหม ,วัดไชโย(ไม่ใช่วัดเกษไชโย วัดนี้ไม่มีในสารบบวัดของประเทศไทย) ) พระวังหน้าอื่นๆ ,พระเกจิในปัจจุบัน ฯลฯ

    เมื่อเปิดกระทู้แจ้งรายละเอียดของบัญชีและพระพิมพ์ที่จะมอบให้แล้ว ผมคิดว่าท่านใดจองเร็วก็ได้ไปครับ รายละเอียดจะมีหลายๆท่านเข้ามาแจ้งให้ทราบกันเป็นระยะครับ


    .
     
  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.komchadluek.net/column/pra/2006/01/03/02.php



    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=778 align=center border=0><TBODY><TR vAlign=top bgColor=#ffffff><TD>
    ปีนี้ พ.ศ.๒๕๔๙ จริงหรือ?

    <CENTER>[​IMG]</CENTER>
    "ความไม่ตรงกันของข้างขึ้นข้างแรม ระหว่างปฏิทินหลวงและปฏิทินโหร ที่เกิดขึ้นช่วงปี ๒๕๔๘-๒๕๔๙" เป็นข้อถกเถียงของนักคำนวณปฏิทินที่ยังหาข้อสรุปไม่ ต่างฝ่ายก็ต่างยึดว่าตัวเองถูกโดยยกข้ออ้างต่างๆ นานา ผลสรุปออกมาก็ คือ "ปี ๒๕๔๙ นี้ ปฏิทินทั้งสองสำนักยังแตกต่างกัน จนกว่าจะถึงวันจันทร์ที่ ๒๖ มิถุนายน ข้างขึ้นข้างแรมถึงจะตรงกัน"
    ขณะเดียวกันมีสิ่งที่น่าสนใจไม่น้อยยิ่งกว่ากัน คือ "การนับและการใช้ พ.ศ.ของประเทศที่นับถือพุทธศาสนา" ซึ่งทั้งโลก มีประเทศไทยเพียงประเทศเดียวที่ปีนี้ คือ พ.ศ.๒๕๔๙ และใช้อย่างเป็นทางการ ส่วนประเทศที่นับถือพุทธศาสนาอื่นๆ เช่น ศรีลังกา พม่า ตรงกับ พ.ศ. ๒๔๕๐ การนับ พ.ศ. จนมีการตั้งคำถามว่า "ปีนี้ พ.ศ.๒๕๔๙ จริงหรือ?"
    การนับ พ.ศ. ของชาวพุทธนั้นนับตามปีที่พระพุทธเจ้าดับขันธ์ปรินิพพาน (ตาย) คือ ปีที่พระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธ์ปรินิพพานนับเป็นปีที่ ๑ ซึ่งเป็นวิธีการนับปีแบบเดียวกับที่ใช้กันในศาสนาเชนที่เริ่มต้นนับปีที่พระศาสดามหาวีระ หรือนิครนถ์ นาฏบุตร เสด็จเข้าสู่เกวลินเช่นเดียวกัน (คือ ตาย ซึ่งในศาสนาเชน
     
  13. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://th.wikipedia.org/wiki/หลักการเทียบศักราช

    หลักการเทียบศักราช

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี


    ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา
    <!-- start content --><TABLE class=noprint style="BORDER-RIGHT: #aaa 1px solid; BORDER-TOP: #aaa 1px solid; BACKGROUND: #fbfbfb; MARGIN: 0px auto; BORDER-LEFT: #f4c430 10px solid; WIDTH: 80%; BORDER-BOTTOM: #aaa 1px solid; BORDER-COLLAPSE: collapse"><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0.5em; PADDING-LEFT: 0.5em; PADDING-BOTTOM: 0.25em; PADDING-TOP: 0.25em" vAlign=center width=60>[​IMG]</TD><TD style="COLOR: #333333">บทความนี้ต้องการเก็บกวาด ตรวจสอบ ปรับปรุง แก้ไขรูปแบบ เพิ่มแหล่งอ้างอิง ใส่หมวดหมู่ ใส่ลิงก์ภายใน หรือภาษาที่ใช้
    ในส่วนใดส่วนหนึ่งหรือหลายส่วนด้วยกัน เพื่อให้ได้ตามมาตรฐานวิกิพีเดียไทย
    คุณสามารถช่วยแก้ไขได้ โดยการตรวจสอบและปรับปรุงบทความนี้
    <SMALL>กรุณาเปลี่ยนไปใช้ป้ายข้อความอื่น เพื่อระบุสิ่งที่ต้องการตรวจสอบ หรือแก้ไข
    ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ วิธีแก้ไขหน้าพื้นฐาน คู่มือการเขียน และ นโยบายวิกิพีเดีย เมื่อบทความนี้ได้รับการแก้ไขตามนโยบายแล้ว ให้นำป้ายนี้ออก</SMALL></TD></TR></TBODY></TABLE>
    [แก้] การทำให้ศักราชอื่นๆเป็นพุทธศักราช

    ม.ศ. + 621 = พ.ศ.
    จ.ศ. + 1181 = พ.ศ.
    ร.ศ. + 2325 = พ.ศ.
    ค.ศ. + 543 = พ.ศ.
    ฮ.ศ. + 1122 = พ.ศ.



