พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    ต้องลองห้อยดู แล้วสังเกตุว่าเกิดอะไรขึ้นกับตัวเราบ้างครับ จะได้เล่าประสบการณ์ได้บ้าง

    .
     
  2. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    http://www.yingthai-mag.com/detail.asp?ytcolumnid=3071&ytissueid=722&ytcolcatid=2&ytauthorid=46

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD>เจ้าพ่อหอกลอง</TD></TR><TR><TD>
    โดย สายทิพย์


    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    มีเรื่องเล่าติดต่อกันมาหลายชั่วคนว่า ในสมัยก่อนคนย่านปากคลอง ตลอดคลองคูเมืองเดิม ในวันดีคืนดีมักจะได้ยินเสียงกลองตีดังตึง ๆ ๆ เป็นปริศนา แล้วไม่นานก็จะเกิดเหตุร้ายเหมือนสัญญาณบอกเหตุ เสียงนั้นว่ากันว่าดังมาจาก หอกลองเก่าซึ่งไม่ได้ใช้งานแล้ว ทำให้ชาวบ้านในยุคก่อนเชื่อกันว่า วิญญาณของเจ้าพ่อหอกลองยังคงสถิตอยู่ จึงเฝ้าวนเวียนแสดงอภินิหาร
    [​IMG]
    หากย้อนประวัติไป
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 4 ตุลาคม 2007
  3. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://www.budpage.com/vasin02.htm



    <CENTER>ผลแห่งกรรมที่ปรากฎในคัมภีร์
    ทางพระพุทธศาสนา</CENTER>


    <DD>เรื่องชีวิตและกรรม มีความสลับซับซ้อนมากดังพรรณนามา คนที่มองชีวิตและกรรมในสายสั้น จึงไม่อาจเข้าใจชีวิตและกรรมอย่างแจ่มแจ้งโดยตลอดได้ <DD>แม้ผู้ได้ญาณระลึกชาติหนหลังได้ (ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ) และได้ญาณรู้อนาคต (อนาคตตังสญาณ) แต่ได้ระยะสั้นเพียงชาติ ๒ ชาติ ก็ยังหลงเข้าใจผิดได้ เพราะเห็นผู้ประกอบกรรมชั่วในปัจจุบันบางคนตายแล้วไปบังเกิดในสวรรค์ เห็นผู้ทำกรรมดีบางคนตายแล้วเกิดในนรก เขาไม่มีญาณที่ไกลกว่านั้น จึงไม่อาจเห็นกรรมและชีวิตตลอดสายได้ ส่วนผู้มีญาณทั้งในอดีตและอนาคตไม่มีที่สิ้นสุดเช่นสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าสามารถเห็นกรรมและชีวิตได้ตลอดสาย ทรงสามารถชี้ได้ว่า ผลอย่างนี้ๆ มาจากกรรมอย่างใด <DD>มีตัวอย่างแห่งกรรมมากมายที่ปรากฎในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาซึ่งพระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ว่า บุคคลนั้นๆ ได้ประสบผลดีผลชั่วอย่างนั้นๆ อันแสดงถึงผลกรรมที่สามารถให้ผลข้ามภพข้ามชาติ จะขอนำบางเรื่องมาประกอบพิจารณาในที่นี้ <DD>๑. ภิกษุรูปหนึ่ง ชื่อจักขุบาล ท่านทำความเพียรเพื่อบรรลุมรรคผลจนตาบอดทั้ง ๒ ข้าง พร้อมกับสำเร็จเป็นพระอรหันต์ พระพุทธเจ้าทรงแสดงว่าเป็นผลของกรรมที่เมื่อชาติหนึ่ง พระจักขุบาลเป็นหมอรักษาโรคตา ประกอบยาให้คนป่วยตาบอดโดยเจตนา เพราะคนป่วยทำทีบิดพลิ้วจะไม่ให้ค่ารักษา เรื่องนี้ปรากฎในอรรถกถาธรรมบทภาค ๑ เรื่องจักขุบาล <DD>๒. ชายคนหนึ่ง ชื่อจุนทะ มีอาชีพทางฆ่าหมูขาย คราวหนึ่งป่วยหนัก ลงคลาน ๔ ขาร้องครวญครางเสียงเหมือนหมู ทุกข์ทรมานอยู่หลายวันจึงตาย เรื่องนี้ปรากฎในอรรถกถาธรรมบท ภาค ๑ เรื่องจุนทสูกริก <DD>๓. ชายคนหนึ่ง มีอาชีพทางฆ่าโคขายเนื้อ วันหนึ่งเนื้อที่เก็บไว้เพื่อบริโภคเอง เพื่อนมาเอาไปเสียโดยถือวิสาสะ จึงถือมีดลงไปตัดลิ้นโคที่อยู่หลังบ้านมาให้ภรรยาทำเป็นอาหาร ขณะที่เขากำลังบริโภคอาหารอยู่นั้นลิ้นของเขาได้ขาดหล่นลงมา เขาคลาน ๔ ขา เหมือนโค ร้องครวญครางทุกข์ทรมานแสนสาหัสและสิ้นชีพพร้อมกับโคหลังบ้าน เรื่องนี้ปรากฏในอรรถกถาธรรมบทภาค ๗ เรื่องบุตรของนายโคฆาต <DD>๔. ภิกษุรูปหนึ่ง ชื่อติสสะ เป็นแผลเปื่อยพุพองรักษาไม่หายพระพุทธเจ้ากับพระอานนท์ไปช่วยดูแลให้อาบน้ำอุ่น แสดงธรรมให้ฟังพระติสสะได้สำเร็จเป็นพระอรหันต์พร้อมกับนิพพานในวันนั้น พระพุทธเจ้าทรงแสดงว่าที่เป็นแผลพุพองนั้นเพราะชาติก่อน พระติสสะเป็นพรานนก จับนกขายเป็นอาหาร ที่เหลือก็หักปีกหักขาไว้เพื่อไม่ให้มันบินหนี เรื่องนี้ปรากฏในอรรถกถาธรรมบท ภาค ๒ เรื่องปูติคัตตติสสะ <DD>๕. พระนางโรหิณี <SUP>๑ </SUP>พระขณิษฐาของพระอนุรุทพระญาติของพระพุทธเจ้า ทรงเป็นโรคผิวหนังอย่างแรง ทรงละอายจนไม่ปรารถนาพบผู้ใด เมื่อพระอนุรุทเถระมาถึงเมืองกบิลพัสดุ์ พวกพระญาติต่างก็มาชุมนุมกัน เว้นแต่พระนางโรหิณี พระอนุรุทจึงถามหา ทราบความว่าพระนางเป็นโรคผิวหนัง พระเถระให้เชิญพระนางออกมาแล้วทรงแนะนำให้ทำบุญโดยให้ขายเครื่องประดับต่างๆ เท่าที่มีอยู่ แล้วนำทรัพย์มาสร้างศาลาโรงฉัน ท่านขอแรงพระญาติที่เป็นชาย ให้ช่วยกันทำโรงฉัน <DD>พระนางโรหิณีทรงเชื่อ เมื่อสร้างโรงฉัน ๒ ชั้นเสร็จแล้ว ทรงปัดกวาดเอง ทรงตั้งน้ำใช้น้ำฉันสำหรับพระภิกษุสงฆ์เอง ถวายขาทนียะโภชนียาหารแก่ภิกษุสงฆ์เป็นประจำทุกวัน โรคผิวหนังของพระนางค่อยๆ หายไปทีละน้อยจนเกลี้ยงเกลา โรคนี้เป็นโรคที่เกิดแต่กรรม ต้องเอาบุญมาช่วยรักษา ลดอิทธิพลแห่งกรรมจนไม่มีอานุภาพในการให้ผลอีกต่อไปเหมือนคนกินยาเข้าไปปราบเชื้อโรค <DD>วันหนึ่ง พระพุทธเจ้าเสด็จมาเสวยที่โรงฉันของพระนางโรหิณี แล้วตรัสให้พระนางทราบว่าโรคนั้นเกิดขึ้นเพราะกรรมของพระนางเอง <DD>ในอดีตกาล พระนางโรหิณีเป็นอัครมเหสีของพระเจ้ากรุงพาราณสีมีจิตริษยาหญิงนักฟ้อนคนหนึ่งของพระราชา ได้ทำเองด้วย ให้คนอื่นทำด้วย คือการเอาผลเต่าร้างหรือหมามุ้ยโรยลงบนสรีระของหญิงนักฟ้อนคนโปรดของพระราชา นอกจากนี้ยังให้บริวารเอาผงเต่าร้างไปโปรยบนที่นอนของหญิงนักฟ้อนคนนั้นอีกด้วย <DD>หญิงนักฟ้อนคันมาก เป็นผื่นพุพองขึ้นมา ได้รับทุกขเวทนาแสนสาหัส นี่คือบุพพกรรมของพระนางโรหิณี พระพุทธเจ้าตรัสเตือนว่าพึงละความโกรธความถือตัวเสีย <DD>เรื่องนี้ ปรากฏในอรรถกถาธรรมบท ภาค ๖ เรื่องพระนางโรหิณี <DD>๖. ในอรรถกถาสาราณียธรรมสูตร ภาค ๓ หน้า ๑๑๐
     
