สนทนาภาคปฏิบัติธรรมที่ควรรู้ของ "หลวงปู่ดู่ พรหมปัญโญ" สำหรับอนุชนรุ่นหลังๆ

ในห้อง 'ประสบการณ์ เรื่องเล่า' ตั้งกระทู้โดย Follower007, 15 สิงหาคม 2011.

  1. Follower007

    Follower007 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    201
    ค่าพลัง:
    +303
    <table width="100%" border="0" cellpadding="2" cellspacing="0"><tbody><tr><td>[​IMG]</td> </tr> <tr> <td>metha </td> </tr> </tbody></table>
    Posts: 73 topics
    Joined: 9/12/2552

    <table width="100%" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"><tbody><tr> <td class="dot-bottom"><table width="100%" border="0" cellpadding="4" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="25" height="25" align="center">[​IMG]</td> <td><table width="100%" border="0" cellpadding="2" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td>ความคิดเห็นที่ 4 « on 21/2/2555 9:37:00 IP : 110.77.138.63 »</td> <td rowspan="2" valign="top" align="right">[​IMG] </td> </tr> <tr> <td>Re: วันนี้วันพระ...มาภาวนากันนะ</td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td>
    </td> </tr> <tr> <td> สมาชิกบางท่านวันพระก็ตั้งใจรักษาศีล๕ รักษาอุโบสถศีลกัน
    หลวงปู่เคยแนะนำศิษย์ฆราวาสว่า ระหว่างศีล๕ กับศีล๘ นั้น
    หากผู้ใดต้องการรักษาศีลให้ละเอียดขึ้น ก็รักษาศีล๕
    แล้วเพิ่มโดย เปลี่ยนการสมาทานข้อ ๓ กาเมสุมิจฉา....
    เป็น อพรหมจริยา...เว้นจากการประพฤติผิดพรหมจรรย์แทน
    การปฎิบัติภาวนาของผู้นั้น ก็จะมีความเจริญก้าวหน้าขึ้นไปอีก
    ขออนุโมทนากับความตั้งใจของทุกๆ ท่าน
    ผู้ถึงพร้อมซึ่งอามิสบูชา และ ปฎิบัติบูชา ครบตามแบบพระพุทธเจ้า
    ท่านที่สนใจ สามารถศึกษาเรื่องศีลเพิ่มเติม ได้ตาม link นี้นะครับ
    ��������ó��ѹ������԰ �� �. ��гյ ��ͧ��ط�
    </td> </tr> <tr> <td>
    </td></tr></tbody></table>
    ***************************
    Luangpudu.com / Luangpordu.com
     
  2. limited-edition

    limited-edition เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 ธันวาคม 2010
    โพสต์:
    304
    ค่าพลัง:
    +337
    ธรรมะของหลวงปู่ ไม่มีประมาณ
    เข้าใจง่ายใช้ได้จริง
    นะโมพรหมปัญโญๆๆ
    สาธุ
     
  3. Yanky1890

    Yanky1890 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 เมษายน 2010
    โพสต์:
    146
    ค่าพลัง:
    +234
    นะโม พรหมปัญโญ
    นะโม พรหมปัญโญ
    นะโม พรหมปัญโญ
    _/I\_
    _/I\_ _/I\_
     
  4. Follower007

    Follower007 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    201
    ค่าพลัง:
    +303
    บางวันอยากนั่งภาวนาบางวันไม่นั่งภาวนาเป็นเพราะอะไรครับ

    <table border="0" cellpadding="2" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td style="background-color: #eceef4;" align="center">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td style="background-color: #eceef4;">metha</td> </tr> </tbody></table>
    Posts: 74 topics
    Joined: 9/12/2552

    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr> <td class="dot-bottom" style="background-color: #FFFFFF;"><table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td style="background-color: #FFFFFF;" height="25" width="25" align="center">[​IMG]</td> <td style="background-color: #FFFFFF;"><table border="0" cellpadding="2" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td style="background-color: #FFFFFF;">คำถามน่าสนใจจากคุณวิษณุ
    </td> </tr> <tr> <td style="background-color: #FFFFFF;">« Thread Started on 25/2/2555 10:02:00 IP : 171.7.83.203 »</td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td style="background-color: #FFFFFF;">
    </td> </tr> <tr> <td style="background-color: #FFFFFF;">
    <table style="width: 100%;" bgcolor="#d1d7dc" border="0" cellpadding="6" cellspacing="1"> <tbody> <tr> <td bgcolor="#fafafa" height="50" valign="top"> 1. เมื่อนั่งปฏิบัติภาวนาก่อนนอนแล้วเกิดความฟุ้งซ่านรำคาญใจเรื่องต่างๆ
    ที่ผ่านมาในแต่ละวันมีวิธีการอย่างไรบ้างครับที่ทำให้จิตใจสงบ
    2. บางวันอยากนั่งภาวนาบางวันไม่นั่งภาวนาเป็นเพราะอะไรครับ
    ส.ต.อ.วิษณุฯ
    </td> </tr> </tbody> </table>
    ตอบดังนี้นะครับ
    1. หลวงปู่สอนไว้ว่า ตลอดทั้งวัน จะยืน จะเดิน จะนั่ง จะนอน ให้คุมไว้
    คุมหมายถึงเฝ้าดูจิต รักษาจิตของเรา ไม่ให้โกรธ ไม่ให้โลภ ไม่ให้หลง
    หากเราตั้งใจอย่างนี้ ตั้งแต่เช้าจนเข้านอนทุกวัน ก่อนนอนก็จะไม่ฟุ้งซ่านมาก
    คุณวิษณุตอนบวชเคยกวาดใบไม้ในวัดหรือเปล่า ถ้าเราค่อยๆกวาดเป็นกองๆ
    กวาดบ่อยๆเก็บบ่อยๆ ก็ไม่ต้องมาเก็บกวาดมากฉันใด ใจเราก็ฉันนั้น
    ไม่เกลี่ยจิตให้เข้าที่ ปล่อยเละๆเทะๆทั้งวัน จะมานั่งเก็บกวาดทีเดียว ก็ยากนะ
    2. หลวงปู่ท่านเคยตอบคำถามทำนองนี้ด้วยคำเพียงคำเดียวว่า
    "อารัมมะณะปัจจะโย" วันนั้นพวกเราอุทานว่า โอ้โห! หลวงปู่ว่าบาลี
    หลวงปู่อมยิ้ม เหมือนรูปที่หน้าเว็บเรา ก่อนอธิบายให้ฟังว่า
    เอ้า! ที่พระท่านสวดน่ะ อารัมมะณะปัจจะโย อารมณ์เป็นปัจจัย
    ภายหลังผมถึงได้รู้ว่าหลวงปู่ท่านกล่าวถึงบทสวดที่เรียกว่า "พระมหาปัฏฐาน"
    ในงานศพที่สวดพระอภิธรรม ลองไปหาอ่านดูกัน ...
    เหตุปัจจะโย อารัมมะณะปัจจะโย อะธิปะติปัจจะโย อะนันตะระปัจจะโย
    สะมะนันตะระปัจจะโย สะหะชาตะปัจจะโย อัญญะมัญญะปัจจะโย
    นิสสะยะปัจจะโย อุปะนิสสะยะปัจจะโย ...
    ที่เหลือคุณวิษณุต้องตอบเองว่า
    จะกำจัดอารมณ์ขี้เกียจได้อย่างไร
    และจะรักษาอารมณ์ขยันของตัวไว้ได้อย่างไร


    [​IMG]
    </td></tr></tbody></table>

    Luangpudu.com / Luangpordu.com
     
  5. Follower007

    Follower007 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    201
    ค่าพลัง:
    +303
    แบบฝึกหัดที่ ๑ ที่หลวงปู่สอนผม คือ