    [แก้] การทำให้พุทธศักราชเป็นศักราชอื่นๆ

    พ.ศ. - 621 = ม.ศ.
    พ.ศ. - 1181 = จ.ศ.
    พ.ศ. - 2325 = ร.ศ.
    พ.ศ. - 543 = ค.ศ.
    พ.ศ. - 1122 = ฮ.ศ.
    <!-- Pre-expand include size: 5411 bytesPost-expand include size: 6754 bytesTemplate argument size: 2888 bytesMaximum: 2048000 bytes--><!-- Saved in parser cache with key thwiki:pcache:idhash:54984-0!1!0!!th!2 and timestamp 20071113054312 -->ดึงข้อมูลจาก "http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%9A%E0%B8%A8%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A".
    หมวดหมู่: หน้าที่ต้องการความช่วยเหลือ
     
  14. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ปีใหม่

    จาก วิกิซอร์ซ


    ข้ามไปที่: นำทาง, ค้นหา
    <!-- start content -->ปีใหม่ โดย...พระมหาทองสมุทร ธมฺมาทโร..........................................
    [[ปีใหม่” ก็คือช่วงระยะเวลาที่ชาวโลกสมมุติให้เป็นปีที่เริ่มต้นศักราชใหม่นั่นเอง
      • *******************************************
    ศักราชนั้น มีอธิบายไว้ดังนี้
    ศักรา ช คือ..ช่วงเวลาที่จัดตั้งขึ้นตามการอ้างอิงของช่วงเวลานั้น โดยแบ่งได้ตามการอ้างอิงหรือการเรียก พุทธศักราช (พ.ศ.) - เริ่มนับเมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธ์ปรินิพพาน เมื่อวันเพ็ญ เดือน 6 ปีจอ นิยมใช้ในประเทศที่นับถือพุทธศาสนา โดยเฉพาะไทย และศรีลังกา คริสต์ศักราช (ค.ศ.) - เริ่มนับตั้งแต่ พ.ศ. 543 โดยนับปีที่พระเยซูคริสต์ประสูติ เป็น ค.ศ. 1 นิยมใช้ในประเทศที่นับถือศาสนาคริสต์และใช้เป็นปีอ้างอิงสากล
    มหาศักราช (ม.ศ.) - เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 621 พระเจ้ากนิษกะของอินเดียทรงตั้งขึ้น ใช้ในศิลาจารึกและเอกสารประวัติศาสตร์ข องไทยบ้าง แต่น้อยกว่าจุลศักราช
    ฮิจญ์เราะหฺศักราช (ฮ.ศ.) - เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 1165 เมื่อปีที่ท่านนบีมุฮัมมัดอพยพจากเมืองเมกกะ (มักกะหฺ) ไปยังเมืองเมดินา (มะดินะหฺ)นิยมใช้ในประเทศที่นับถือศาสนาอิสลาม
    จุลศักราช (จ.ศ.) - เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 1181 ปี โดยนับเอาวันที่พระพม่า นามว่า "บุพโสระหัน" สึกออกมาเพื่อชิงราชบัลลังก์ นิยมใช้ในเอกสารประวัติศาสตร์ของไทยเรื่อยมาจนถึงรัตนโกสินทร์
    รัตนโกสินทรศก (ร.ศ.) - เริ่มใช้ในรัชกาลที่ 5 โดย "เริ่มนับ" ตั้งแต่ พ.ศ. 2325 อันเป็นปีที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกทรงสร้างกรุงเทพมหานคร(เ ลิกใช้ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว)
    ศักราชจุฬามณี (ศักราชกฎหมาย) พุทธศักราช (พ.ศ.) - เริ่มนับเมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธ์ปรินิพพาน เมื่อวันเพ็ญ เดือน 6 ปีจอ นิยมใช้ในประเทศที่นับถือพุทธศาสนา โดยเฉพาะไทย และศรีลังกา
    คริสต์ศักราช (ค.ศ.) - เริ่มนับตั้งแต่ พ.ศ. 543 โดยนับปีที่พระเยซูคริสต์ประสูติ เป็น ค.ศ. 1 นิยมใช้ในประเทศที่นับถือศาสนาคริสต์และใช้เป็นปีอ้างอิงสากล
    มหาศักราช (ม.ศ.) - เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 621 พระเจ้ากนิษกะของอินเดียทรงตั้งขึ้น ใช้ในศิลาจารึกและเอกสารประวัติศาสตร์ข องไทยบ้าง แต่น้อยกว่าจุลศักราช
    ฮิจญ์เราะหฺศักราช (ฮ.ศ.) - เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 1165 เมื่อปีที่ท่านนบีมุฮัมมัดอพยพจากเมืองเมกกะ (มักกะหฺ) ไปยังเมืองเมดินา (มะดินะหฺ)นิยมใช้ในประเทศที่นับถือศาสนาอิสลาม
    จุลศักราช (จ.ศ.) - เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 1181 ปี โดยนับเอาวันที่พระพม่า นามว่า "บุพโสระหัน" สึกออกมาเพื่อชิงราชบัลลังก์ นิยมใช้ในเอกสารประวัติศาสตร์ของไทยเรื่อยมาจนถึงรัตนโกสินทร์ รัตนโกสินทรศก (ร.ศ.) - เริ่มใช้ในรัชกาลที่ 5 โดย "เริ่มนับ" ตั้งแต่ พ.ศ. 2325 อันเป็นปีที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกทรงสร้างกรุงเทพมหานคร(เ ลิกใช้ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว)
    ศักราชจุฬามณี (ศักราชกฎหมาย) ศักราชทุกชนิดไม่มีศักราช0 เช่นก่อนค.ศ. 1 คือ 1ปีก่อนคริสตกาล เป็นต้น ปีใหม่ของแต่ละที่แต่ละประเทศนั้นอาจจะไม่ตรงกัน แต่ปีใหม่ที่เป ็นสากลโลกที่ชาวโลกสมมติให้เป็นปีใหม่นั้นก็คือ “วันที่ 1 มกราคม” จัดว่าเป็นปีใหม่สากลโลก ความหมายของคำว่า"ปีเก่า" ปีเก่า ก็คือระยะเวลาที่ชาวโลกสมมุติ และเข้าใจกัน โดยตกลงร่วมกันว่าระยะเท่านี้เป็นปีเก่า,หรือเป็นช่วงเวลาที่ผ่านไปแล้ว เก่าและใหม่เป็นการสมมติกันขึ้น แต่จริงๆแล้วเวลาไม่มีเก่าและใหม่ ไม่ส่งมันก็ไป ไม่ต้อนรับมันก็มา