  4. ตั้งจิต

    ตั้งจิต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2005
    โพสต์:
    1,574
    ค่าพลัง:
    +5,485
    ต้องเพียรขูดเกลากิเลส นะครับ
    อันดับแรกเลยแทนที่จะจัดชุดมาแขวน ก็เปลี่ยนเป็นจัดชุดมาแจก รับรองผล
    ขูดออกในวันเดียว
    (ping)
    อ้อ..ผมจองเลยนะครับ(555)
     
  5. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD>บันทึกวัฒนธรรม: “เขาหลวง” เพชรงามแห่งเมืองเพชร...ที่ประทับพระราชหฤทัยในรัชการที่ 4...แหล่งรวมพระพุทธรูปฉลองพระองค์แห่งราชวงศ์จักรี...</TD></TR><TR><TD>
    โดย สายทิพย์
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    <STYLE><!--.Normal {font-size:12.0pt; font-family:"Times New Roman";}--></STYLE><LINK href="/CSS%20folders/shadeorange.css" type=text/css rel=stylesheet>เขาหลวงหรือ “ถ้ำแกลบ” ถือเป็นเพชรน้ำหนึ่งของเมืองเพชรบุรี ตั้งอยู่ในเขตตำบลธงไชย อำเภอเมือง อยู่ทางทิศเหนือของเขาวัง เขาหลวงเป็นพระบรมราชรนุสรณ์ที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 4) และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) พระราชทานไว้ให้ชาวเมืองเพชรบุรีในอดีต
    [​IMG]ย้อนประวัติศาสตร์ของ ถ้ำหลวง คือสถานอันเป็นที่ประทับพระราชหฤทัยในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว(รัชกาลที่ 4) เป็นสิ่งแรกที่ทำให้พระองค์ทรงผูกพันกับเมืองเพชรและชาวเมืองเพชรบุรี จนถึงกับโปรดเกล้าฯให้สร้างพระราชวัง พระนครคีรี เพื่อเป็นที่ประทับใน พ.ศ. 2401 และได้เสด็จฯมาประทับแทบทุกปี
    ความงดงามตามธรรมชาติของเขาหลวง ซึ่งเป็นเขาที่มีความสูงเพียง 92 เมตร แต่มากมายไปด้วยถ้ำที่เรียงรายล้อมรอบเขาประมาณ 40 ถ้ำ อาทิ ถ้ำพระพุทธไสยาสน์ ถ้ำเม่น ถ้ำหลวง ถ้ำแกลบ ถ้ำพิกุล ถ้ำมอด ถ้ำจัน ถ้ำแสนพล ถ้ำพระพิมพ์ ถ้ำพระเผือก ฯลฯ และบริเวณขอบเขาทางด้านทิศเหนือกับทิศตะวันออกจะซากหอยล้านปีเกาะอยู่เป็นเป็นจำนวนมากเพราะที่แห่งนี้เคยเป็นทะเลมาก่อนที่จะมาเป็นภูเขา
    ภายในเขาหลวงจะมี “ถ้ำหลวง” ซึ่งตั้งอยู่บริเวณใจกลางเขา เป็นถ้ำขนาดใหญ่ประมาณ 40 ตารางวา มีหินงอก หินย้อนงดงามตามธรรมชาติ อากาศภายในถ้ำเย็นสบายเหมาะแก่การปฏิบัติธรรมสำหรับผู้ที่ต้องการหาความสงบทางจิต และเกี่ยวกับตำนานความเชื่อของชาวเมืองเพชรบุรีได้เล่าต่อๆ กันมาว่าบริเวณเขาหลวง คือถิ่นที่อยู่ของชาวลับแล ซึ่งมีเรื่องราวเล่าขานถึงความเป็นมาอย่างน่าสนใจ ทั้งในวันดีคืนดียังมีคนได้ยินเสียงบรรเลงดนตรีไทยอันแสนไพเราะลอยมาจากถ้ำพิกุลที่อยู่ในบริเวณเดียวกันอีกด้วย
    [​IMG]สำหรับหลักฐานเกี่ยวกับที่มาของชื่อเขาหลวงนั้นเป็นชื่อที่ชาวบ้านเรียกกันมาแต่โบราณสันนิษฐานว่า เขาหลวง น่าจะเป็นพระบรมราชานุสรณ์ของอดีตพระมหากษัตริย์พระองค์ใดพระองค์หนึ่งมาแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ซึ่งนักวิชาการทางโบราณคดีหลายท่านสันนิษฐานว่าน่าจะเป็น สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศเพราะค้นพบรอยพระพุทธบาทหรือที่เรียกว่า “พระเจดียฐาน” ซึ่งเป็นพระพุทธบาทหินปูนสีเขียวมีอายุหลายร้อยปี
    เขาหลวง มีหลักฐานปรากฏชัดขึ้นในรัชกาลที่ 3 แห่งราชวงศ์จักรี ในขณะที่ “เจ้าฟ้ามงกุฎ”(ร.4) ทรงผนวช พระองค์เคยเสด็จธุดงค์ไปยังสถานที่ต่างๆ ในจังหวัดเพชรบุรีและได้เสด็จมาประทับที่ถ้ำเขาหลวง ทรงโปรดเขาหลวงและถ้ำเขาหลวงมาก ขณะที่พระองค์เสด็จฯธุดงค์มาครั้งแรกนั้นภายในถ้ำเขาหลวงยังไม่มีพระพุทธรูปมากมายอย่างที่เห็นในปัจจุบัน มีเพียงพระพุทธรูปเก่าแก่อยู่ประมาณ 26 องค์และมีพระเจดียฐาน (รอยพระพุทธบาท) ของเก่าที่อยู่ในสภาพชำรุด จึงโปรดเกล้าฯให้ทำการบูรณะปฏิสังขรณ์ให้คงสภาพเดิม และด้วยความผูกพันในครั้งนั้นยังคงฝังอยู่ในพระราชหฤทัยของพระองค์
    [​IMG]เมื่อเสด็จขึ้นครองราชย์ใน พ.ศ. 2394 แล้วพระองค์ได้ทรงมีพระราชปรารภถึงถ้ำเขาหลวงที่พระองค์เคยเสด็จมาขณะทรงผนวชอีก กระทั่งถึงเดือนอ้าย ขึ้น 15 ค่ำมีมะเมีย สัมฟทธิศก จ.ศ. 1220 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ก็ได้เสด็จประพาสเพชรบุรีทางชลมารค เพื่อทอดพระเนตรถ้ำเขาหลวงอีกครั้ง ทรงประทับแรมที่พลับพลาบนค่ายเขาหลวง 1 คืน(เป็นค่ายที่สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์มอบหมายให้พระยาราชบุรีนำชาวราชบุรีมาสร้างถวาย) การเสด็จฯในครั้งนี้ได้มีรับสั่งให้พระยาเพชรบุรีดำเนินการปฏิสังขรณ์พระพุทธรูปในถ้ำเขาหลวงทั้งหมดโดยใช้ช่าง “สกุลช่างเพชรบุรี” ซึ่งมีฝีมือประณีต