    <table border="0" cellpadding="2" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td>[​IMG]</td> </tr> <tr> <td>metha </td> </tr> </tbody></table>
    Posts: 75 topics
    Joined: 9/12/2552

    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr> <td class="dot-bottom"><table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td height="25" width="25" align="center">[​IMG]</td> <td><table border="0" cellpadding="2" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td>ความคิดเห็นที่ 16 « on 21/2/2555 0:08:00 IP : 171.7.138.252 »</td> <td rowspan="2" valign="top" align="right">[​IMG] </td> </tr> <tr> <td>Re: อาหารสมองเช้าวันจันทร์ - คำถามจาก Brass Lanterns</td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td>
    </td> </tr> <tr> <td> <table style="width: 99%;" border="0" align="center"> <tbody> <tr> <td> <table style="width: 500px;" border="0" cellpadding="2" cellspacing="0" align="center"> <tbody> <tr> <td>ณัฐฐ์ Talk:</td> </tr> <tr> <td> <table style="width: 100%;" bgcolor="#d1d7dc" border="0" cellpadding="6" cellspacing="1"> <tbody> <tr> <td bgcolor="#fafafa" height="50" valign="top"> มารายงานตัวแล้วค่า อ่านไปก็นึกตามไปว่าไตรสรณาคมน์ยังไง
    ให้ปากกับใจตรงกัน และยังไงคือ "ถึง เป็น ได้" ที่ไม่ใช่แค่รู้เฉยๆ
    แต่ทำให้มันได้จริงๆ
    อีกนานมั้ยหนอถึงจะทำได้...
    [​IMG]
    </td> </tr> </tbody> </table> </td> </tr> </tbody> </table>


    </td> </tr> </tbody> </table> คุณณัฐฐ์ และเพื่อนสมาชิกครับ

    แบบฝึกหัดที่ ๑ ที่หลวงปู่สอนผม คือ
    ก่อนที่จะกล่าวคำภาวนาไตรสรณาคมน์ขึ้นที่จิตนั้น
    ให้ระลึกถึงพระพุทธเจ้าด้วยความเคารพก่อน
    (ส่วนวิธีนึกหรือระลึกขึ้นอยู่กับกุศโลบายของแต่ละคน)
    จากนั้นจึงค่อยกล่าวคำภาวนา
    พุทธัง สรณัง คัจฉามิ ธัมมัง สรณัง คัจฉามิ สังฆัง สรณัง คัจฉามิ
    ฝึกให้ได้อย่างนี้ทุกครั้ง
    จิตก็จะคุ้นกับการระลึกถึงพระด้วยความเลื่อมใส
    ปากกับใจ ก็จะตรงกันดังนี้แล....

    </td></tr></tbody></table>

    Luangpudu.com / Luangpordu.com
     
  6. tong5959

    tong5959 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 กรกฎาคม 2009
    โพสต์:
    2,056
    ค่าพลัง:
    +6,082
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=dot-bottom></TD></TR><TR><TD>


    </TD></TR><TR><TD><TABLE style="WIDTH: 99%" align=center border=0><TBODY><TR><TD>

    </TD></TR></TBODY></TABLE>แบบฝึกหัดที่ ๑ ที่หลวงปู่สอนผม คือ
    ก่อนที่จะกล่าวคำภาวนาไตรสรณาคมน์ขึ้นที่จิตนั้น
    ให้ระลึกถึงพระพุทธเจ้าด้วยความเคารพก่อน
    (ส่วนวิธีนึกหรือระลึกขึ้นอยู่กับกุศโลบายของแต่ละคน)
    จากนั้นจึงค่อยกล่าวคำภาวนา
    พุทธัง สรณัง คัจฉามิ ธัมมัง สรณัง คัจฉามิ สังฆัง สรณัง คัจฉามิ
    ฝึกให้ได้อย่างนี้ทุกครั้ง
    จิตก็จะคุ้นกับการระลึกถึงพระด้วยความเลื่อมใส
    ปากกับใจ ก็จะตรงกันดังนี้แล....


    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    Luangpudu.com / Luangpordu.com[/QUOTE]

    สาธุครับ...[​IMG]
     
  7. comeon

    comeon เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 สิงหาคม 2011
    โพสต์:
    159
    ค่าพลัง:
    +149

    อนุโมทนาค่ะ สาธุ สาธุ:cool:
     
  8. Follower007

    Follower007 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    201
    ค่าพลัง:
    +303
    "...เมื่อใดที่แกเห็นความดีในตัว เมื่อนั้นจึงนับว่าแกรู้จักข้าดีขึ้น"

    [FONT=verdana,geneva] "...เมื่อใดที่แกเห็นความดีในตัว เมื่อนั้นจึงนับว่าแกรู้จักข้าดีขึ้น"

    [/FONT]ความหมายของคำว่า "...รู้จักข้าดีขึ้น"
    [FONT=verdana,geneva]
    [/FONT][FONT=verdana,geneva]วันก่อนมีคนสอบถามความหมายของประโยคที่หลวงปู่กล่าวว่า "...เมื่อใดที่แกเห็นความดีในตัว เมื่อนั้นจึงนับว่าแกรู้จักข้าดีขึ้น"[/FONT]
    ความ หมายก็คือ จิตที่ยังหยาบหรือยังมิได้รับการอบรมในศีล สมาธิ และปัญญาดีพอ ก็ย่อมไม่ได้สัมผัสธรรมที่ใจเจ้าของ กล่าวคือคุณธรรมความดียังไม่เกิด หรือเกิดไม่มากพอ ใจยังชุ่มอยู่ด้วยราคะ โทสะ โมหะ ใจชนิดนี้จึงยังไม่ซึ้งในคุณพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์
    ก็ ในเมื่อจิตยังไม่ซึ้งในคุณพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ เวลากราบพระก็ไม่ถูกพระ ถูกแต่กระดานอยู่ตราบใด ใจนั้นจะรู้ถึงคุณธรรมความดีของหลวงปู่ก็ย่อมไม่มี ได้แต่รู้นอก ๆ รู้ผิวเผินว่าหลวงปู่ชื่อนั้นชื่อนี้ อยู่วัดนั้นวัดนี้ มีผู้คนมากราบไหว้ท่านมาก พระที่ท่านอธิษฐานจิตให้ ใคร ๆ ก็อยากได้ ฯลฯ ก็จบเพียงแค่นี้
    แต่สำหรับผู้ที่น้อมนำคำสอน ของท่านไปปฏิบัติดัดกายวาจาจิตของตนจนใจเข้าใกล้ความเป็นพระ ใจเริ่มสว่าง ใจเริ่มสงบ ใจเริ่มไม่ถูกย่ำยีด้วยอำนาจแห่งความโกรธ โลภ หลง ใจเริ่มทันกิเลส เป็นใจที่ปลอดโปร่งและคลายความสงสัยในคุณพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ ใจเช่นนี้แหละจึงจะซึ้งในคุณความดีของหลวงปู่ ซึ้งในธรรมที่หลวงปู่พร่ำสอน
    พูดง่าย ๆ ก็คือ หากใจเรายังไม่สัมผัสธรรมแท้ที่ใจเราบ้างเลย คำสอนของหลวงปู่ก็เป็นโมฆะที่ตัวเรา จึงป่วยการพูดว่าเรารู้จักหลวงปู่ดี
    ใน ทางกลับกัน หากธรรมะของหลวงปู่มาบังเกิดผลที่ใจเรา คำสอนหลวงปู่ไม่เป็นโมฆะที่ตัวเรา เราจะเห็นคุณค่าเหลือประมาณในคำสอนของหลวงปู่ ก็คำสอนที่มีค่ายิ่งนี้จะมาจากที่ใดเล่า ถ้ามิใช่คุณธรรมที่เลิศล้ำในตัวหลวงปู่ ธรรมที่ทำให้ชีวิตนี้ไม่เป็นโมฆะ ทำให้เกิดมาไม่เสียชาติเกิด อย่างนี้จะไม่ซึ้งใจในองค์หลวงปู่ได้อย่างไร เพราะท่านเป็นดุจพ่อ ดุจแม่ ดุจครูอาจารย์ ...ท่านเป็นพระผู้จุดประทีปในดวงใจศิษย์ให้พ้นจากภาวะแห่งความมืดมน
    เกิดมากี่ครั้ง เกิดมากี่ชาติ จะมีโอกาสได้พบพระผู้ประเสริฐอย่างหลวง ปู่ หลวงปู่เมตตาพร่ำสอนโดยมิจำต้องประกาศอวดสรรพคุณตัวเองแม้แต่น้อย แต่คุณธรรมความดีของหลวงปู่นั้นกลับหอมทวนลม และนับวันจะหอมไปไกลขึ้น ๆ
    จิต หยาบก็สัมผัสหยาบ จิตละเอียดก็สัมผัสละเอียด ของจริงนั้นมีอยู่ หนทางเก่าที่พระพุทธเจ้าทั้งหลายได้ถากถางไว้ รอผู้ก้าวเดินตามนั้นก็ยังมี อยู่...
    [FONT=verdana,geneva]
    ที่มา : Luangpudu.com / Luangpordu.com

    [/FONT]
     
  9. Follower007

    Follower007 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    201
    ค่าพลัง:
    +303
    แกจำไว้เลยนะ

    แกจำไว้เลยนะ

    ใน ยุคปัจจุบันซึ่งผู้คนถูกโลกวัตถุนิยมครอบงำหล่อหลอมให้เป็นคนไม่อดทน เทคโนโลยีถูกนำมาสนองตอบความเร่งด่วนในทุก ๆ ด้านของชีวิต ไม่ว่าอาหารจานด่วน โอนเงินด่วน อัดรูปด่วน จองตั๋วด่วน คอมพิวเตอร์ และระบบการสื่อสารที่ต้องเร็วขึ้น ๆ สารพัดสารพันที่มีแต่ด่วน ๆ ดังนั้น พร้อม ๆ กับความสะดวกสบายและความรวดเร็วที่ป้อนให้แก่เรา สิ่งที่ตามมาก็คือจิตใจของคนที่อ่อนแอลง ขาดน้ำอดน้ำทน ทนรออะไร ๆ ได้ยาก

    เข้า มาที่วงวัดวา นักปฏิบัติรุ่นใหม่แทนที่จะมุ่งปฏิบัติไปตามแนวทางที่พระพุทธเจ้าและครู อาจารย์ผู้ผ่านประสบการณ์มาอย่างโชกโชน กลับมีแนวโน้มเสียเวลาไปกับการหาหนทางลัด เพราะติดนิสัยทางโลก ๆ ที่ต้องการเห็นผลแบบด่วน ๆ ทันใจ (กิเลส) ผลที่ตามมาจึงเข้าทำนองที่หลวงปู่ดู่เคยกล่าวเตือนไว้ว่า “เบื้องต้นก็จะขึ้นยอดตาล มีหวังตกลงมาแข้งขาหัก หรือตายเท่านั้น”

    จิต ที่หยาบและมักง่าย ย่อมขยายผลต่อไปถึงการมองข้ามวินัยหรือศีลเพราะมองว่าเป็นเรื่องเปลือก หรือเรื่องนอก ๆ ที่ไม่ใช่แก่นของการปฏิบัติ โดยไม่ได้เฉลียวใจว่าหากไม่สำคัญทำไมพระพุทธเจ้าจึงต้องทรงบัญญัติไว้ตลอด ๔๕ พรรษาแห่งพุทธกิจ อีกทั้งทรงให้ความสำคัญถึงขนาดว่าให้มีการปรับอาบัติกับผู้ที่ละเมิด นั่นก็เพราะทรงต้องการให้วินัยหรือศีลนี้เป็นเครื่องช่วยให้พุทธบริษัทอยู่ ร่วมกันอย่างเรียบร้อยดีงาม เกิดเป็นสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเจริญธรรมคือการพัฒนาจิตด้านในของแต่ละคน ๆ ต่อไป หากขาดวินัยหรือศีล ก็จะทำให้ขาดความระมัดระวังที่จะไปกระทบกระเทือนคนรอบข้าง หากมีวินัยหรือศีล จะนั่งจะเดินจะนอนก็เป็นสุขเพราะไม่มีเวรภัยกับใคร ๆ ท่านจึงอุปมาว่า แก่นไม้ หากขาดเปลือกกระพี้ แก่นไม้นั้นก็มิอาจตั้งอยู่ได้นาน วินัยหรือศีลจึงเป็นเหมือนเครื่องห่อหุ้มธรรมให้ธรรมแท้ที่เป็นแก่นตั้งอยู่ ได้นาน ไม่อย่างนั้นศาสนาพุทธคงตั้งอยู่ไม่ได้จนถึงปัจจุบัน

    เรื่อง นอก ๆ ภาษาพระเขาเรียกว่าบัญญัติหรือสมมุติ (สมมุติสัจจะ) คือเป็นเรื่องที่เกิดจากการตกลงร่วมกันว่าให้ทำอย่างนี้ ๆ นะจึงจะดีงาม ต่างจากเรื่องธรรม (หมายถึงปรมัตถสัจจะ) ซึ่งเป็นความจริงอยู่โดยธรรมชาติ ไม่ขึ้นกับการบัญญัติของใคร ๆ

    นสมัย หลวงปู่ ก็เคยมีลูกศิษย์ที่มองข้ามข้อวัตรภายนอก (ก็รวมอยู่ในเรื่องของวินัยหรือศีลนั่นเอง) ไม่ต้องสวดมนต์ ไม่ต้องนั่งสมาธิ ไม่ต้องสมาทานศีล ไม่ต้องปัดกวาดเสนาสนะที่ปฏิบัติ ไม่ต้องสนใจเรื่องแต่งเนื้อแต่งตัว ไม่ต้องสนใจอะไร ๆ ที่เป็นเรื่องภายนอก มุ่งจะเอาแต่เรื่องจิตล้วน ๆ

    กระทั่งหลวงปู่เมตตากล่าวเตือนว่า แกจำไว้เลยนะว่า วิมุติมันก็มาจากสมมุติ”
    หลวง ปู่ท่านประสงค์ที่จะสอนว่าสมมุติ ถึงแม้จะเป็นเรื่องนอก ๆ ซึ่งไม่ใช่ตัวแก่น แต่สมมุติก็ยังเป็นเรื่องที่จำเป็น สมมุติเป็นสิ่งที่เราต้องอาศัยมัน ต่อยอดจากมันไปสู่วิมุติอีกชั้นหนึ่ง สมมุติเป็นเครื่องอาศัยของนักปฏิบัติ เพียงแต่เราต้องตระหนักว่าเครื่องอาศัยก็คือเครื่องอาศัย เครื่องอาศัยไม่ใช่จุดหมายปลายทาง บางคนหลงเคร่งเครียดกับเรื่องพิธีรีตองหรือข้อวัตรภายนอกเสียจนลืมไปว่ามัน เป็นแค่บันไดหรือเครื่องอาศัยเท่านั้น จุดหมายปลายทางอยู่ที่การฝึกจิตอันเป็นความดีงามที่ยิ่ง ๆ ขึ้นไปกว่าการมาติดยึดอยู่แค่สมมุติ