    ความหมายของกาลเวลา กาลหรือเวลา คือคำที่ชาวโลกสมมติ เรียกสภาพที่ดำเนินไปอย่างต่อเนื่อง ไม่มีที่สิ้นสุด(อันนี้เป็นความหมายที่ เป็นปรมัตถธรรม หรือสัจจบัญญัติ) หรือเป็นคำที่ชาวโลกสมมุติเรียกช่วงใดช่วงหนึ่ง หรือจุดใดจุดหนึ่งที่เกิดขึ้นในอดีต ที่กำลังเป็นอยู่ในปัจจุบัน และที่ยังไม่เกิดขึ้นในอนาคต เพื่อสื่อกันได้ เพื่อได้รับประโยชน์ร่วมกัน เช่น วันที่ 1 มกราคม ของทุกปี เป็นวันปีใหม่ของสากลโลก เป็นต้น กาลเวลาในความหมายนี้เรียกว่าสมมุติบัญญัติ
    ความหมายของคำว่า”นาฬิกา” แต่กาลเวลานั้น มนุษย์เราจะไม่สามารถรู้ได้เลยว่าผ่านไปเท่าไรแล้ว หากขาดการกระทำของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ เช่น สมัยก่อนต้องการจะให้รู้ว่าเวลาล่วงไปนานเท่าใดแล้ว เขาก็จะใช้ “กะลามะพร้าวเจาะรู แล้วลอยน้ำไว้” เมื่อกะลามะพร้าวจมน้ำเมื่อไรแล้ว ก็เป็นอันเข้าใจว่านี่คือสัญลักษณ์ของเวลาว่าพอแล้ว หรือจบแล้ว เป็นต้น แต่ในปัจจุบันนี้ โลกเจริญแล้ว มนุษย์สามารถทำสัญลักษณ์เพื่อให้รู้เวลาได้ดีกว่านั้นแล้ว นั่นก็คือ “นาฬิกา” เพื่อบอกเวลา ซึ่งเป็นสิ่งบอกเวลาที่ชาวโลกนิยมใช้กันมากที่สุด และคำว่า “นาฬิกา” นั้น ก็แปลได้ว่า “มะพร้าว” ซึ่งก็ใช้ชื่อของมะพร้าวที่ใช้ลอยน้ำในสมัยก่อนนั่นแหละ มาเป็นชื่อเจ้าตัวบอกเวลาตัวนี้ที่เราใช้กันอยู่ในปัจจุบัน เพราะฉะนั้นหากใครถามว่า”นาฬิกา”แปลว่าอะไรก็สามารถตอบได้เลยว่า”แปลว่า มะพร้าว”แต่ถ้าเป็นประเทศอื่นไม่รู้เขาแปลว่าอย่างไรไม่รู้นะ ความหมายของคำว่า"กาลหรือเวลา" ถ้าจะถามถึงรากศัพท์ของคำว่า”กาลหร ือเวลานั้น” ก็คงได้มาจากรากศัพท์คือ”กร (อ่านว่ากะระ) ซึ่งแปลว่า“กระทำ” หรือ”ผู้กระทำ” หมายถึงการเวลาจะรู้ได้ต้องมีสิ่งกระทำ เช่น นาฬิกากระทำการเดิน ดวงอาทิตย์ โลก และดวงจันทร์กระทำการหมุน เป็นต้น กาลเวลา หมุนเวียน เปลี่ยนแปลผัน คืนและวัน ลาหลับ ดับเลือนหาย กาลเวลา ผลาญสัตว์ ซัดให้ตาย ต้องมลาย ตายสิ้น ทุกอินทรีย์ กาลเวลาเ ปรียบเหมือนยักษ์กินคน ค นโบราณเปรียบกาลเวลาเหมือนยักษ์ มีตา ๒ ข้าง มีปาก ๑๒ ปาก มีฟัน ๓๐หรือ ๓๑ ซี่ กัดกินสรรพสัตว์ให้ตายไป เกิดมาแล้วเท่าไร ก็ตายเท่านั้น ตา ๒ ข้าง ก็หมายถึง ข้างขึ้น ข้างแรม ส่วนปาก ๑๒ ปากก็หมายถึง ๑๒ เดือน ส่วนฟันก็หมายถึง จำนวนวันแต่ละวัน ส่วนตัวยักษ์ก็หมายถึงปี หรือกาลเวลา ที่นอกจากจะกลืนตัวมันเองแล้ว มันยังเที่ยวกลืนกินสรรพสัตว์ สรรพวัตถุ ทำให้สรรพสัตว์และสรรพวัตถุ สะสารพลังงาน ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเป็น ทุกขลักษณะ อนิจจลักษณะ และอนัตตลักษณะ และตาย แตกสลายไปในที่สุด อยู่กับกาลเวลาอย่างมีความสุขได้อย่างไร? เมื่อเรารู้แล้วว่ากาลเวลาเปร ียบเหมือนยักษ์ที่คอยกลืนกินชีวิตของเราอยู่ทุกวัน ยากที่จะรู้ว่ามันกัดกิน เราตอนไหนแล้ว แล้วเราจะเตรียมตัวก่อนแก่ เจ็บ ตาย ได้อย่างไร ตรงนี้แหละที่สำคัญ ๑. อันดับแรกต้องเข้าใจธรรมนิยาม อะไรจะเกิดหรือแตกสลายไป เปลี่ยนแปลงไปก็ด้วยเหตุปัจจัยที่ทำให้เปลี่ยนไป หากเราจะแก่ก็แก่เพราะว่ามีเหตุมีปัจจัย ทำให้แก่และเป็นธรรมดาของสังขาร ต้องรับให้ได้ หากเราจะเจ็บ ก็จะเจ็บเพราะมีเหตุมีปัจจัยทำให้เจ็บและเป็นธรรมดาของสังขารจะต้องมีจะต้อ งเป็น และหากเราจะตาย ก็ต้องตายด้วยมีเหตุมีปัจจัยทำให้ตายและต้องเป็นไปตามธรรมชาติ ธรรมดาของสังขาร จะต้องเป็นแบบนี้ ต้องทำใจยอมรับธรรมชาติ ธรรมดาของสังขารได้ก่อน แล้วก็จะสบายใจ เมื่อสิ่งเหล่านี้เกิดขึ้นก็ให้รับรู้และดูมันอย่างผู้ที่เข้าใจ ไม่ตีโพยตีภาย ไม่ดิ้นรนขัดขื่น เพราะสิ่งเหล่านี้เป็นปริญเญยยธรรม คือเป็นสิ่งที่เราจะต้องกำหนดรู้อย่างผู้มี่เข้าใจ เพราะถ้าทำใจไม่ได้อย่างนี้แล้ว ก็จะรับไม่ได้ ก็จะดิ้นรน ก็จะทุกข์ใจ วุ่นวาย เมื่อชรตา ความแก่มาเยือนอันเป็นผลมาจากกาลเวลา อันเป็นผลมาจากเจอปีใหม่บ่อยๆ ก็คงต้องทำใจแบบนี้ก่อนเบื้องต้น ในส่วนของความเจ็บและความตายก็ต้องทำใจเหมือนกับการทำใจกับชรตานั่นแหละ ถ้าเราทำใจอย่างนี้ได้ เราก็จะอยู่กับกาลเวลาได้อย่างผู้ที่องอาจ และสง่างามในที่ทุกสถานในกาลทุกเมื่อ ๒. เมื่อรู้ว่าในที่สุดแล้วกาลเวลาก็จะต้องทำให้เราตาย เกิดความพรัดพรากกัน สิ่งที่จะต้องทำต่อไปคือ ๒.๑ เตรียมเสบียงการเดินทางที่จะนำไปใช้ในภพหน้า คือจะต้องมีการทำบุญ นั่นก็คือ ถวายสังฆทาน นั่งสมาธิ เจริญจิตภาวนา และทำสาธารณกุศล สาธารณประโยชน์แก่สังคม บ้างหากมีเวลา เพราะว่าถ้ามีเสบียงบุญตรงนี้แล้ว ก็จะทำให้มีความสุขทั้งในปัจจุบันและมีความสุขในอนาคต คือชาตินี้และชาติหน้าเลยทีเดียว ๒.๒ เมื่อรู้ว่ากาลเวลามันมีผลทำให้เราแก่ เจ็บ และจะต้องตาย แล้วอย่างแน่นอนอย่างนี้แล้ว สิ่งใดที่จะทำให้คนไม่เกลียดเราเวลาเราแก่อัปลักษณ์ สิ่งใดที่จะทำให้คนไปเยี่ยมเราเวลาเราไม่สบาย และสิ่งใดที่จะทำให้คนรักเราไปร่วมงานศพเรา ไปทำบุญให้เรา ก็ควรทำสิ่งนั้น นั่นก็คือ ต้องมีน้ำใจแก่กันและกัน ญาติสนิท มิตรสหาย ต้องมีน้ำใจ เอื้ออาทรต่อกัน ยิ้มแย้มแจ่มใส ไม่เป็นคนคิดมาก หน้างอ ต้องให้อภัยกัน ให้เกียรติกัน ยอมรับการตัดสินใจของกันและกัน เคารพในการกระทำ การตัดสินใจของบุคคลอื่น และในที่สุดของชีวิตก็ให้อภัยกัน โดยใช้หลักของเมตตา เชื่อมยึด เป็นสายใจแห่งความรักกันความผูกพันกันต่อไป นี่คือสิ่งที่ผู้เห็นภัยในชีวิต ควรกระทำต่อตัวเองและต่อสังคม หากทำได้แ ล้วก็จะนำมาซึ่งประโยชน์มหาศาลและตัวเองและคนอื่นและเป็นประโยชน์แก่ชาติ ศาสนาต่อไป หากทำได้อย่างที่ว่ามา พระพุทธเจ้าตรัสเรียกว่า “ผู้ไม่ประมาท” คือ ไม่ประมาทในชีวิต ไม่ประมาทในวัย ไม่ประมาทในความไม่มีโรคไม่มีภั ย ไม่ประมาทในบุญกุศล คุณงามความดีต่างๆ เนื่องในวันส่งท้ายปีเก่า ต้อนรับปีใหม่นี้ ปีใหม่ปีนี้ ขอให้ผู้อ่านทุกท่านจงทำต้วให้เป็นของขวัญชิ้นดีแก่กันและกัน นี่คือของขวัญที่เยี่ยมยอดแล้ว]]