    ในปลายปี พ.ศ. 2401 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ได้เสด็จฯประพาสเพชรบุรีเป็นครั้งที่ 2 เพื่อดูการบูรณะพระพุทธรูปที่เขาหลวง และเสด็จดูการก่อสร้างพระตำหนักพลับพลาบน “เขามหาสมณ”(เขาวังเพชรบุรี) ด้วย ต่อมาในพ.ศ. 2402 ก็ได้เสด็จฯมาเป็นครั้งที่ 3 ด้วยเรือพระที่นั่งกลไฟ การเสด็จฯ ครานั้นเป็นครั้งสำคัญด้วยว่ามีพระองค์เจ้าฝ่ายในและเจ้าจอมมารดาตามเสด็จฯมาด้วยมากมาย ในการเสด็จฯครั้งนี้ทรงโปรดฯให้ราษฎรชาวเมืองเพชรตั้งร้านและตั้งเครื่องบูชาที่หน้าบ้านรับเสด็จฯ และได้เสด็จฯไปทรงปิดทองพระในถ้ำเขาหลวงพร้อมด้วยพระองค์เจ้าฝ่ายในและเจ้าจอม เมื่อทอดพระเนตรเห็นว่ามีการปิดทองพระกันมากทรงเกรงว่าจะเป็นเหตุทำให้มีคนร้ายมาลักลอบเอาทองพระพุทธรูปไป จึงได้มีพระราชดำรัสสั่งให้พระยาเพชรบุรีจ้างพวกลาวพวน ลาวทรงดำ ที่ตั้งบ้านเรือนอยู่แถบชายเขาหลวงเป็นผู้ดูแลรักษาถ้ำ(พวกลาวพวน ลาวทรงดำเป็นกลุ่มคนที่อพยพมาจากกลุ่มแม่น้ำโขงตั้งแต่ก่อนรัชกาลที่ 3)
    การเสด็จฯประพาศถ้ำเขาหลวงครั้งนี้รัชกาลที่ 4 ได้ทอดพระเนตรเห็นพระพุทธรูปเก่าที่คนโบราณได้สร้างไว้นานแล้ว จึงรับสั่งให้พระยาหัตถการบัญชาจางวางช่างสิบหมู่จ้างช่างที่เพชรบุรีทำการบูรณะปฏิสังขรณ์องค์พระพุทธรูป โดยให้ช่างลงรักบิดทองเป็นส่วนหลวงสำหรับพระองค์ 1 องค์และพระราชทานให้เป็นส่วนของพระเจ้าลูกยาเธอพระองค์ใหญ่ 2 พระองค์คือ พระองค์เจ้านพวงศ์หรือกรมหมื่นมเหศวรศรีวิลาศกับพระองค์เจ้าสุประดิษฐ์หรือกรมหมื่นวิศณุนารถนิภาธร และให้ทรงจารึกพระบรมราชโองการ คำอุทิศพระราชกุศลในการปฏิสังขรณ์พระพุทธรูปทั้ง 3 องค์ในถ้ำเขาหลวงเมื่อวันพฤหัสบดีขึ้น 10 ค่ำเดือน 8 ปีวอก โทศก จ.ศ. 1222 ว่า
    [​IMG] “การปฏิสังขรณ์พระปฏิมารูป 3 พระองค์นี้เป็นอัมสัมฤทธิ์สมบูรณ์แล้วทรงพระราชอุทิศส่วนพระราชกุศลแลอวยชัยอวยพรไว้แก่เทพยดา มนุษย์ทั้งปวงบรรดาที่ได้มายังถ้ำนี้ และได้เห็นได้นมัสการพระปฏิมาทั้งสามพระองค์นี้จงทุกคน แลทรงพระอธิษฐานพระราชกุศลนี้ว่า ในปัจจุบันภพนี้ขอให้พระองค์และพระเจ้าลูกยาเธอทั้งสองพระองค์มีพระชนมายุยืนถาวร ปราศจากโรคพยาธิอุปัทวันตรายทั้งปวง...และพระราชศรัทธาและศิริราชสมบัติแลพระราชกุศลนี้จงเป็นปัจจัยให้ได้เสด็จถึงที่สิ้นสุดดับแห่งสารวัฏทุกข์ทั้งปวงคือ พระอมฤตยนฤพานเทอญ”
    นอกจากนี้พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวยังได้พระราชทานระฆัง 1 คู่แขวนไว้ในถ้ำหลวงด้วยและรับสั่งให้ปูพื้นถ้ำเขาหลวงด้วยอิฐหน้าวัวจากเมืองสงขลา ซึ่งภายหลังจากพระองค์เสด็จสวรรคตแล้วพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าก็ได้เสด็จมาทอดพระเนตรและมีพระราชศรัทธารับสั่งให้สร้างพระพุทธรูปฉลองพระองค์อีก โดยรวมแล้วภายในถ้ำเขาหลวงจึงมีพระพุทธรูปฉลองพระองค์ทั้งของ รัชกาลที่ 1-4 และมีของรัชกาลที่ 5 พระบรมราชเทวี เจ้าจอมมารดา พระราชโอรส พระราชธิดาและเชื้อพระวงศ์เป็นจำนวนถึง 132 องค์
    สภาพภายในถ้ำหลวงแบ่งออกเป็น 3 ตอน ตอนแรกถึงปากถ้ำมีบันไดหิน มีหินย้อยงดงามและมีพระพุทธรูปปูนปั้นประมาณ 10 องค์ กับรอยพระพุทธบาทประดิษฐานบนศาลคอนกรีตหนึ่งรอย ภายในถ้ำตอนที่ 2 มีพระพุทธรูปปางต่างๆ สร้างไว้ตามซอกหินประมาณ 100 องค์ ที่ซอกเขาด้านขวามีพระพุทธรูปปางมารวิชัยที่จารึกพระนามาภิไชยของพระมหากษัตริย์แห่งกรุงรัตนโกสิททร์ตั้งแต่ ร.1-ร.4 อยู่ที่ฐาน กับมีพระพุทธรูปปางต่างๆ สร้างครั้งรัชกาลที่ 5 มีจารึกและพระนามของพระเจ้าลูกเธอในรัชกาลที่ 4 อีกหลากพระองค์ มีพระพุทธรูปไสยาสน์องค์หนึ่งขนาดยาว 14 เมตร กับพระพุทธรูปปางมารวิชัยสูง 3 เมตรองค์หนึ่งและมีเจดีย์ 3 องค์ซึ่งสร้างในสมัยรัชกาลที่ 4
    [​IMG]ระหว่างถ้ำตอน 2 กับตอน 3 มีกำแพงกั้นสิ่งที่ประดิษฐานในถ้ำตอนนี้มีพระพุทธรูป เจดีย์ มียักษ์ 2 ตน กับฤาษี 2 ตน อยู่คนละฟากประตู เป็นของสร้างครั้งรัชกาลที่ 4 ลานกว้างในถ้ำมีพระพุทธรูปนั่งองค์ใหญ่ซึ่งรัชกาลที่ 5 ทรงสร้างใหม่ให้เป็นประธานในถ้ำหลวงเรียกว่า “หลวงพ่อถ้ำเขาหลวง” ทางขวามือพระประธานได้สร้างพระพุทธรูปฉลองพระองค์ พระบรมราชินี พระราชโอรส พระราชธิดา ตลอดจนพระเจ้าหลานเธอไว้เรียงลำดับ
    ประวัติศาสตร์แห่ง “ถ้ำเขาหลวง” นับว่ามีคุณค่าทางประวัติศาสตร์และโบราณคดี ถือเป็นสิ่งที่มีมงคลสูงสุด ไม่เคยปรากฏสถานที่ใดจะมีสิ่งที่เป็นอนุสรณ์แทนองค์พระมหากษัตริย์อย่างมากมายเท่าที่ “ถ้ำเขาหลวง” ณ สถานที่นี้จึงถือได้ว่าเป็น “พระบรมราชานุสรณ์” ที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานไว้ให้ชาวเมืองเพชรบุรี ตราบนั้นจนบัดนี้......