    เมื่อ รู้ว่าสมมุติเป็นแค่เครื่องอาศัย ไม่ใช่ตัวแก่นแล้วจะปฏิเสธสมมุติก็ไม่ถูก เหมือนจะกินข้าวแต่ปฏิเสธไม่เอาจานเอาช้อน ฯลฯ จะเดินทางแต่ปฏิเสธไม่เอารถ ฯลฯ จะเอาความสงบแต่ปฏิเสธคำบริกรรมภาวนา ฯลฯ จะเอาปัญญา (ภาวนามยปัญญา) แต่ปฏิเสธไม่เอาสมาธิ ฯลฯ

    สังเกตดูเถิด วัดที่มีข้อวัตรที่ดี จะดูเรียบร้อยดีงามและเกิดเป็นสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการปฏิบัติธรรมเพียงใด

    ที่ สำคัญนักปฏิบัติที่จิตประณีต ย่อมไม่มองข้ามหรือดูถูกดูแคลนสมมุติหรือเครื่องอาศัยเหล่านี้ เพียงแต่จะใช้มันอย่างผู้มีปัญญา คือใช้มันให้เกิดประโยชน์ โดยที่ไม่ลุ่มหลงยึดติดสมมุติเหล่านั้น



    ที่มา: Luangpudu.com / Luangpordu.com

     
  10. Follower007

    Follower007 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    201
    ค่าพลัง:
    +303
    ค่อย ๆ เพียรทำไป

    ค่อย ๆ เพียรทำไป

    มีโยมอุปัฏฐากของหลวงปู่คนหนึ่ง เฝ้าน้อยใจในวาสนาบารมีของตน ว่าปฏิบัติมาก็หลายปี ไม่เห็นจะเห็นนิมิตหรือรู้เข้าใจธรรมะอย่างคนอื่นเขาบ้างเลย
    เขาครุ่นคิดตัดพ้อตัวเองในขณะที่กำลังเช็ดถูทำความสะอาดห้องจำวัดในกุฏิหลวงปู่ (ขณะนั้นหลวงปู่นั่งรับแขกอยู่ด้านนอก)
    เขาเล่าให้ฟังว่า ขณะที่เขากำลังเงื้อมือเอาผ้าปัดฝุ่นที่เสื่อปูนอนของหลวงปู่ อยู่ ๆ เขาก็ได้ยินเสียงหลวงปู่ เป็นเสียงทุ้ม ๆ นุ่ม ๆ ฟังแล้วอบอุ่น เสียงนั้นว่า "ค่อย ๆ เพียรทำไป"
    มันเป็นเสียงที่ไม่ได้ยินด้วยหู แต่ได้ยินด้วยจิต
    นี่ก็เป็นเวลากว่า ๒๐ ปีแล้ว เสียงนั้นก็ยังดังชัดเจน และยังคงเป็นเสียงที่ทำให้เขารู้สึกอบอุ่นใจเสมอทุกครั้งที่ระลึกถึง



    ที่มา: Luangpudu.com / Luangpordu.com

     
  11. Follower007

    Follower007 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    201
    ค่าพลัง:
    +303
    download หนังสือตามรอยธรรมฯ

    download หนังสือตามรอยธรรมฯ

    [​IMG] 2009119_5097.jpg
    ขอประชาสัมพันธ์ให้ทราบว่า บัดนี้ท่านสามารถ download ต้นฉบับหนังสือตามรอยธรรม ย้ำรอยครู หลวงปู่ดู่ พรหมปัญโญ ได้แล้ว
    โดย click ไปที่เมนู "download หนังสือธรรมะ"

    Luangpudu.com / Luangpordu.com


    ที่มา: Luangpudu.com / Luangpordu.com
     
  12. Follower007

    Follower007 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    201
    ค่าพลัง:
    +303
    [​IMG][​IMG]

    หลวง ปู่ท่านสอนเสมอว่า ไม่มีปาฏิหาริย์อันใดจะอัศจรรย์เท่ากับ การฝึกหัดอบรมพัฒนา ตนเองจากความเป็น ปุถุชนไปสู่ความเป็นอริยชน ตามแนวทางที่พระพุทธองค์ทรงวางไว้ทั้งหลักศีล สมาธิ และปัญญา ซึ่งอีกนัยหนึ่งก็คือการพัฒนาความสามารถในการมีความสุขของตนให้ละเอียด ประณีตยิ่งขึ้น กระทั่งถึงภาวะความสุขชนิดที่จะไม่กลับกลายเป็นความทุกข์ได้อีก นั่นก็คือพระนิพพาน


    หวัง เป็นอย่างยิ่งว่า ผู้มาเยือนจะได้รับความอิ่มเอิบใจและปีติกับเรื่องราวและธรรมะคำสอนของหลวง ปู่ดู่ พรหมปัญโญ รวมทั้งเกิดศรัทธาและพลังใจในการขวนขวายปฏิบัติธรรมกัมมัฏฐานให้ยิ่ง ๆ ขึ้นไป เพื่อให้ใจได้สัมผัสธรรม และมีธรรมเป็นที่พึ่งตลอดไป