    พระมหาทองสมุทร ธมฺมาทโร พระธรรมทูตสายต่างประเทศ รุ่นที่ สื่อ:๑๒ http://www.missionarymonks.com</PRE><!-- Saved in parser cache with key thwikisource:pcache:idhash:10102-0!1!0!!th!2 and timestamp 20071113045118 -->รับข้อมูลจาก "http://th.wikisource.org/wiki/%E0%B8%9B%E0%B8%B5%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B9%88"
    <!-- end content -->
     
  15. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.blogth.com/blog/China/Chinese/5644.html


    การนับสมัยเริ่มต้นพุทธศักราชและเริ่มคริสต์ศักราช/การนับศตวรรษ/มหาศักราชและจุลศักราช
    เพิ่มที่มา"จุลศักราช"

    คอลัมน์รู้ไปโม้ด โดยน้าชาติ ประชาชื่น


    [COLOR=#00000]<TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width="20%" align=right bgColor=#f0f5f5 border=0 valign="top"><TBODY><TR><TD align=left>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>อยากทราบการนับสมัยเริ่มคริสต์ศักราช และสมัยเริ่มต้นพุทธศักราช

    ตอบ การนับพุทธศักราช เริ่มตั้งแต่พระพุทธเจ้าปรินิพพาน เป็นปี พ.ศ.1 ดังนั้นเรื่องราวที่เกิดขึ้นก่อนจะมีพุทธศักราชก็คือสมัยพุทธกาล ซึ่งพระพุทธเจ้าทรงมีชีวิตอยู่ ซึ่งก็กินเวลานาน 80 ปี และถ้าย้อนไปก่อนหน้านี้ 80 ปี ที่ว่านี้ก็หมายถึงสมัยก่อนพุทธกาล

    สำหรับคริสต์ศักราช เริ่มขึ้นตั้งแต่พระเยซูประสูติ เป็น ค.ศ.1 ซึ่งห่างจากพุทธศักราชนาน 543 ปี ดังนั้นเวลาเราจะคำนวณ ค.ศ. เป็น พ.ศ. ให้บวก 543 เช่น ปีนี้ค.ศ.1998 ให้บวก 543 จะเท่ากับ พ.ศ.2541

    ศตวรรษหมายถึงช่วง 100 ปี เช่น ตอนนี้เป็นช่วงศตวรรษที่ 20 หมายถึงช่วงเวลาตั้งแต่ ค.ศ.1899-1999 พอถึง ค.ศ.2000 เมื่อไหร่จะเป็นศตวรรษที่ 21 ทันที

    ไหนๆก็พูดถึงช่วงเวลาแล้ว บอกเพิ่มเติมอีกนิดว่า จะมีมหาศักราช และจุลศักราชด้วย โดยมหาศักราชนั้นกษัตริย์ของอินเดียพระองค์หนึ่งทรงตั้งขึ้น อาศัยการคำนวณเดือนตามสุริยคติ โดยขึ้นปีใหม่ เมื่อเข้าสู่ราศีเมษ ที่เรียกว่าเถลิงศกวันสงกรานต์ เวลาคำนวณมหาศักราชเป็น พ.ศ. ให้บวก 621

    ส่วนจุลศักราชหรือศักราชน้อยบัญญัติขึ้นโดยกษัตริย์พม่าพระองค์หนึ่ง มีวิธีการคำนวณตามจันทรคติ โดยขึ้นปีใหม่ในเดือน 5 ขึ้น 1 ค่ำ เวลาคำนวนให้เป็นพ.ศ. ให้บวก 1,181 จุลศักราชใช้หลัง ร.ศ. รัตนโกสินทร์ศก และใช้ก่อนที่ไทยจะเปลี่ยนมาใช้ พ.ศ. หรือพุทธศักราชในสมัยรัชกาลที่ 6

    เพิ่มเติมประวัติความเป็นมาของการใช้ "จุลศักราช"

    ผมอยากทราบว่าประวัติความเป็นมาของการใช้ "จุลศักราช" มีที่มาอย่างไรครับ กรุณาให้ความรู้เป็นวิทยาทาหน่อยครับ/watt

    ตอบเอกสารโบราณของไทยจำนวนไม่น้อย เช่น พงศาวดาร ประกาศ ตำราต่างๆ อ้างเวลาโดยใช้จุลศักราช ควบคู่กับปีนักษัตร(อาทิ แรม 6 ค่ำ เดือน 3 ปีฉลู สัปตศก จุลศักราช 927) จุลศักราชเป็นศักราชอันกำเนิดจากดินแดนที่ปัจจุบันเป็นประเทศพม่า

    พจนานุกรรมฉบับมติชน พ.ศ.2547 อธิบายศัพท์ "จุลศักราช" ใช้ชื่อย่อ จ.ศ. หมายถึงศักราชซึ่งตั้งขึ้นภายหลังเมื่อ "พุทธศักราช" (พ.ศ.) ล่วงแล้วได้ 1181 ปี น้อยกว่า "มหาศักราช" (ม.ศ.) 199 ปี (มหาศักราชมีกำหนดแรกบัญญัตินับแต่วันพระพุทธเจ้านิพพานแล้ว 621 ปี เป็นศักราชที่แพร่หลายเข้ามาใช้ในเมืองไทยก่อนศักราชอื่น (ประมาณว่าตั้งแต่เริ่มมีการจารึกหนังสือไทย ใช้มหาศักราชเป็นส่วนใหญ่) จุลศักราชมีจุดเปลี่ยนตอนมหาสงกรานต์

    เกี่ยวกับกำเนิด จุลศักราช มีข้อสันนิษฐานหลายทาง ทางหนึ่งเล่าเรื่องว่า "สังฆราชบุพโสระหัน" สึกจากสมณเพศมาช่วงชิงราชบัลลังก์เป็นกษัตริย์ลำดับที่ 19 ในราชวงศ์สมุทฤทธิ์ และตั้งศักราชขององค์เองขึ้นโดยบัญญัติ "จุลศักราช" เป็นการนับเดือนปีแบบจันทรคติ โดยถือเอาวันขึ้น 1 ค่ำ เดือน 4 เป็นวันขึ้นปีใหม่