    http://www.yingthai-mag.com/detail.asp?ytcolumnid=784&ytissueid=616&ytcolcatid=2&ytauthorid=46
     
  6. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD>พระบฏ” ภูมิปัญญาไทยบนจิตรกรรมไทยประเพณี</TD></TR><TR><TD>
    โดย สายทิพย์
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    <STYLE><!--.Normal {font-size:12.0pt; font-family:"Times New Roman";}--></STYLE><LINK href="../CSS%20folders/shadeorange.css" type=text/css rel=stylesheet> “พระบฎ” คือจิตรกรรมไทยประเภทหนึ่งที่เขียนบนผืนผ้าขนาดยาวเป็นภาพพระพุทธเจ้าพุทธประวัติ พระมาลัยหรือทศชาติชาดก
    [​IMG][​IMG]ลักษณะของภาพพระบฏมักใช้แขวนหรือห้อยตามความยาวของผ้าตามรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า มีไม้สอดสำหรับแขวนหัวท้ายคล้ายภาพเขียนจีน สถานที่แขวนหรือห้อยภาพพระบฏมักอยู่ภายในอุโบสถ วิหารหรือศาลาการเปรียญ
    ผ้าที่นำมาเขียนภาพพระบฎแต่เดิมใช้ผ้าที่ผู้ตายใช้สอยประจำหรือผ้าที่ผู้ตายรักชอบมากหรือผ้าขาวสำหรับคลุมหีบศพ วิธีใช้จะนำมาขึงให้ตึงลงพื้นด้วยน้ำต้มเม็ดมะขามผสมดินสอพอง เสร็จแล้วมักเขียนภาพพระพุทธเจ้าประทับยืนหรือนั่งมีสาวกเฝ้าประกอบบ้างไม่มีบ้าง การนำผ้าดังกล่าวมาเขียนภาพเชื่อว่าเป็นการอุทิศส่วนกุศลให้แก่ผู้ตาย
    ความเป็นมาของ “ภาพพระบฏ” อาจสันนิษฐานได้ว่าได้รับแบบอย่างหรือรับอิทธิพลมาจากภาพเขียนของจีนหรือญี่ปุ่นที่เรียกว่า “ภาพม้วน” ในประเทศไทยมีหลักฐานการสร้าง “พระบฏ” มาตั้งแต่สมัยสุโขทัย ราวกลางพุทธศตวรรษที่ 20 ส่วน “พระบฏ” ทีเก่าแก่ที่สุดในประเทศไทยคือพระบฏที่ได้จากกรุงเจดีย์วัดดอกเงิน อ.ฮอด จ.เชียงใหม่ เป็นพระบฏขนาดใหญ่ กว้าง 1.80 ม. และยาว 3.40 ม. เป็นภาพพระพุทธเจ้าปางลีลาแวดล้อมเทพเทวดาและสาวก ฝีมือสกุลช่างล้านนา พุทธศตวรรษที่ 21 ปัจจุบันจัดแสดงอยู่ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร
    การเขียน “ภาพพระบฏ” สันนิษฐานว่าเกิดขึ้นจากความศรัทธาของญาติผู้ตายที่ต้องการสร้างขึ้นเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้แก่ผู้ตาย โดยให้ช่างเขียนซึ่งอาจเป็นช่างในท้องถิ่นหรือพระสงฆ์ที่มีฝีมือในการเขียนภาพเขียนขึ้นเป็นพุทธบูชาโดยใช้ผ้าที่เป็นสมบัติของผู้ตายนำมาเขียนแล้วถวายวัด ซึ่งทางวัดก็อาจจะใช้แขวนไว้บูชาในอุโบสถ วิหาร ศาลาการเปรียญหรือกุฏิสงฆ์ตามความเหมาะสม
    [​IMG] “ภาพพระบฏ” มีลักษณะการใช้ที่คล้าย “ธง” หรือ “ตุง” ทางภาพเหนือและภาพอีสานคือใช้แขวนห้อยเป็นพุทธบูชาเหมือนกัน แต่ต่างกันที่เนื้อหาหรือภาพที่ปรากฏจะไม่เหมือนกันคือ พระบฏมักจะเป็นรูปพระพุทธเจ้าและสาวก แต่ “ตุง” มักเป็นลวดลายเชิงสัญลักษณ์ของท้องถิ่น
    รูปแบบและลักษณะของพระบฏที่มีเหลืออยู่ส่วนมากเป็นภาพจิตรกรรมเขียนบนผืนผ้าตามความยาวของผืนผ้า [​IMG]โดยให้ด้านกว้างหรือหน้าแคบของผ้าอยู่ด้านบนและล่างแล้วเย็บหรือผูกด้านบนและล่างเพื่อสอดไม้กลมๆ เข้าไปเป็นเครื่องถ่วงให้ผืนผ้าแขวนหรือห้อยได้ดี และอีกประการหนึ่งไม้ที่สอดไว้นั้นจะช่วยทำให้ผ้าตึงไม่หดย่น ส่วนด้านบนจะมีเชือกผูกปลายไม้ทั้งสองด้านเป็นหูสามเหลี่ยม สำหรับแขวนหรือห้อย
    อย่างไรก็ตามเราสามารถจำแนกพัฒนาการทางด้านรูปแบบของ “พระบฏ”
    จากหลักฐานที่พบ ซึ่งส่วนใหญ่เขียนขึ้นในสมัยรัตนโกสินทร์ได้เป็น 5 แบบ ดังนี้
    แบบแรก เป็นภาพพระพุทธเจ้าองค์เดียวประทับยืนเต็มทั้งผืน หรือภาพพระพุทธเจ้าประทับยืนขนาบข้างด้วยพระอัครสาวก
    แบบที่สอง แบ่งภาพบนผืนผ้าออกเป็นสองส่วนคือ พระพุทธเจ้าประทับยืนพระองค์เดียวหรือขนาบข้างด้วยพระอัครสาวก ประมาณ 3 ใน 4 ของผืนผ้า และที่เหลืออีก 1 ส่วนซึ่งอาจจะเป็นช่วงบนหรือช่วงล่าง เขียนภาพเล่าเรื่องในพระพุทธประวัติ พระมาลัยหรือทศชาติ
    แบบที่สาม แบ่งภาพบนผืนผ้าออกเป็นสามส่วน ตอนบนเป็นภาพพระมาลัยไปนมัสการพระจุฬามณี ตอนกลางเป็นภาพพระพุทธเจ้าประทับยืนขนาบข้างด้วยพระอัครสาวกและตอนล่างเป็นภาพเล่าเรื่อง
    แบบที่สี่ เป็นภาพเล่าเรื่องเต็มทั้งผืนเช่นพระพุทธเจ้าเสด็จสวรรค์ชั้นดาวดึงส์เทศนาโปรดพุทธมารดา จนถึงเสด็จลงจากสวรรค์ดาวดึงส์ ตอนมาผจญหรือทศชาติ
    แบบที่ห้า เป็นภาพเล่าเรื่องตอนๆ ไป ขนาดของผืนผ้าเล็กลง ที่นิยมคือเวสสันดร ทั้ง 13 กัณฑ์
    “ภาพพระบฏ” แบบที่ห้าที่เขียนเรื่องพระเวสสันดรทั้ง 13 กัณฑ์นี้มักจะเขียน 13 แผ่นแล้วแขวนไว้รายรอบศาลาการเปรียญ เมื่อมีงานเทศน์มหาชาติก็จะนำออกมาแขวน ภาพลักษณะนี้เคยมีที่วัดใหญ่สุวรรณาราม จ.เพชรบุรี ซึ่งบอกปีสร้างไว้ว่าเขียนใน ร.ศ.127 หรือ พ.ศ.2451
    ความนิยม “ภาพพระบฏ” มีมากที่สุดในสมัยรัชกาลที่ 5 โดยสมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ทรงเขียนไว้ว่า...
    “กรมหลวงสรรพศาสตรศุภกิจ ทรงดำริทำภาพพระบฏเล็กๆ ขาย ให้พระวรรณวาดวิจิตร(ทอง)เขียนตัวอย่างเป็นปางมารผจญแล้วส่งออกไปตีพิมพ์เมืองนอก ครั้นได้เข้ามาก็ส่งออกไปจำหน่ายตามร้าน เป็นที่ต้องตาต้องใจมาก ขายดี เล่าลือจนถือพระกรรณ(รัชกาลที่ 5) ตรัสถามถึงลักษณะพระบฏนั้น ฉันจึงไปซื้อมาถวายแผ่นหนึ่ง ก็พอพระราชหฤทัย ต่อมากรมหลวงสรรพศาสตรศุภกิจเห็นว่าขายมีกำไรมาก จึงทรงจัดให้ช่างเขียนขึ้นหลายแบบส่งออกไป ทำกลับเข้ามาอีก แล้วคนอื่นก็ทำเข้ามาขายด้วย ต่างคิดหาแบบเก่าใหม่ที่หวังว่าคนจะชอบส่งไปเป็นตัวอย่าง เป็นการแย่งขายแย่งประโยชน์กันตามเคย ภาพพระบฏต่างๆ จึงมีทยอยๆ กันเข้ามามาก”
    จากลักษณะภาพพระบฏต้นแบบในอดีตเมื่อได้มีการพัฒนามากขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 ทำให้นอกจากรูปแบบจะเปลี่ยนไปแล้ว เจตนาในการสร้างก็เปลี่ยนไปด้วย โดยคนจะนิยมซื้อเพื่อแก้บนหรือเมื่อมีทุกข์เกิดการเจ็บป่วยแล้วก็จารึกชื่อตน บอกอุทิศส่วนกุศลแก่ญาติที่ตายไป บางทีข้างใต้ภาพหรือหลังภาพพระบฏจะเขียนคำกลอนเป็นคำอุทิศเช่นตัวอย่างพระบฎแผ่นหนึ่งทีแขวนไว้ในพระอุโบสถวัดจันทราวาส จ.เพชรบุรี มีคำกลอนบอกชื่อผู้สร้างไว้ว่า...
    “ท่านนายอากรมากผัวแม่งิ้วเมียสร้างให้กับแม่แวกไว้ในพระศาสนา
    จำลองรูปบรมบาทพระศาสดาด้วยศรัทธาตั้งนสันดาน
    เห็นยากยุคทุกขังสังขาราปลงปัญญาลงตรองกองสังขาร
    ทั้งปีเดือนวันคืนไม่ยืนนาน......”
    “ภาพพระบฏ” ในปัจจุบันนี้คงเหลือเพียงไม่กี่ชิ้นที่เก็บรักษาในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิพิธภัณฑสถานเอกชนและตามวัดต่างๆ ซึ่งแม้ว่าคุณภาพฝีมือของภาพพระบฎจะมีความประณีตงดงามไม่เทียบเท่าจิตรกรรมบนพื้นผนัง แต่ภาพพระบฏก็จัดว่าเป็นจิตรกรรมอีกประเภทหนึ่งในขบวนศิลปกรรมของไทย จึงถือเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่ควรคู่แก่การฟื้นฟู อนุรักษ์และเผยแพร่เพื่อให้เป็นความภาคภูมิใจในภูมิปัญญาของคนไทยในอดีตตลอดไป
    ขอบคุณ : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป
    เอื้อเฟื้อข้อมูลและภาพประกอบ

    http://www.yingthai-mag.com/detail.asp?ytcolumnid=970&ytissueid=623&ytcolcatid=2&ytauthorid=46
     
  7. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ โสระ [​IMG]
    พระสมเด็จที่พระอาจารย์แสงและสมเด็จโตร่วมกันเสกเป็นอีกหนึ่งในของดีที่พี่ใหญ่ยังเอ่ยปากว่าต้องไปเลี่ยมแขวน
    [​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE>


    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ chaipat [​IMG]
    ดีใจนะครับ ที่ได้ไปบ้านท่านพี่.... และมีโอกาสที่ได้สัมผัสพระท่าน
    ชาถึงข้อศอกครับ ซึ่งเป็นครั้งแรกที่รู้สึกจริงๆ ถึงข้อศอกจนชา

    ที่เขาว่ากันว่ารับสัมผัสได้เป็นดังนี้เอง อาจเป็นเพราะไข้หวัด
    ทำให้นอนซม นับลมเรื่อยๆ มั้งครับ วันนั้นมึนหัว ฟังท่านๆ คุยกัน ไม่ค่อยได้ยินเท่าไหร่ครับ

    จากที่รู้สึก ก็ขอบอกว่าดีครับ ท่านที่ได้ไปผมก็ขออนุโมทนาครับ

    สาธุครับ[​IMG][​IMG][​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    เอาไว้ดูที่พี่ก็ได้ครับ ไว้จัดทริปกันชมพระครับ
    (b-glass)
    .
     