    ปฏิปทาการเผยแพร่ธรรมของหลวงปู่

    บันทึกปฏิปทาการเผยแพร่ธรรมของหลวงปู่ไว้เพื่อชนรุ่นหลังได้รับทราบ
    ๑. หลวงปู่เน้นสอนแบบตั้งรับ
    หลวงปู่ไม่เคยเดินสายไปเทศน์ที่ไหน ๆ มีแต่ตั้งรับ และตั้งรับชนิดว่ามาเมื่อไหร่เป็นได้เจอท่าน ใครมาจริงก็จะเจอของจริง
    ๒. หลวงปู่ไม่นิยมก่อสร้าง
    ไม่ปรากฏว่าหลวงปู่สร้างถาวรวัตถุนั่น นี่ มีแต่บูรณะอุโบสถบ้าง กุฏิเสนาสนะในวัดบ้าง ซ่อมสะพานคนข้ามบ้าง บริจาคบำรุงการศึกษาให้เด็กนักเรียนบ้าง ให้เป็นทุนรักษาพระอาพาธบ้าง ฯลฯ แม้แต่พระพุทธรูปองค์ใหญ่ ๆ โต ๆ ก็ไม่เคยเห็นท่านสร้าง เพราะท่านเป็นคนบอกบุญใครไม่เป็น และไม่นิยมสร้างวัตถุ หากแต่เน้นสร้างคนให้เป็นพระ
    ๓. หลวงปู่ไม่นิยมองค์กรจัดตั้ง
    ท่านสอนของท่านแบบชาวบ้าน ๆ จะมีอะไรขลุกขลักบ้างก็ไม่เป็นไร ไม่ต้องให้ถึงขนาดจัดแบ่งแผนก หรือเป็นคณะ เป็นสำนัก หรือเป็นองค์กร เพราะท่านไม่ยัดเยียดธรรมะให้ใคร ๆ
    ครั้งหนึ่ง ได้ยินท่านอุทานภายหลังอ่านพาดหัวหนังสือพิมพ์กรณีวัดไล่ที่ชาวบ้าน ว่า "ข้าว่าแล้วเชียว" คือท่านไม่เห็นด้วยกับการมุ่งขยายสำนักให้ใหญ่โตจนเป็นเหตุให้เกิดการเบียด เบียนกันขึ้น (คราวนั้น สำนักปฏิบัติใหญ่ได้ซื้อที่จากนายทุน แล้วส่งคนไปไล่ชาวบ้านที่เช่าที่ทำกินออกไป)
    ดูเอาเถิด ขนาดข้าวเปล่าทัพพีเดียวที่ยาจกใส่บาตรพระสารีบุตร พระสารีบุตรก็ยังจำบุญคุณมิรู้ลืม นี่ชาวบ้านบางส่วนก็คือคนใส่บาตรพระสำนักนี้ ก็ยังบีบให้เขาจำต้องทิ้งที่ทำกินถิ่นอาศัยไป บ้างมีที่เป็นของ ๆ ตนก็ยังบีบให้เป็นที่ตาบอด จนต้องขายทิ้งทั้งน้ำตา
    ๔. หลวงปู่ชอบสอนด้วยการทำให้ดู
    ไม่ว่าเรื่องขันติ เรื่องความสันโดษ เรื่องการรักษาอารมณ์ เรื่องความเมตตา เรื่องอุเบกขา หลวงปู่ท่านทำให้ดู ใครมีปัญญาก็จะได้เห็นแบบอย่างที่อยู่ตรงหน้า รวมทั้งเรื่องมงคลตื่นข่าว หรือเรื่องหมอดู ท่านก็ไม่ข้องแวะ
    ๕. หลวงปู่ใช้ฤทธิ์แบบไม่แสดง
    หลวงปู่ท่านใช้ของท่านแบบเนียน ๆ มุ่งเอาผลคือความก้าวหน้าในการปฏิบัติธรรมของลูกศิษย์เป็นที่ตั้ง มิใช่แสดงให้ลูกศิษย์มาอัศจรรย์กับเครื่องมือคือฤทธิ์ของท่าน
    ๖. ท่านไม่ได้สอนให้พอใจหรือหยุดอยู่เพียงแค่วัตถุมงคล
    กับผู้ที่ยังข้องอยู่กับสิ่งที่ไม่เป็น มงคล หลวงปู่ท่านก็ยอมให้มาติดกับวัตถุมงคลไปก่อน จากนั้นท่านก็สอนเรื่องการปฏิบัติเพื่อให้เขาหาพระเก่าพระแท้ในใจตนเองให้ เจอ เพื่อเป็นหลักประกันว่า "ตนที่ฝึกดีแล้ว จะเป็นที่พึ่งแห่งตน" ดังพุทธพจน์ที่ว่า "ความดีที่ยิ่งกว่านี้ยังมีอยู่อีก มิใช่มีเพียงเท่านี้"
    ๗. หลวงปู่สอนให้สวดตัวเองยิ่งกว่ามนตร์ใด ๆ
    สวดตัวเองก็คือด่าตัวเอง สอนตัวเอง ดังโอวาทของท่านที่ว่า "ตนไม่เตือนตนเอง จะให้ใครมาเตือน" สวดตัวเองก็ต้องอาศัยหลักธรรมใหญ่ที่ท่านเน้น นั่นก็คือ "หมั่นดูจิต รักษาจิต" มนตร์วิเศษภายนอกก็คือบทสรรเสริญพุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ ใน ๗ ตำนาน และ ๑๒ ตำนาน ที่ท่านใช้เป็นหลัก มิใช่บทจักรพรรดิดังที่เผยแพร่กันอยู่ นี่ถ้าพระพุทธเจ้ายังอาลัยในสมบัติจักรพรรดิ พระองค์ก็คงยังต้องทุกข์จมอยู่ในวัฏฏะอีกนานแสนนาน และพวกเราก็คงไม่มีโอกาสพบแสงสว่างแห่งธรรมอีกนานแสนนานเช่นกัน พลังโลกียะ ฤาจะเปรียบกับพลังแห่งธรรมแท้ ...พลังที่จะพาเราออกจากวัฏฏะ มิใช่ข้องหรือจมอยู่กับวัฏฏะ
    ๘. หลวงปู่เน้นอรรถะมากกว่าพยัญชนะ
    ด้วย เหตุที่วัตถุประสงค์ของการสื่อสารนั้นอยู่ที่ความเข้าใจที่ถูกต้องของผู้รับ สาร ดังนั้นหลวงปู่จึงเลือกใช้ภาษาที่ชาวบ้านสามารถเข้าใจได้ง่าย ๆ มากกว่าจะถ่ายทอดด้วยภาษาพุทธวจนะในพระไตรปิฎก หรือศัพท์แสงบาลีที่แม้แต่นักวิชาการก็ยังต้องมาถกกันในความหมายที่แท้จริง นอกจากนี้หลวงปู่ชอบที่จะใช้อุปมาอุปไมยในแบบของท่าน เช่น “เบื้องต้นก็จะขึ้นยอดตาล” “ตายเล็ก ตายใหญ่” “ธรรมะเหมือนแกงส้ม” “ธรรมเท่าปลายเข็ม” “เมตตาพาตกเหว” ฯลฯ
    ๙. หลวงปู่เน้นให้กำลังใจมากกว่าจะให้กลัวเกรง
    เวลา ที่อยู่ต่อหน้าหลวงปู่ เราจะไม่รู้สึกเกร็งว่าท่านจะมาสอบอารมณ์แล้วติติงทำนองไม่เห็นก้าวหน้าไป ไหนจนทำให้รู้สึกท้อแท้หรือหมดกำลังใจในการปฏิบัติ ตรงกันข้าม หลวงปู่ท่านมีแต่ให้กำลังใจ และช่วยให้เราพ้นไปจากอาการเศร้า หมองเพราะเหตุที่คิดว่าปฏิบัติไม่ถึงไหน ดังที่ท่านว่า หากรู้จักและเชื่อมั่นศรัทธาในพระรัตนตรัยมากขึ้น ก็นับเป็นความก้าวหน้าในการปฏิบัติแล้ว หรือการที่เราคลายความขี้โมโหโทโส ยอมฟังคนอื่นมากขึ้น ฯลฯ ก็ถือเป็นความก้าวหน้าเช่นกัน มิใช่จะมาวัดกันที่การรู้เห็นนิมิตหรือรู้จำสภาวธรรมมาตอบแข่งกันหรือตอบพอ ไม่ให้อายครูอาจารย์ (ที่มาสอบอารมณ์) ซึ่ง จริง ๆ แล้ว หลวงปู่ รวมทั้งครูอาจารย์สายท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทัตเถร จะไม่นิยมการสอบอารมณ์ เพราะท่านเน้นให้นักปฏิบัติต้องสอบอารมณ์ตัวเอง ด้วยใจเป็นธรรม ไม่ลำเอียงเข้าข้างตนเอง เพื่อผลคือความสามารถดับทุกข์ให้กับตนเองเป็นสำคัญ
    ๑๐. หลวงปู่มุ่งเน้นที่ประโยชน์ของผู้รับมากกว่าผู้ให้
    หลวง ปู่สู้อุตส่าห์นั่งโปรดญาติโยม (บนไม้กระดานแข็ง ๆ) เป็นเวลาไม่น้อยกว่า ๓๐ ปี ก็ด้วยมุ่งหวังจะให้ศิษย์ได้ที่พึ่งที่ปลอดภัย นั่นก็คือ “ตน...ที่ฝึกมาดีแล้ว” รวมทั้งไม่ให้ยึดติดองค์ท่าน ...ตลอด ระยะเวลาหลายสิบปีที่ท่านอบรมสั่งสอนลูกศิษย์จึงเป็นเครื่องพิสูจน์ที่ ชัดเจนว่าท่านมิได้มุ่งหวังความอยากเด่นอยากดัง หรือลาภสักการะแต่อย่างใดเลย ซึ่งลาภสักการะมักเป็นกับดักที่ได้ผลที่ฆ่าลูกพระตถาคตมาทุกยุคทุกสมัย
    ๑๑. ความเมตตาของหลวงปู่ที่ไม่มีที่สิ้นสุด
    สิ่ง น่าอัศจรรย์อันหนึ่งที่ได้รับทราบจากการได้มีโอกาสพูดคุยกับศิษย์เก่าแก่ของ หลวงปู่บางท่าน ซึ่งนับเป็นผู้ขวนขวายปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอตั้งแต่สมัยหลวงปู่มีชีวิต โดยที่ท่านเหล่านั้นต่างก็มิได้รู้จักคุ้นเคยกัน แต่กลับพูดถึงสิ่งอัศจรรย์ตรงกัน นั่นก็คือความเมตตาของหลวงปู่ที่ท่านตามไปส่งลูกศิษย์จนเข้าเขตที่ปลอดภัย (กรุงเทพฯ) กล่าวคือ ครอบครัวนักปฏิบัติเหล่านั้น เมื่อขับรถกลับจากวัดสะแกในเวลาเย็นค่ำ เมื่อขับจนพ้นช่วงที่มืดและเปลี่ยวในระหว่างทางอยุธยาจะเข้ากรุงเทพฯ บริเวณรังสิต เขาจะได้ยินเสียงหลวงปู่ว่า “ข้าส่งแกแค่นี้นะ” ทุกครั้ง พร้อมกับอาการปีติขนลุกด้วยความซาบซึ้งใจในความเมตตาของหลวงปู่ที่เป็นห่วง เป็นใย ท่านคงต้องการให้มั่นใจว่าลูกศิษย์นักปฏิบัติเหล่านั้นเดินทางกลับบ้านด้วย ความปลอดภัยทุก ๆ คน นี้ยังไม่รวมถึงความเมตตาที่ท่านตามไปดูแลถึงที่บ้าน ไม่ว่าจะให้ทราบโดยทางนิมิตหรือทางเสียงจิ้งจกก็ตาม