    พร้อมกันนั้นไทยก็รับจุลศักราชมาใช้ด้วย กระทั่งถึงรัชกาลพระบาทเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเห็นว่าไทยควรใช้ศักราชแบบไทยจะเหมาะสมกว่า ทรงออกพระราชบัญญัติให้นับศักราชแบบใหม่ คือ "รัตนโกสินทรศก" (ร.ศ.) โดยปรากฏในประกาศ "ให้ใช้วันอย่างใหม่"

    ศักราชที่เคยใช้มาก่อนทั้งมวลเป็นอันงดใช้ ให้ใช้ "รัตนโกสินทรศก" เว้นแต่ในทางพระพุทธศาสนา คงใช้ พุทธศักราช เท่านั้น แต่การลงศักราชเป็นรัตนโกสินทรศก กระทำอยู่ได้ไม่นานนัก ปรากฏว่าตั้งแต่ พ.ศ.2454 เป็นต้นมา หนังสือราชการและสิ่งพิมพ์ต่างๆ หันมาใช้ พุทธศักราช ตราบทุกวันนี้

    ความเป็นมาของจุลศักราชอีกด้านหนึ่งเป็นข้อสันนิษฐานของ ดร.วินัย พงษ์ศรีเพียร ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ มหาลัยศิลปากร ซึ่งเขียนไว้ในหนังสือ "วันวาร กาลเวลา แลนานาศักราช" จัดพิมพ์โดยกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 หน้า 67-69 ความว่า จุลศักราชน่าจะตั้งในปีที่พระเจ้าสูริยวิกรม กษัตริย์พะยู่ ขึ้นครองราชย์เมื่อ พ.ศ.1181 ซึ่งปีที่ตั้งนั้นอาณาจักรพุกามยังไม่เกิด

    ต่อมาเมื่อพวกพม่าอพยพจากทิเบตเข้าไปในดินแดนนี้ จึงรับศักราชนี้ไปใช้ เลยเกิดความเชื่อกันว่าเป็นศักราชของชาวพม่า แล้วเข้าใจผิดกันไปใหญ่ว่าตั้งขึ้นในสมัยของพระเจ้าอนุรุทธมหาราช จุลศักราชถูกนำมาใช้แพร่หลายทั้งในอาณาจักรล้านนา อาณาจักรสุโขทัย และอาณาจักรอยุธยา


    การคำนวณปีพุทธศักราช จากจุลศักราช ปฏิทินไทยให้ใช้ปีจุลศักราช บวก 1181 ก็จะได้ปีพุทธศักราช

    [/COLOR]
     
  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.thaistudy.chula.ac.th/its_pinitthai/phpPrint.php?qID=30

    :: พินิจไทย ::

    " ปฏิทินไทยปัจจุบัน "

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=2 width="90%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=Tahoma13 vAlign=top><DD>เดือนมกราคมเป็นเดือนขึ้นปีใหม่ เป็นเดือนแห่งการเปลี่ยนแปลงในหลายสิ่งหลายอย่างในชีวิต ที่แน่นอนที่สุดคือเราต้องเปลี่ยนปฏิทินใหม่ ชุดเก่าต้องทิ้งไปเพราะล้าสมัยใช้ไม่ได้แล้ว ปี 2545 นี้ผู้เขียนได้รับแจกปฏิทินมากพอสมควร ทั้งๆที่หลายหน่วยงานพยายามตัดงบประมาณไม่ทำปฏิทินแจก นอกจากนั้น ผู้เขียนยังได้ซื้อปฏิทินเองอีกด้วยเพราะต้องการรูปแบบเฉพาะบางอย่างที่ยังไม่มี

    <DD>พูดถึงรูปแบบของปฏิทินไทยในปัจจุบัน เราจะเห็นความหลากหลายมากพอสมควร ซึ่งเกิดจากความสร้างสรรค์ของคนไทย แบบที่พบมากที่สุดคือแบบแขวนซึ่งมีขนาดแตกต่างกันไป ปฏิทิน 1 หน้าแทน 1 เดือน หรือ 2 เดือน แบบที่เป็นที่นิยมรองลงมาคือปฏิทินแบบตั้งโต๊ะขนาดประมาณ 6 X 8 นิ้ว เป็นที่นิยมมากในหมู่คนทำงานในสำนักงานเพราะใช้ง่าย ไม่เกะกะ ย้ายที่ได้ง่าย บางคนใช้เป็นบันทึกประจำวันด้วย นอกจากนั้นยังมีปฏิทินประจำวัน แบบแผ่นเล็กๆ 1 แผ่นแทน 1 วัน ขนาดประมาณ 2 1/2 X 3 1/2 นิ้ว ซึ่งหายากมากในปัจจุบัน เพราะไม่เป็นที่นิยมเนื่องจากต้องฉีกทุกวัน ดูยาก และไม่ค่อยสวยงาม

    <DD>นอกจากนั้น ยังมีสมุดอนุทิน (diary) หลายประเภท มีขนาดเล็กใหญ่ หนาบางต่างกันไป และมีเนื้อที่ว่างให้เขียนบันทึกหรือใช้ในการจดการนัดหมายสำหรับผู้บริหาร หลายคนถือว่าสมุดอนุทินเหล่านี้เป็นปฏิทินด้วย เพราะทำหน้าที่บอกวันเดือนปีเหมือนกัน

    <DD>นอกจากขนาดและรูปทรงแล้ว รูปภาพในปฏิทินก็เป็นสิ่งสำคัญและดึงดูดความสนใจอย่างมาก รูปภาพที่เป็นที่นิยมคือพระบรมฉายาลักษณ์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ภาพพระพุทธรูป ภาพที่เกี่ยวกับไทย เช่นการแต่งกายแบบไทย สถานที่สวยงามของเมืองไทย สัตว์ไทย ดอกไม้ไทย ฯลฯ