  8. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    ขออาราธนาพระบารมีพระพุทธเจ้าทุกๆพระองค์ ,พระปัจเจกพุทธเจ้าทุกๆพระองค์ , คณะหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรทั้งหมด ,พระอรหันต์ทุกๆพระองค์,พระมหาโพธิสัตว์และพระโพธิสัตว์ทุกๆพระองค์ ,คุณพระศรีรัตนตรัย ขอให้ คุณบิดา มารดา และทั้ง ๑๖ ชั้นฟ้า ๑๕ ชั้นดิน ผู้มีพระคุณ ญาติกาครูอุปัชฌาย์อาจารย์ ญาติสี่สกุลเจ็ดชั่วโคตรของข้าพเจ้า เจ้ากรรมนายเวร ปู่ ย่า ตา ยาย เทวดาประจำตัวข้าพเจ้า ,เทวดาประจำองค์พระพิมพ์ทุกองค์ ,พระบารมีพระมหากษัตริย์ทุกๆพระองค์ ,พระบารมีสมเด็จพระนเรศวรมหาราช,พระบารมีสมเด็จพระเอกาทศรถ,พระบารมีสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช, พระบารมีพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ,พระบารมีพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้า ,พระบารมีพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบารมีกรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท ,พระยาพิชัยดาบหัก ,พระบารมีกรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ ,พระบารมีกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ,พระบารมีพระสยามเทวาธิราช ,พระภูมิ-เจ้าที่ที่บ้านข้าพเจ้า ,แม่ย่านางรถของข้าพเจ้า,ผู้ที่เสียสละให้กับแผ่นดินไทยทุกท่าน ,องค์ผู้อธิษฐานจิตพระพิมพ์ที่ข้าพเจ้ามีอยู่ทุกพระองค์ ,เจ้าของและผู้สร้างพระพิมพ์หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร-พระพิมพ์สมเด็จเจ้าคุณกรมท่าทุกท่าน-พระพิมพ์ของวังหน้า,พระกรุวัดพระแก้วและวัตถุมงคลหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรทุกประเภทที่ข้าพเจ้ามีอยู่ ทุกท่าน, เพื่อนสนิทมิตรสหายทั้งหลาย เพื่อนสาราสัตว์น้อยใหญ่ เจ้ากรุงพาลี แม่พระธรณี แม่พระคงคา พระเพลิง พระพาย แม่พระโพสพ พระภูมิ-เจ้าที่ พระมหาฤาษีและพระฤาษีทุกๆตน พระพิรุณ พยายมราช นายนิริยบาล ทั้งท้าวจตุโลกะบาลทั้งสี่ ศิริพุทธอำมาตย์ ชั้นจาตุมะหาราชิกาเบื้องบนจนถึงที่สุด พรหมาเบื้องต่ำตั้งแต่มนุษย์โลก โดยรอบสุดขอบจักรวาลอนันตะจักรวาล และเทพยดาทั้งหลายตลอดทั้งอินทร์ พรหม ยม ยักษ์ คนธรรพ์ นาคา ขอให้มาอนุโมทนาในบุญกุศลที่ข้าพเจ้าได้ทำในครั้งนี้ด้วยเทอญ

    อิมินาปุญญะกัมเมนะ ด้วยเดชะผลบุญแห่งข้าพเจ้า,ภรรยา และครอบครัว ได้..(ทำบุญอะไร)...


    ขอน้อมถวายบุญกุศลแด่องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทุกๆพระองค์ ,พระปัจเจกพุทธเจ้าทุกๆพระองค์ ,คณะหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรทั้งหมด ,พระอรหันต์ทุกๆพระองค์ ,พระมหาโพธิสัตว์และพระโพธิสัตว์ทุกๆพระองค์ ,คุณพระศรีรัตนตรัย<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    ขอถวายบุญกุศลแด่คุณบิดา มารดา ,องค์ผู้อธิษฐานจิตพระพิมพ์ที่ข้าพเจ้ามีอยู่ทุกพระองค์ ,เจ้าของและผู้สร้างพระพิมพ์หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร-พระพิมพ์สมเด็จเจ้าคุณกรมท่าทุกท่าน-พระพิมพ์ของวังหน้า,พระกรุวัดพระแก้วและวัตถุมงคลหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรทุกประเภทที่ข้าพเจ้ามีอยู่ ,ตัวข้าพเจ้าและทั้ง ๑๖ ชั้นฟ้า ๑๕ ชั้นดิน ผู้มีพระคุณ ญาติกาครูอุปัชฌาย์อาจารย์ ญาติสี่สกุลเจ็ดชั่วโคตรของข้าพเจ้า เจ้ากรรมนายเวร ปู่ ย่า ตา ยาย เทวดาประจำตัวข้าพเจ้า ,เทวดาประจำองค์พระพิมพ์ทุกองค์ ,พระมหากษัตริย์ทุกๆพระองค์ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช,สมเด็จพระเอกาทศรถ,สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช, พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ,พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้า ,พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท ,พระยาพิชัยดาบหัก ,กรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ ,กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ,พระสยามเทวาธิราช <O:p</O:p
    <O:p</O:p

    ขอถวายบุญกุศลแด่พระภูมิ-เจ้าที่ที่บ้านข้าพเจ้า ,แม่ย่านางรถของข้าพเจ้า,ผู้ที่เสียสละให้กับแผ่นดินไทยทุกท่าน , เพื่อนสนิทมิตรสหายทั้งหลาย เพื่อนสาราสัตว์น้อยใหญ่ เจ้ากรุงพาลี แม่พระธรณี แม่พระคงคา พระเพลิง พระพาย แม่พระโพสพ พระภูมิ-เจ้าที่ พระมหาฤาษีและพระฤาษีทุกๆตน พระพิรุณ พยายมราช นายนิริยบาล ทั้งท้าวจตุโลกะบาลทั้งสี่ ศิริพุทธอำมาตย์ ชั้นจาตุมะหาราชิกาเบื้องบนจนถึงที่สุด พรหมาเบื้องต่ำ และเทพยดาทั้งหลายตลอดทั้งอินทร์ พรหม ยม ยักษ์ คนธรรพ์ นาคา <O:p</O:p
    <O:p</O:p

    ขออุทิศส่วนบุญกุศล ตั้งแต่อเวจีขึ้นมาจนถึงมนุษย์โลก โดยรอบสุดขอบจักรวาลอนันตะจักรวาล ท่านทั้งหลายที่ต้องทุกข์ ขอให้พ้นจากทุกข์ ท่านทั้งหลายที่ท่านได้สุข ขอให้สุขยิ่งๆขึ้นไป <O:p</O:p
    <O:p</O:p

    ด้วยเดชะผลบุญแห่งข้าพเจ้าน้อมถวาย ,ถวายและอุทิศไปให้นี้ จงเป็นอุปนิสัยปัจจัยให้ถึงพระนิพพานในปัจจุบันและอนาคตเบื้องหน้าโน้นเทอญ ฯ<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    ด้วยเดชะบุญแห่งข้าพเจ้าน้อมถวาย ,ถวายและอุทิศนี้ไปให้ทุกๆพระองค์ ,ทุกๆองค์ ,ทุกๆท่าน ขอความคล่องตัว จงมีแก่ตัวข้าพเจ้า และความไม่มีจงอย่าได้เกิดกับข้าพเจ้าจนกว่าข้าพเจ้าจะเข้าสู่พระนิพพานด้วยเทอญ

    พุทธังอนันตัง ธัมมังจัรวาลัง สังฆังนิพพานัง ปัจจโยโหนตุ
    <!-- / message --><!-- sig -->
     
  9. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    สำหรับท่านที่มีความประสงค์ที่จะนำบทสวดหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร และบทกรวดน้ำ นำไปใช้นั้น นำไปใช้ได้ครับ แต่เพียงบอกว่าใครเป็นผู้เขียนครับ

    โมทนาสาธุทิพย์
    โมทนาสาธุทิพย์
    โมทนาสาธุทิพย์
    .
     
  10. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    ขออนุญาตน้อง chaipat นำมาให้เพื่อนๆเป็นกรณีศึกษาในเรื่อง"ศิลปการใช้พระเครื่อง"ที่เขียนโดยอาจารย์ปู่ประถม อาจสาคร ขอให้อ่านในช่วงท้ายเล่มที่ท่านเขียนถึงการมอบพระให้กับหลานของท่าน ๓ ท่านด้วยครับ จะเข้าใจดียิ่งขึ้น..