    ที่มา:
    Luangpudu.com / Luangpordu.com
     
  13. Follower007

    Follower007 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    201
    ค่าพลัง:
    +303
    หนังสือคำสอนของหลวงที่น่าสนใจติดตามหาอ่านสำหรับผู้รักการทำงาน(ปฏิบัติ)
    ๑. หนังสือไตรรัตน์

    จัดพิมพ์เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๐ จำนวน ๓,๐๐๐ เล่ม นับเป็นหนังสือเล่มแรกที่บันทึกคำสอนของหลวงปู่ดู่ พรหมปัญโญ โดย คุณเมธา พรพิพัฒน์ไพศาล ได้กราบขออนุญาตหลวงปู่ นำธรรมะที่ท่านได้สอนไว้มาจัดพิมพ์เป็นหนังสือ ซึ่งท่านก็ได้อนุญาตโดยตอบว่า หากพระมหาบัวไม่ได้บันทึกคำสอนหลวงปู่มั่นไว้ พวกแกก็คงไม่ได้อ่านกัน เนื้อหาทั้งหมดในครั้งนั้นเป็นการบันทึกและเรียบเรียงโดย คุณเมธา เมื่อครั้งเป็นประธานชุมนุมศึกษาพุทธศาสตร์และประเพณี (ชุมนุมพุทธฯ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

    ๒. หนังสือนพรัตน์

    จัดพิมพ์เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๑ จำนวน ๒,๐๐๐ เล่ม ในโอกาสครบรอบ ๘๔ พรรษาหลวงปู่ดู่ พรหมปัญโญ โดย เป็นการต่อยอดจากหนังสือ ไตรรัตน์ โดยครั้งนี้ นอกจากข้อธรรมของหลวงปู่ที่คุณเมธา เรียบเรียงไว้เดิมกับที่เรียงเพิ่มเติมขึ้นใหม่แล้ว ก็ยังมีข้อเขียนจากเพื่อนๆ ชุมนุมพุทธฯ มธ. และ ลูกศิษย์ท่านอื่นส่งมาร่วมด้วย ซึ่งหนังสือเล่มนี้ อาจารย์ศุภรัตน์ แสงจันทร์ ก็ได้ให้คำแนะนำ เพิ่มเติมในบางบทความ รวมทั้งได้เขียนเรื่องเกี่ยวกับวัตถุมงคลส่งมาร่วมพิมพ์ด้วย อาทิ พิธีสร้างพระกลางลาน และการเกิดธรรมธาตุ เป็นต้น

    ๓. หนังสือพระผู้จุดประทีปในดวงใจ

    จัดพิมพ์เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๔ จำนวน ๕,๐๐๐ เล่ม โดยปรับปรุงเพิ่มเติมจากหนังสือ นพรัตน์ เพื่อใช้เป็นหนังสือแจกผู้มาร่วมงานพระราชทานเพลิงศพหลวงปู่ดู่ (หลวง ปู่มรณภาพเมื่อ ๑๗ มกราคม ๒๕๓๓ และทางวัดตั้งศพจัดงานสวดพระอภิธรรมถวายท่านทุกคืน กระทั่งจัดงานพระราชทานเพลิงศพฯ เมื่อ ๒๐ เมษายน ๒๕๓๔)

    Luangpudu.com / Luangpordu.com
     
  14. Follower007

    Follower007 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    201
    ค่าพลัง:
    +303
    หนังสือคำสอนของหลวงที่น่าสนใจติดตามหาอ่านสำหรับผู้รักการทำงาน(ปฏิบัติ)

    ๔. หนังสือรวมใจ

    จัดพิมพ์เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๑ (มีนาคม) จำนวน ๔,๐๐๐ เล่ม เป็นเนื้อหาใหม่ทั้งหมด จำนวน ๕๓ เรื่อง โดย คุณเมธา เป็นผู้เขียนหลัก

    ๕. หนังสือพรหมปัญโญบูชา

    จัดพิมพ์เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๑ (สิงหาคม) จำนวน ๔,๐๐๐ เล่ม เป็นหนังสือที่รวมเนื้อหาเดิม (จากหนังสือ พระผู้จุดประทีปในดวงใจ : ๔๗ เรื่อง และจากหนังสือรวมใจ : ๔๙ เรื่อง เฉพาะในส่วนเนื้อหาที่ คุณเมธา และเพื่อนๆ ชุมนุมพุทธฯ มธ. เป็นผู้เรียบเรียงไว้เท่านั้น) มารวมไว้ในเล่มเดียวกัน

    ๖. หนังสือพรหมปัญโญอนุสรณ์

    จัดพิมพ์เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๕ จำนวน ๓,๐๐๐ เล่ม โดยใช้ต้นฉบับจากหนังสือพรหมปัญโญบูชาทั้งหมด เพื่อ ใช้สำหรับแจกในงานพิธีเปิดพิพิธภัณฑ์หลวงปู่ดู่ พรหมปัญโญ แต่เนื่องจากงานพิธีได้เลื่อนออกไป ทางวัดสะแกจึงได้นำหนังสือนี้ออกมาจำหน่ายแทน

    ๗. หนังสือ ๑๐๑ ปี หลวงปู่ดู่ พรหมปัญโญ

    จัดพิมพ์เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๘ จำนวน ๕,๐๐๐ เล่ม ใช้ในโอกาสเปิดพิพิธภัณฑ์หลวงปู่ดู่ พรหมปัญโญ รวมบันทึกธรรมคำสอนของหลวงปู่จำนวนทั้งสิ้น ๑๑๐ เรื่อง