    <DD>ไม่ว่ารูปแบบของปฏิทินไทยจะเป็นอย่างไรก็ตาม ปฏิทินไทยมักมีเนื้อหาอย่างเดียวกัน คือบอกวัน เดือน ปี ที่ถูกต้อง การบอกวันคือระบุว่าวันที่เท่าใด (เช่นวันที่ 1, 2, 3 ฯลฯ) ตรงกับวันอะไร (ได้แก่ อาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัสบดี ศุกร์ และเสาร์) ของแต่ละเดือน ปฏิทินบางฉบับ (มีน้อยมาก)ให้ข้อมูลวันแบบไทยดั้งเดิมด้วยคือระบุว่าเป็นวันขึ้นกี่ค่ำแรมกี่ค่ำ ส่วนการบอกเดือน ก็ระบุว่าเป็นเดือนชื่ออะไร (เช่น มกราคม พฤษภาคม สิงหาคม ฯลฯ) บางฉบับระบุด้วยว่าเป็นเดือนอะไรแบบไทยดั้งเดิม เช่นเดือน 2 เดือน 5 เดือน 9 เป็นต้น ส่วนการบอกปี นั้น ปฏิทินไทยแทบทั้งหมดระบุทั้งพุทธศักราชและคริสตศักราชไว้คู่กัน เช่น 2545 / 2002 มีบางฉบับระบุชื่อปีแบบไทยดั้งเดิมด้วยคือชื่อปีนักษัตร เช่น ปีมะเมีย ปีวอก ปีระกา เป็นต้น

    <DD>ปฏิทินไทยแบบที่ใช้กันในปัจจุบัน ไม่เหมือนปฏิทินไทยดั้งเดิม แต่เดิมมาคนไทยนับวันเดือนปีตามจันทรคติ ส่วนปฏิทินไทยปัจจุบันนับวันเดือนปีตามสุริยคติ ซึ่งเป็นปฏิทินที่ตามระบบปฏิทินกรีกอเรียน (Gregorian calendar) กว่าจะมาเป็นปฏิทินเช่นปัจจุบัน ปฏิทินไทยผ่านการเปลี่ยนแปลงหลายครั้ง

    <DD>ครั้งแรกเป็นการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญมากเพราะเป็นการยกเลิกการนับวันเดือนปีแบบดั้งเดิม เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯให้ใช้วันเดือนปีแบบใหม่ โดยตราเป็นพระราชบัญญัติ ประกาศในพ.ศ. 2431 พระราชบัญญัตินี้กำหนดให้หนึ่งปีมี 12 เดือน ปีใหม่เริ่มต้นวันที่ 1 เมษายน และวันสิ้นปีคือวันที่ 31 มีนาคม การนับปีให้ใช้รัตนโกสินทร์ศก (ร.ศ.) แทนจุลศักราช (จ.ศ.) และให้เลิกใช้ปฏิทินจันทรคติยกเว้นในพระราชพิธีและศาสนา

    <DD>ต่อมา ในสมัยรัชกาลที่ 6 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระบรมราชโองการให้ใช้พุทธศักราช (พ.ศ.) แทนรัตนโกสินทร์ศก (ร.ศ.) ในราชการทั่วไป ประกาศเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2455

    <DD>ปฏิทินไทยเริ่มนับวันที่ 1 มกราคมเป็นวันขึ้นปีใหม่ ในปี พ.ศ. 2484 สืบเนื่องจากพระราชบัญญัติที่ประกาศใช้ในปี พ.ศ. 2483 โดยรัฐบาลภายใต้จอมพลแปลก พิบูลสงคราม ซึ่งทำให้ปี พ.ศ. 2483 มีเดือนเพียง 9 เดือน (1 เมษายน-31 ธันวาคม 2483) และตั้งแต่ปี พ.ศ. 2484 เป็นต้นมาเดือนมกราคมจึงเป็นเดือนที่ 1 ของปฏิทินไทยสมัยใหม่

    <DD>เป็นที่น่าสังเกตว่าแม้แต่ปีนักษัตรของไทย (เช่น ปีชวด ปีฉลู ปีขาล ฯลฯ) ซึ่งเดิมเริ่มวันที่ 1 เมษายน ถึง วันที่ 31 มีนาคม ก็เปลี่ยนไปตามการนับปีสมัยใหม่ด้วย คือเริ่มวันที่ 1 มกราคมถึง 31 ธันวาคม แต่บางคนก็ยังนับแบบเดิมอยู่ คนไทยที่เกิดในช่วงเดือนมกราคมถึงมีนาคมอาจมีปัญหาในการระบุปีเกิด เพราะถ้านับแบบเดิมจะเป็นปีหนึ่ง และถ้านับแบบสมัยใหม่ก็จะเป็นอีกปีหนึ่ง เช่นถ้าเกิดในวันที่ 10 มกราคม 2545 นับแบบสมัยใหม่ก็จะถือว่าเกิดปีมะเมีย แต่นับปีแบบเดิมก็จะเป็นปีมะเส็งเป็นต้น

    <DD>ปฏิทินของธนาคารกรุงไทยเป็นปฏิทินไทยปัจจุบันแบบที่หายากมากในท้องตลาด เป็นปฏิทินที่ประกอบด้วยหลายระบบ กล่าวคือ 1)ให้ข้อมูลวันเดือนปีแบบสมัยใหม่ ซึ่งสอดคล้องกับสากล 2) มีการระบุปีนักษัตรที่ยึดระบบเดิมสมัยรัชกาลที่ 5-6 คือปีใหม่เริ่มวันที่ 1 เมษายน 3) นอกจากนั้นยังมีการระบุวันและเดือนตามจันทรคติด้วย ปฏิทินจันทรคติมีระบบที่น่าสนใจและซับซ้อน ซึ่งผู้เขียนจะนำมากล่าวถึงในโอกาสต่อไป