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD></TD><TD width="100%"><!-- main page contents --><FORM action=private.php?do=managepm&dowhat=delete&pmid=262474 method=post><TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=tcat colSpan=2>ข้อความส่วนตัว: Re: เรื่องศิลปการใช้พระเครื่อง และอัฏฐมงคลวิเศษ</TD></TR><TR><TD class=alt1>Recipients: <!--aries2947-->aries2947, <!--sithiphong-->sithiphong
    </TD></TR></TBODY></TABLE><!-- post # --><TABLE class=tborder id=post cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: 0px; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid"><!-- status icon and date -->[​IMG] วันนี้, 03:11 PM <!-- / status icon and date --></TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: 0px; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: 0px; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: 0px" width=175>:::เพชร:::<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_", true); </SCRIPT>
    สมาชิก

    [​IMG]

    เข้ามาครั้งสุดท้ายเมื่อ: วันนี้ 03:25 PM
    วันที่สมัคร: Jul 2006
    อายุ: 42 ปี
    ข้อความ: 1,604 <!-- Start Post Thank You Hack -->
    ได้ให้อนุโมทนา 12,791 ครั้ง
    ได้รับอนุโมทนา 15,607 ครั้ง ใน 1,647 โพส <!-- End Post Thank You Hack -->
    พลังการให้คะแนน: 1733 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_ style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- icon and title -->Re: เรื่องศิลปการใช้พระเครื่อง และอัฏฐมงคลวิเศษ
    <HR style="COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- / icon and title --><!-- message -->อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ chaipat
    <TABLE style="WIDTH: 732pt; BORDER-COLLAPSE: collapse" cellSpacing=0 cellPadding=0 width=975 border=0 x:str><COLGROUP><COL style="WIDTH: 232pt; mso-width-source: userset; mso-width-alt: 11300" width=309><COL style="WIDTH: 111pt; mso-width-source: userset; mso-width-alt: 5412" width=148><COL style="WIDTH: 118pt; mso-width-source: userset; mso-width-alt: 5741" width=157><COL style="WIDTH: 112pt; mso-width-source: userset; mso-width-alt: 5449" width=149><COL style="WIDTH: 159pt; mso-width-source: userset; mso-width-alt: 7753" width=212><TBODY><TR style="HEIGHT: 25.5pt" height=34><TD class=xl30 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 232pt; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 25.5pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left width=309 height=34>พระปางถวายเนตร</TD><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 111pt; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent" vAlign=top align=left width=148><?xml:namespace prefix = v ns = "urn:schemas-microsoft-com:vml" /><v:line id=_x0000_s1025 style="Z-INDEX: 1; POSITION: absolute" from="97.5pt,21pt" to="228pt,66pt" strokecolor="red [10]" strokeweight="4pt" o:insetmode="auto"></v:line><v:shapetype id=_x0000_t85 coordsize="21600,21600" o:spt="85" adj="1800" path="m21600,qx0@0l0@1qy21600,21600e" filled="f"></V:p<v:handles><v:h position="topLeft,#0" yrange="0,10800"></v:h></v:handles></v:shapetype><v:shape id=_x0000_s1046 style="MARGIN-TOP: 15pt; Z-INDEX: 13; MARGIN-LEFT: 188.25pt; WIDTH: 38.25pt; DIRECTION: ltr; POSITION: absolute; HEIGHT: 78pt; TEXT-ALIGN: left" strokecolor="windowText [64]" strokeweight="4pt" o:insetmode="auto" type="#_x0000_t85" fillcolor="window [65]"><v:stroke endarrow="block"></v:stroke></v:shape><v:line id=_x0000_s1054 style="Z-INDEX: 17; POSITION: absolute; flip: x y" from="111pt,7.5pt" to="228.75pt,35.25pt" strokecolor="red [10]" strokeweight="4pt" o:insetmode="auto"><v:stroke endarrow="block" dashstyle="1 1"></v:stroke></v:line><v:line id=_x0000_s1058 style="Z-INDEX: 21; POSITION: absolute" from="114.75pt,6.75pt" to="227.25pt,9pt" strokecolor="#f60 [53]" strokeweight="4pt" o:insetmode="auto"><v:stroke endarrow="block" dashstyle="1 1"></v:stroke></v:line><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TD class=xl23 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 111pt; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 25.5pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left width=148 height=34>วันอาทิตย์</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD class=xl22 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 118pt; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent" width=157></TD><TD class=xl24 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 112pt; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left width=149>วันพฤหัสบดี</TD><TD class=xl30 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 159pt; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left width=212>พระปางสมาธิ</TD></TR><TR style="HEIGHT: 25.5pt" height=34><TD class=xl30 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 25.5pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=34>พระปางห้ามญาติ</TD><TD class=xl25 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left>วันจันทร์</TD><TD class=xl22 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent"></TD><TD class=xl26 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left>วันพุธ</TD><TD class=xl30 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left>พระปางอุ้มบาตร</TD></TR><TR style="HEIGHT: 25.5pt" height=34><TD class=xl30 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 25.5pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=34>พระปางรำพึง</TD><TD class=xl27 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left>วันศุกร์</TD><TD class=xl22 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent"></TD><TD class=xl28 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left>วันอังคาร</TD><TD class=xl30 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left>พระปางไสยาสน์</TD></TR><TR style="HEIGHT: 25.5pt" height=34><TD class=xl30 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 25.5pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=34>พระปางมารวิชัยและปางป่าลิไลยก์</TD><TD class=xl31 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left>วันราหู</TD><TD class=xl22 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent"></TD><TD class=xl29 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left>วันเสาร์</TD><TD class=xl30 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left>พระปางนาคปรก</TD></TR></TBODY></TABLE>

    จากภาพดังกล่าวข้างต้น ผมนำบทความทั้งสองมาพิจารณา
    และมิได้เจตนาไปเป็นอย่างอื่น นะท่านพี่หนุ่ม
    ผมสนใจเรื่องนี้พอสมควรครับ จึงได้เรียบเรียงที่ตนเข้าใจ ดังนี้

    1.วันอาทิตย์ มีคู่อริ 4 วัน ได้แก่
    วันอังคาร วันพุธ วันเสาร์ และวันราหู
    มีวันศุกร์ เป็นวันกาลกิณี
    และวันอาทิตย์ เป็นเพื่อนกับวันพฤหัสบดี

    <TABLE style="WIDTH: 753pt; BORDER-COLLAPSE: collapse" cellSpacing=0 cellPadding=0 width=1004 border=0 x:str><COLGROUP><COL style="WIDTH: 112pt; mso-width-source: userset; mso-width-alt: 5449" width=149><COL style="WIDTH: 159pt; mso-width-source: userset; mso-width-alt: 7753" width=212><COL style="WIDTH: 366pt; mso-width-source: userset; mso-width-alt: 17846" width=488><COL style="WIDTH: 116pt; mso-width-source: userset; mso-width-alt: 5668" width=155><TBODY><TR style="HEIGHT: 25.5pt" height=34><TD class=xl25 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 112pt; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 25.5pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left width=149 height=34>วันอาทิตย์</TD><TD class=xl24 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 159pt; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left width=212>บริวาร (ลก)</TD><TD class=xl32 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 366pt; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left width=488>ผู้ที่ต้องให้อุปการะเลี้ยงดู, สิ่งที่อยู่รอบตัวเรา</TD><TD class=xl26 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; WIDTH: 116pt; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left width=155>วันพฤหัสบดี</TD></TR><TR style="HEIGHT: 25.5pt" height=34><TD class=xl27 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 25.5pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=34>วันจันทร์</TD><TD class=xl24 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left>อายุ (ซิว)</TD><TD class=xl32 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left>ความแข็งแรง ปราศจากโรคภัย</TD><TD class=xl28 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left>วันพุธ</TD></TR><TR style="HEIGHT: 25.5pt" height=34><TD class=xl30 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 25.5pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=34>วันอังคาร</TD><TD class=xl24 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left>เดช (ฮก)</TD><TD class=xl32 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left>อำนาจ บารมีเกริกไกร ความเจริญก้าวหน้าในวิถีชีวิต ชื่อเสียง</TD><TD class=xl29 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left>วันศุกร์</TD></TR><TR style="HEIGHT: 25.5pt" height=34><TD class=xl28 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 25.5pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=34>วันพุธ</TD><TD class=xl24 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left>ศรี</TD><TD class=xl32 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left>ความงาม ความดี ความเจริญ ความร่มเย็นเป็นสุข</TD><TD class=xl27 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left>วันจันทร์</TD></TR><TR style="HEIGHT: 25.5pt" height=34><TD class=xl26 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 25.5pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=34>วันพฤหัสบดี</TD><TD class=xl24 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left>อุตสาหะ</TD><TD class=xl32 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left>ความขยันมั่นเพียร การงาน การศึกษา</TD><TD class=xl34 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent">วันอาทิตย์</TD></TR><TR style="HEIGHT: 25.5pt" height=34><TD class=xl29 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 25.5pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=34>วันศุกร์</TD><TD class=xl24 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left>กาลกิณี</TD><TD class=xl32 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left>ศัตรู อุปสรรค ความทุกข์ยาก</TD><TD class=xl35 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent">วันอังคาร</TD></TR><TR style="HEIGHT: 25.5pt" height=34><TD class=xl31 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 25.5pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=34>วันเสาร์</TD><TD class=xl24 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left>มูละ</TD><TD class=xl32 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left>บ้านเรือนที่อยู่อาศัย บิดามารดา หลักฐานความมั่นคง ทุนทรัพย์</TD><TD class=xl33 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left>วันราหู</TD></TR><TR style="HEIGHT: 25.5pt" height=34><TD class=xl33 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; HEIGHT: 25.5pt; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left height=34>วันราหู</TD><TD class=xl24 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left>มนตรี</TD><TD class=xl32 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left>ผู้ให้ความคุ้มครอง ผู้ช่วยเหลือ เจ้านาย</TD><TD class=xl31 style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent" align=left>วันเสาร์</TD></TR></TBODY></TABLE>