    ๘. หนังสือตามรอยธรรม ย้ำรอยครู หลวงปู่ดู่ พรหมปัญโญ

    จัดพิมพ์เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๒ จำนวน ๑๐,๐๐๐ เล่ม ได้มีการเรียบเรียงเรื่องใหม่ ๆ ขึ้นประมาณ ๕๐ เรื่อง เพื่อจะให้เป็นหนังสือที่รวมคำสอนครบถ้วนสมบูรณ์ที่สุดของหลวงปู่ดู่ พรหมปัญโญ รวมทั้งเจตนาจะให้เป็น ฉบับมาตรฐานเพื่อการจัดพิมพ์เพิ่มเพื่อการอนุรักษ์และเผยแพร่ธรรมะคำสอนของ หลวงปู่ดู่ พรหมปัญโญ ให้กว้างขวางออกไปให้มากที่สุด

    Luangpudu.com / Luangpordu.com
     
  15. Follower007

    Follower007 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    201
    ค่าพลัง:
    +303
    ประมวลคติธรรมของหลวงปู่ดู่ พรหมปัญโญ

    ๑. ครูอาจารย์ดีๆ มีอยู่มากก็จริง แต่สำคัญที่เราต้องปฏิบัติให้จริง สอนตัวเองให้มาก นั่นแหละจึงจะดี

    ๒. การปฏิบัติ ถ้าหยิบตำราโน้นนี้มาสงสัยถาม มักจะโต้เถียงกันเปล่า โดยมากชอบเอาจากอาจารย์โน่นนี่ว่าอย่างนั้นอย่างนี้มา …การจะปฏิบัติให้รู้ธรรมเห็นธรรม ต้องทำจริง จะได้อยู่ที่ทำจริง เอาให้จริงให้รู้ ถ้าไปเรียนกับครูอาจารย์อื่นโดยยังไม่ทำให้จริงให้รู้ ก็เหมือนดูถูกดูหมิ่นครูบาอาจารย์

    ๓. การปฏิบัติธรรมก็เหมือนกับการปลูกต้นไม้ ศีลคือ ดิน สมาธิ คือ ลำต้น ปัญญาคือ ดอกผล เราต้องการให้ต้นไม้เจริญงอกงาม ก็ต้องหมั่นรดน้ำพรวนดิน และต้องคอยระมัดระวังมิให้ตัวหนอนคือ โลภ โกรธ หลง มากัดกิน

    ๔. ถ้าเป็นโลกแล้ว จะมีแต่ส่งออกไปข้างนอกตลอดเวลา แต่ถ้าคิดสิ่งที่เป็นธรรมแล้ว ต้องวกกลับเข้ามาหาตัวเอง เพราะธรรมแท้ๆ ย่อมเกิดในตัวของเรานี้ทั้งนั้น

    ๕. “โลกเท่าแผ่นดิน ธรรมเท่าปลายเข็ม”
    เรื่องโลกมีแต่เรื่องยุ่งของคนอื่นทั้งนั้นไม่มีที่สิ้นสุด เราไปแก้ ไขเขาไม่ได้ ส่วนเรื่องธรรมนั้นมีที่สุด มาจบที่ตัวเรา ให้มาไล่ดูตัวเอง แก้ไขที่ตัวเราเอง... ตนของตนเตือนตนด้วยตนเอง

    ๖. ให้พยายามภาวนาไว้เรื่อยๆ ไม่ว่ายืน เดิน นั่ง นอน ทำได้ตลอดเวลาถ้าเราจะทำ ดีกว่านั่งร้องเพลง จะซักผ้า หุงข้าว ต้มแกง นั่งรถ ทำได้ทั้งนั้น เขาเรียกว่า พยายามเกลี่ยจิตใจให้เข้าที่ ถ้าจะรอเวลาปฏิบัติ (นั่งสมาธิภาวนา) ทีเดียวมันยาก เพราะจิตมันแตกมาตลอดวัน

    ๗. ของดีอยู่ที่ตัวเรา ให้หมั่นดูจิต รักษาจิต

    ๘. คนดีน่ะ เขาไม่ตีใคร

    ๙. ศีล สมาธิ ปัญญา ก็เหมือนรสแกงส้ม

    ศีล เปรียบได้กับรสเปรี้ยว ความเปรี้ยวทำหน้าที่กัดกร่อนความสกปรกออก ทำนองเดียวกัน ศีลจะช่วยขัดเกลาความหยาบออกจากทางกาย วาจา ใจ

    สมาธิ เปรียบได้กับรสเค็ม เพราะความเค็มช่วยรักษาอาหารต่างๆ ไม่ให้เน่าเสีย สมาธิก็เหมือนกัน สามารถรักษาจิตของเราให้ตั้งมั่นอยู่ในคุณงามความดีได้

    ปัญญา เปรียบได้กับรสเผ็ด เพราะปัญญามีลักษณะคิด อ่าน ตริตรอง โลดแล่นไป เพื่อขจัดอวิชชาความหลง

    ๑๐. การปฏิบัติ ถ้าอยากเป็นเร็วๆ มันก็ไม่เป็น หรือไม่อยากให้เป็น มันก็ประมาทเสีย เลยไม่เป็นอีกเหมือนกัน อยากเป็นก็ไม่ว่า ไม่อยากเป็นก็ไม่ว่า ทำใจให้เป็นกลางๆ ตั้งใจให้แน่วแน่ในกรรมฐานที่ตั้งไว้ ภาวนาเรื่อยไป เหมือนกับเรากินข้าว ไม่ต้องอยากให้มันอิ่ม ค่อยๆ กินไป มันก็อิ่มเอง ภาวนาก็เช่นกัน ไม่ต้องไปคาดหวังให้มันสงบ หน้าที่ของเราคือภาวนาไป ก็จะถึงของดีของวิเศษในตัว แล้วเราจะรู้ชัดว่าอะไรเป็นอะไร ให้หมั่นทำเรื่อยไป

    ๑๑. รวยกับซวยมันใกล้กันนะ จะเอารวยน่ะ จะหามายังไงก็ทุกข์ กลัวคนจะมาจี้มาปล้น หมดไปก็เป็นทุกข์อีก ไปคิดดูเถอะ มันไม่จบหรอก มีแต่เรื่องยุ่ง เอา “ดี” ดีกว่า

    ๑๒. ความสำเร็จนั้น มิใช่อยู่ที่การสวดมนต์อ้อนวอนพระเจ้าหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์มา

    ประทานให้ หากแต่ต้องลงมือทำด้วยตนเอง ถ้าตั้งใจทำตามแบบแล้วทุกอย่าง

    รับรองว่าต้องสำเร็จ ไม่ใช่จะสำเร็จ พระพุทธเจ้าท่านวางแบบเอาไว้แล้ว ครูบาอาจารย์ทุกองค์มีพระพุทธเจ้าเป็นที่สุด ก็ได้ทำตามแบบ เป็นตัวอย่างให้เราดูอัฐิของท่านก็เลยกลายเป็นพระธาตุกันหมด

    ๑๓. รอให้แก่เฒ่าหรือจวนตัวแล้วจึงสนใจภาวนา ก็เหมือนคนหัดว่ายน้ำตอนเรือหรือแพใกล้แตก มันจะไม่ทันการณ์

    ๑๔. ที่ว่านิมิต แสงสว่างเป็นกิเลสก็ถูก แต่เบื้องแรกต้องอาศัยกิเลสไปละกิเลส (อาศัยกิเลสละเอียดไปละกิเลสอย่างหยาบ) แต่ไม่ได้ให้ติดแสงสว่างหรือหลงแสงสว่าง ท่านให้ใช้แสงสว่างให้ถูก ให้เกิดประโยชน์เหมือนอย่างกับเราเดินทางผ่านไปในที่มืด ก็ต้องอาศัยแสงไฟช่วยนำทาง หรืออย่างว่าเราจะข้ามแม่น้ำ ก็ต้องอาศัยเรือ อาศัยแพ เมื่อถึงฝั่งแล้ว เราจะแบกเรือแบกแพขึ้นฝั่งไปด้วยทำไม