    </DD></TD></TR></TBODY></TABLE>
    ผู้เขียน: รศ. ดร. อมรา ประสิทธิ์
     
  17. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ลองอ่านกันดู และใช้ปัญญาในการพิจารณา จักรู้ว่า เรื่องของ พ.ศ. , ร.ศ. และ จ.ศ. นั้นเป็นอย่างไร ใช้เหตุผลในหลายๆแง่มุมวิเคราะห์กันดู อย่าไปหลงและโง่กันอยู่ เฉกเช่นเดียวกันกับพระวังหน้าหรือพระกรุวัดพระแก้วที่บางครั้งมีเรื่องของ พ.ศ.เข้ามาเกี่ยวข้อง

    แต่พระวังหน้าที่มีเรื่องของ พ.ศ.เข้ามาเกี่ยวข้องนั้น ก็จะมีทั้งพระแท้ และเณร(เก๊)เช่นกันครับ

    โมทนาสาธุครับ

    .
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 13 พฤศจิกายน 2007
  18. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    มีท่านที่ถามผมเข้ามาว่า "
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ.....
    อยากไปกราบและนำพระไปให้หลวงปู่อิเกสาโร เสก จะไปกราบท่านได้ที่ไหนครับ รบกวนด้วยครับ
    </TD></TR></TBODY></TABLE> "

    ผมตอบท่านนี้ไปแล้ว และขอตอบบนบอร์ดด้วย เผื่อท่านอื่นๆจะได้ทราบกันครับ

    " หลวงปู่อิเกสาโร ท่านเป็นอทิสมันกาย เมื่อสมัยรัชกาลที่ 5 ท่านมาเป็นกายเนื้อ แต่ปัจจุบันท่านไม่ได้มาเป็นกายเนื้ออีก เว้นแต่จะได้พบท่านในสมาธิครับ

    ผมตอบไม่ถูกว่าจะไปกราบท่านได้ที่ไหน แต่ตอบได้ว่า รูปหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรที่เห็นกันในปัจจุบัน ก็เป็นรูปแทนหลวงปู่อิเกสาโร สามารถกราบรูปได้ครับ ส่วนเรื่องนำพระไปให้หลวงปู่อิเกสาโรอธิษฐานจิต เรื่องนี้ตอบไม่ได้ครับ "

    .<!-- / message --><!-- sig -->
     
  19. wichitt

    wichitt เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    898
    ค่าพลัง:
    +4,132
    ผมไม่สนับสนุนให้คนทำบาป โมทนา สาธุ แต่เมื่อคนทำบาปเองก็ช่วยไม่ได้ หากช่วยไม่ให้เขาทำบาปได้ ก็จะเป็นบุญกุศลอันยิ่งใหญ่ โมทนา สาธุ

    (b-smile) (b-deejai)

    ผมชอบมนุษย์ที่ทำบุญ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการบริจาคต่างๆ หรือการนั่งสมาธิครับ โมทนา สาธุ

    (b-flower) (bb-flower
     
  20. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE class=tborder id=post809867 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">วันนี้, 09:14 AM <!-- / status icon and date --></TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #11504 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175>sithiphong<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_809867", true); </SCRIPT>
    สมาชิก ยอดนิยม
    สมาชิกยอดฮิต

    [​IMG]

    เข้ามาครั้งสุดท้ายเมื่อ: วันนี้ 05:37 PM
    วันที่สมัคร: Dec 2005
    ข้อความ: 16,733 <!-- Start Post Thank You Hack -->
    ได้ให้อนุโมทนา 20,433 ครั้ง
    ได้รับอนุโมทนา 94,913 ครั้ง ใน 12,884 โพส <!-- End Post Thank You Hack -->
    พลังการให้คะแนน: 11194 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_809867 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- message -->ผมไม่สนับสนุนให้คนทำบาป แต่เมื่อคนทำบาปเองก็ช่วยไม่ได้

    (b-smile) (b-deejai)

    ผมชอบมนุษย์ที่ทำบุญ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการบริจาคต่างๆ หรือการนั่งสมาธิครับ

    (b-flower) (bb-flower
    .
    <!-- / message --><!-- sig --></TD></TR></TBODY></TABLE>


    องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระองค์ท่านยังไม่สามารถที่จะสอนผู้คนทั้งหมดไปพระนิพพานได้ มีคนบางพวก บางเหล่า(บัวใต้น้ำ) ที่ยังมีอยู่มาก และยิ่งมีมากขึ้นในเวลาต่อๆไปจนพระพุทธศาสนาครบ 5,000 ปี

    ผมเองเป็นเพียงหิ่งห้อย เมื่อเทียบกับรังสีแสงอาทิตย์ จึงไม่สามารถที่จะอธิบายและช่วยเหลือคนบางพวก บางเหล่า(บัวใต้น้ำ) เหล่านี้ คนเหล่านี้ชอบและนิยมไปนรกกัน ดังนั้น ผมจึงเป็นผู้ที่สนับสนุน ,ส่งเสริม และผลักดัน ให้ไปนรกกันให้เร็วขึ้น เพราะว่าในนรกนั้น เพื่อนๆของคนบางพวก บางเหล่า(บัวใต้น้ำ) ได้ไปรอกันอยู่ก่อนแล้ว จะได้ไม่เหงา และมีกิจกรรมกันอยู่ตลอดเวลาครับ

    .
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 13 พฤศจิกายน 2007

แชร์หน้านี้

Loading...