    โดยคร่าวๆ ถ้าเกิดวันอาทิตย์ควร แขวนพระ ประจำวันอาทิตย์ และ/หรือ วันพฤหัสบดี

    ลองลงมาก็ วันจันทร์ แต่วันจันทร์ เป็นเพื่อนกับวันพุธ ซึ่งวันพุธ เป็นอริกับวันอาทิตย์

    ในบทความปู่ท่าน พิจารณาทั้งสีของวัน และปางพระของวันด้วยครับ

    และหากเราแขวนพระ ที่ไม่ชงกับตัวเรา แต่เป็นกาลกิณี คนในครอบครัวละจะเป็นอย่างไร

    และถ้าไม่ชงกับตัวเรา แต่พระท่านเป็นเพื่อนกันวันนั้นๆ ที่เป็นคู่อริ กับวันที่เราเกิดจะเป็นอย่างไร

    เช่น เกิดวันอาทิตย์ แขวนพระประวันจันทร์ และสีเหลืองด้วย ซึ่งวันจันทร์ มีวันพุธเป็นเพื่อน วันพุธเป็นคู่อริ กับวันอาทิตย์ จะเป็นอย่างไร ประเด็นนี้ในบทความใช้คำว่า

    "คู่ศัตรู" ครับ ผมละแปลตั้งนาน เพื่อนศัตรู
    ประเด็นนี้เป็นรองครับ

    สู้ประเด็นที่ ไม่ชงกับตัวเรา แต่ชงกับคนในครอบครัวนี่ซิ น่าคิดครับ

    อันนี้ก็เป็นตัวอย่างนะครับ เพราะผมมีการโยงเส้นสายด้วย แต่มันไม่แสดงครับ

    รักและเคารพครับ
    สาธุครับ[​IMG][​IMG][​IMG]

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    มาคุยกันในเรื่องของสี และปางพระพุทธ อาจจะเลยล่วงไปที่ธาตุด้วยเลย..ตามแต่ใจอยากจะเขียนอะไรนะครับ

    เกี่ยวกับสีแดง ปางมารวิชัย กรุฮอดนี้ อาจจะไม่เหมาะกับคนเกิดวันอาทิตย์ หากเราถือตามปางพระพุทธ ปางที่เหมาะคือปางถวายเนตร แต่ก็อีกครับ ปางพระพุทธบางปางไม่ได้จัดสร้างเป็นองค์พระ จึงต้องทำใจหาวันคู่มิตร หรือดาวคู่มิตรแทน เช่น เรา รู้สึกว่า A เป็นเพื่อนที่ดี ช่วยแนะนำเราเป็นบางโอกาส และมีน้ำใจ เป็นต้น เท่านี้เรารู้สึกละว่าเขาน่าจะเป็นมิตรที่ดี แต่ก็อีกนั่นแหละ A อาจจะไม่เป็นที่โปรดปานกับ B เท่าไหร่ เพราะ B เป็นคนที่ช่วยเหลือตัวเองตลอดมา ไม่เคยง้อใคร จึงรู้สึกว่า A ออกจะยุ่งกับชีวิตเค้าเหลือเกิน จะไปไหนก็ถามอยู่นั่น เหมือนคอยจับผิด ..

    กรณีตัวอย่างนี้ เรากับ A ok กัน และเรากับ B ก็ok กัน แต่ A กับ B ต่างไม่ ok กัน แบบนี้ หากเป็นเรา เรายังจะคบหา B หรือไม่ เพียงเพราะว่า A กับ B ไม่ถูกกันเท่านั้น ลองคิดดู...

    ต่อไปนี้ เป็นเรื่องราวที่พี่ค้นพบ อาจจะไม่ตรงตามตำราอาจารย์ปู่ประถมเท่าไหร่ ซึ่งพี่คิดว่าการต่อยอดความคิดเป็นเรื่องสำคัญ อย่าให้วิชาใดมีอิทธิพลเหนือความสมดุลในจิตวิญญาณของเรา การบูชาพระนั้นเป็นเรื่องดี พระทั้ง ๘ วันนั้นดีทั้งหมดครับ พระท่านไม่ได้ผิดที่มีปางนั้นปางนี้ที่ไม่เหมาะกับเรา เราเองต่างหากที่ดันเกิดมาแล้ว ทำไมถึงไม่สามารถจะห้อยพระองค์นั้นได้ต่างหาก แสดงว่า เราเลือกเกิดไม่ได้ แต่เลือกเป็นได้...

    หากเราจะบูชาพระตามสีประจำวันขึ้นคอแล้ว เราควรพิจารณาอะไรบ้าง เช่น ธนวัฒน์เกิดวันอาทิตย์ สีประจำตัวคือสีแดง เป็นธาตุไฟ พี่คิดว่าทำยังไงถึงจะให้ร่างกาย และจิตวิญญาณเราสมดุลด้วยธาตุทั้ง ๔ ก่อน เริ่มตรงนี้ก่อน หากไม่ยึดตามนี้เดี๋ยวจะไปตีกับกรณี A และ B ที่ยกให้เห็นนั้น พี่ถือว่าเวลาเราจุติในวันอาทิตย์ นั่นย่อมมีเชื่อของวันอาทิตย์ติดมาแต่เกิด ไม่มีสิ่งใดจะลบเลือนไปได้ให้เราไปเกิดวันจันทร์ อังคาร พุธ... ดังนั้น ถือว่านี่คือดาวประจำตัวของเรา ซึ่งดาวนี้จะเสวยอายุนาน ๖ ปี ถัดจากนั้น ดาวจันทร์เสวยอายุต่ออีก ๑๕ ปี ไปเรื่อย ลองหาอ่านจากตำราโหราศาสตร์เอานะครับ หากเราอยู่ครบ ๑๐๘ ปี เท่ากับว่าดาวทั้ง ๘ เสวยอายุเราครบ ๑ รอบพอดี แต่น้อยคนมากที่จะอยู่ถึง ๑๐๘ ปี ยิ่งปัจจุบันนี้ด้วยแล้ว และการเริ่มต้นดูดวงก็ต้องยึดฐานดาวเกิดก่อน คือดาวอาทิตย์นั่นเอง พี่จึงวิเคราะห์ว่า หากเราสวมใส่พระนี้ตลอดเวลา เราเองมีจิตวิญญาณของธาตุไฟแต่เดิมแล้ว เราก็ไม่สมควรจะเอาธาตุไฟไปเพิ่มจากภายนอกคือการสวมใส่พระสีแดงอีก เพราะมีจากภายในแล้ว ดังนั้นธาตุที่ต้องการคือดิน น้ำ ไม้(แทนลม) ทอง และพิจารณาพระพุทธปางสมาธิ และปางถวายเนตร ปางถวายเนตรตัดทิ้งไป เพราะจนปัญญาในการหา ลำพังกรุฮอดนี้ก็หาค่อนข้างยากอยู่แล้ว กว่าจะพบพี่ใช้เวลาตามหาอยู่ราวๆ ๑๕ ปี จึงเหลือ สมาธิปางเดียว ประกอบกับสีเหลือง(ธาตุดิน) เป็นสีวันจันทร์ สีดำ(ธาตุน้ำ) เป็นวันราหูพุธกลางคืน สีเขียว(ธาตุไม้) ก็เป็นวันพุธ เราพอจะเห็นไม๊ครับว่า มันชักจะยุ่ง และมึนมาก ไม่รู้ว่าเราจะยึกหลักอะไรกัน ดังนั้นกลับมาที่พื้นฐานของชีวิตก่อน เรายอมรับไม๊ครับว่า ชีวิตเรามีทั้งสุข และทุกข์ผสมกันไปในอัตราส่วนมากน้อยต่างกันตามกรรมที่เคยสร้างสมกันมา แต่รับรองว่า เขาคนนั้นเกิดมาย่อมไม่ได้พกพาความทุกข์มาอย่างเดียวแน่ หรือไม่ได้พกพาความสุขมาทั้งชีวิตอีกแน่ ดังนั้น สุจทุกข์ผสมกันไปในร่างๆหนึ่ง ถึงจะประกอบเป็นมนุษย์ การเป็นเช่นนี้ พี่คิดว่า ทำให้เราได้มีเวลา และโอกาสในการพิจารณารูป กาย สังขาร และสิ่งที่เราจะเดินทางไปในกาลข้างหน้า หากสุขอย่างเดียวก้ไปไม่ถึงจุดหมายเพราะมัวหลงกับความสุข คิดว่าคือที่สุดของมัน ตัดไม่ขาดจากความสุขทางโลก จะไปถึงปลายทางที่พระนิพพานได้อย่างไร ...

    การเลือกส่วนผสมที่สมดุลกับเราคือตั้งมีครบทุกสี แต่ต้องพิจารณาว่าสีที่เป็นปัญหานั้นไม่มีอิทธิพลเหนือสีหลักมาก กรณีหากเป็นพระกรุฮอด ควรเลือกสีแดง หรือ สีน้ำตาล หรือสีน้ำผึ้งไหม้ หรือสีเหลือง(กลางๆ)ปางสมาธิ หากเป็นปัญจสิริ ก็ควรมีครบทุกสี แต่สีเขียว สีดำ สีน้ำเงิน ควรมีเล็กน้อยเท่านั้น รองลงมาสีแดงมากกว่าสี 3 สีที่กล่าวมาข้างต้น สีเหลืองควรมากหน่อย ไปเน้นที่อายุแทนด้วย คือการดำเนินชีวิต โรคภัยไข้เจ็บอย่าให้เกิดมากมาย

    เหล่านี้คือทัศนะของพี่ที่ได้ศึกษา และนำมาใช้ในเวลานี้ การมอบพระเครื่องหากเอาละเอียดขึ้นต้องดูว่าปุจจุบันนี้ดาวอะไรเสวยเข้าอายุเขา สมมมติว่าเกิดวันอาทิตยื อายุ ๓๐ เท่ากับขณะนี้ดาวพุธกำลังเสวยอายุเขาอยู่ และอยู่ถึง ๑๗ ปีทีเดียว ถามว่า เราจะรังเกียจดาวพุธหรือตลอด ๑๗ ปีที่จะถึงนี้ ทางที่ดีคือ ในเมื่อเอาชนะเขาไม่ได้ ก็เป็นเพื่อนเขาไปซะเลย แบบนี้ปลอดภัยแน่ ในเมื่อต้องอยู่แล้ว จะอยู่อย่างไรให้มีความสุขต่างหาก...

    พยายามปรับใช้ให้เหมาะสม จะมีความสุขทุกย่างก้าว ไม่ยึดติดมากเกินไป เพราะหากยึดติดศาสตร์ใด ศาสตร์หนึ่ง จะไปขัดแย้งกับอีกศาสตร์หนึ่ง ดูความเหมาะสมกับเรา เวลา และ สถานการณ์เป็นหลักครับ อยู่ที่ว่า เราหาเหตุผลมาสนับความเชื่อของเราตรงนั้นได้อย่างไร จึงตัดสินใจแบบนั้น ..

    ขอให้มีความสุขครับ...

    <!-- / message --><!-- sig --></TD></TR></TBODY></TABLE></FORM></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  11. กุ้งมังกอน

    กุ้งมังกอน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    142
    ค่าพลัง:
    +1,181
    สวาท...ดี.ครับบบบทุกคน เมื่อวาน ได้โอนเงินร่วมทำบุญสร้างพระเจดีย์ชัยผาผึ้ง จ.ชัยภูมิ จำนวนเงิน 3,000 บาทครับ ขอโมทนา สาธุ สาธุ สาธุ ด้วยครับ.(ไปเจอคุณหนุ่มทีไรก็ได้เห็นของดีบนคอทุกที เหออออ..5555)
    ขอบคุณ ขอบคุณ ขอบบบ คุณเป็นอันขาด อิอิอิอิ
    (tm-love) (kiss) (kiss) (kiss)
     
  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ :::เพชร::: [​IMG]
    ขออนุญาตน้อง chaipat นำมาให้เพื่อนๆเป็นกรณีศึกษาในเรื่อง
    "ศิลปการใช้พระเครื่อง"ที่เขียนโดยอาจารย์ปู่ประถม อาจสาคร ขอให้อ่านในช่วงท้ายเล่มที่
    ท่านเขียนถึงการมอบพระให้กับหลานของท่าน ๓ ท่านด้วยครับ จะเข้าใจดียิ่งขึ้น..
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    การศึกษาและค้นคว้า มิใช่เรียนแค่ตำรา ต้องพิสูจน์ด้วยตนเองด้วยว่า สิ่งที่เรียนรู้และศึกษานั้น ผลเป็นอย่างไร เรียนแล้วถ้าไม่มีการสอบ จะรู้ได้อย่างไรว่า สิ่งที่เรียนนั้นรู้จริง ใช่จริงหรือไม่อย่างไรนะครับน้องchaipat

    .
     
  13. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    โมทนาสาธุครับ

    จุ๊ ๆ ๆ ๆ ๆ ๆ อย่าดังไป

    (*) (*) (*) (*) (*)
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 4 ตุลาคม 2007
  14. drmetta

    drmetta เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มิถุนายน 2007
    โพสต์:
    131
    ค่าพลัง:
    +752
    เรียน คุณสิทธิพงศ์ ที่นับถือ

    อย่าท้อถอยและอย่า ท้อแท้นะครับ ยังมีอีกหลายต่อหลายคน ที่ต้องการเรียนรู้จาก ความรู้อันมีคุณค่า ซึ่งจะเปรียบหาค่าไม่ได ที่คุณโดยส่วนตัวและคณะที่ได้พยายามพากเพียรกระทำมาโดยตลอด อาจจะมีหลายกลุ่มที่เห็นไปในทางอื่น ก็อาจจะเป็นเพราะมีปัญญาที่ต่างกัน ถือเสียว่าเป็นส่วนหนึ่งของสัจจะธรรม ที่คนคนนั้น ยังไม่สามารถละ......ตัวกูของกูได้
     
  15. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    ผมขอบคุณคุณ drmettaที่ให้กำลังใจท่าน ปา-ทานอีกคนครับ ความรู้เป็นสิ่งที่ยิ่งใหญ่ศึกษาไม่มีวันหมดจริงๆครับ(rose)
    nongnooo...
     
  16. ตั้งจิต

    ตั้งจิต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2005
    โพสต์:
    1,574
    ค่าพลัง:
    +5,485
    (bb-flower
     
  17. ตั้งจิต

    ตั้งจิต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2005
    โพสต์:
    1,574
    ค่าพลัง:
    +5,485
    (bb-flower
     
  18. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    ช่างเถอะ พี่วางไปแล้ว เรายังไม่วางอีกหรือ...
     
  19. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    ขอขอบพระคุณครับ

    โมทนาสาธุทิพย์

    .
     
  20. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    http://hilight.kapook.com/view/15974

    คลอดกฏหมาย ห้ามใช้มือถือบนรถ เข้า สนช.3 ต.ค.




    <CENTER>[​IMG]

    ผู้สื่อข่าวรายงานเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม ว่า นายมีชัย ฤชุพันธุ์ ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ได้มีหนังสือเรียกประชุม สนช. ในวันที่ 3 ตุลาคม เพื่อพิจารณาเรื่องด่วน ร่างพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) คุณสมบัติมาตรฐานสำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ

    ซึ่งคณะกรรมาธิการ (กมธ.) วิสามัญ พิจารณาเสร็จแล้วและแก้ไข อาทิมาตรา 8 จัตวา เรื่องการจ้างและแต่งตั้งผู้บริหารของรัฐวิสาหกิจ ได้เพิ่มข้อยกเว้นแก่ผู้บริหารของรัฐวิสาหกิจที่เป็นกรรมการโดยตำแหน่งว่า "มีอายุไม่เกิน 58 ปีบริบูรณ์ในวันยื่นใบสมัคร" และเพิ่มว่า "การจ้างและแต่งตั้งผู้บริหารของรัฐวิสาหกิจ ต้องดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 1 ปีนับแต่วันที่ผู้บริหารเดิมพ้นจากตำแหน่ง" พร้อมทั้งเพิ่มให้การจ้างผู้บริหารเดิมนั้นไม่ต้องดำเนินการสรรหา แต่จะจ้างเกิน 2 ครั้งติดต่อกันไม่ได้
    นอกจากนี้ จะมีการพิจารณาเรื่องด่วน ร่างพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) จราจรทางบก ตามที่คณะรัฐมนตรี (ครม.) เป็นผู้เสนอ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติม พ.ร.บ.จราจรทางบก พ.ศ.2522 กำหนดห้ามผู้ขับขี่ขับรถในขณะใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ เว้นแต่การใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่โดยใช้อุปกรณ์เสริมสำหรับการสนทนา โดยผู้ขับขี่ไม่ต้องถือหรือจับโทรศัพท์เคลื่อนที่นั้น ผู้ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามไว้ว่า ต้องระวางโทษปรับตั้งแต่ 400 บาท ถึง 1,000 บาท


    [​IMG]ข่าวที่เกี่ยวข้อง





    ข้อมูลจาก
    [​IMG]
    ภาพประกอบทางอินเทอร์เน็ต​
    </CENTER>
     

แชร์หน้านี้

Loading...