    ๑๕. อย่าต้มน้ำทิ้งเปล่า ๆ โดยไม่ได้เอาน้ำร้อนไปใช้ประโยชน์ (หมายถึงอย่าเอาแต่ทำสมาธิโดยไม่พิจารณาธรรม)

    ๑๖. อย่าปฏิบัติแบบไฟไหม้ฟาง (หมายถึงไหม้วูบเดียวแล้วก็ดับ กล่าวคือ ขยันก็ทำ ขี้เกียจก็หยุด อย่างนี้ใช้ไม่ได้ ต้องทำ (ปฏิบัติธรรม) ให้สม่ำเสมอให้ได้ทั้งในยามขยันและขี้เกียจ)
     
  16. Follower007

    Follower007 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    201
    ค่าพลัง:
    +303
    ห่วงตัวแกเองเถอะ

    ห่วงตัวแกเองเถอะ

    ผมยังจำได้ว่าเมื่อครั้งหลวงปู่อยู่ใน วัยชรา มีอาพาธโดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่องโรคลิ้นหัวใจรั่ว มักมีลูกศิษย์ไปกราบเรียนแสดงอาการห่วงใยต่อหลวงปู่ หลวงปู่ก็จะเมตตาตอบทุก ๆ คนในทำนองเดียวกันว่า "ห่วงตัวแกเองเถอะ"
    สมัยนั้น หลาย ๆ คนเมื่อฟังคำหลวงปู่แล้ว บ้างก็นึกสงสัยว่าทำไมหลวงปู่พูดอย่างนั้น เพราะแต่ละคน ๆ ที่ไปกราบหลวงปู่ก็ยังแข็งแรงกันดีอยู่ อย่างน้อยก็ไม่ถึงขั้นที่หมอจะแนะนำไปรักษาโรงพยาบาล
    จริง ๆ แล้ว สิ่งที่หลวงปู่พูดสอนนั้นเป็นสัจธรรม เพราะ "สรณะหรือเครื่องอยู่" ของหลวงปู่ หลวงปู่ก็มีแล้วอย่างสมบูรณ์ ห่วงแต่ลูกศิษย์ทั้งหลายนั่นสิ ที่สรณะหรือเครื่องอยู่ยังไม่มีหรือมีอยู่น้อย ไม่เพียงพอต่อการเผชิญกับความแก่ ความเจ็บ และความตาย
    แม้เมื่อครั้งพระพุทธองค์ใกล้จะเสด็จดับขันธปรินิพพาน ก็ยังทรงเมตตาตรัสสอนด้วยความเป็นห่วงพระสงฆ์สาวกที่ยังไม่ได้บรรลุธรรมว่า
    "วัยของเราแก่หง่อมแล้ว ชีวิตของเราริบหรี่แล้ว เราจะละพวกเธอไป สรณะของตัวเราเอง เราได้ทำไว้แล้ว
    ภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจงเป็นผู้ไม่ประมาท มีสติ มีศีลเป็นอย่างดี มีความดำริอันตั้งไว้แล้วด้วยดี ตามรักษาซึ่งจิตของตนเถิด
    ในธรรมวินัยนี้ ภิกษุใดเป็นผู้ไม่ประมาทแล้ว จักละชาติสงสาร ทำที่สุดแห่งทุกข์ได้"
    กราบหลวงปู่คราใด ก็ให้หมั่นตรองในเครื่องอยู่ของตน เพื่อการปรารภความเพียรที่จะทำสรณะของตน หรือก็คือการสร้างบ้านหรือเครื่องอยู่ในใจให้พร้อมที่สุดตามสติกำลังของตน ๆ
    เล่าไว้ในโอกาสช่วงวันคล้ายวันพระราชทานเพลิงศพหลวงปู่ ๒๐ เมษายน

    Luangpudu.com / Luangpordu.com

     
  17. Follower007

    Follower007 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    201
    ค่าพลัง:
    +303
    วัตถุมงคล ...มงคลที่ตรงไหน

    วัตถุมงคล ...มงคลที่ตรงไหน

    สำหรับผู้ที่มาศรัทธาหลวงปู่ดู่ นั้น ต้องยอมรับว่า "วัตถุมงคล" ก็เป็นสาเหตุหนึ่งที่นำทางคนจำนวนไม่น้อยให้เข้ามารับการต่อยอดจากท่านในการ แสวงหาพระเก่าพระแท้คือใจที่ต้องฝึกฝนอบรมในศีล สมาธิ และปัญญา เพื่อให้ใจเป็นพระขึ้นมาเสียเอง ก็โดยอาศัยการยึดในพุทธัง สรณัง คัจฉามิ ธัมมัง สรณัง คัจฉามิ และสังฆัง สรณัง คัจฉามิ เป็นหลักใจเสียก่อน
    วัตถุมงคล จึงแสดงความเป็นมงคลออกมาได้จริงก็ตอนโยงจิตของเจ้าของเข้าหาธรรมนี้แหละ แค่อานิสงส์ในทางเมตตา หรือในทางแคล้วคลาดปลอดภัย ฯลฯ นั้น มันยังเป็นเรื่องโลก ๆ ขึ้นชื่อว่าโลกก็ย่อมต้องมีความพร่องอยู่เป็นนิจ และมิอาจต้านทานความแก่ ความเจ็บ และความตายได้ ถึงจะแคล้วคลาดครั้งนี้ หรือครั้งไหน ๆ สุดท้ายก็แคล้วคลาดจากความแก่ ความเจ็บ และความตายไปไม่ได้หรอก
    ดังนั้น ความเป็นมงคลของสิ่งที่เรียกว่า "วัตถุมงคล" จึงอยู่ที่ตรงนี้ ตรงที่เป็นเครื่องระลึกให้ใจเราเข้ามาในวงของพระธรรม วงของการปฏิบัติเพื่อให้ได้ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน ตนที่มีใจเป็นธรรมเท่านั้นจึงจะแคล้วคลาดปลอดภัยได้จริง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปลอดจากทุกข์ทางใจ ที่เรียกว่า "ธรรมย่อมคุ้มครองรักษาผู้ประพฤติธรรม"
    หากสิ่งที่เรียกว่า "วัตถุมงคล" มิได้โยงคนเข้าหาธรรม ความเป็นมงคลก็หาเกิดไม่ เหมือนพระในคอโจร หรือพระที่ตั้งอยู่ในถิ่นต่างศาสนา ก็มิได้มีความหมายในทางยกระดับจิตใจแต่อย่างใด ความเป็นมงคลจึงไม่บังเกิด
    เวลาหลวงปู่ดู่ท่านสอนศิษย์ ท่านมักสอนให้ใช้ปัญญาใคร่ครวญ (ท่านใช้คำว่า "ตรอง") เช่น ทำสิ่งนั้นสิ่งนี้ไปเพื่ออะไร นั่งสมาธิหลับตาไปทำไม ตอบตัวเองให้ชัด ชีวิตเกิดมาทำไม ใช้ชีวิตอย่างไรจึงจะไม่เป็นโมฆะ เห็นนิมิตแล้วควรวางใจอย่างไร เพื่อมิให้ขัดกับเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ของการปฏิบัติเพื่อความพ้นทุกข์ ฯลฯ
    ก็ทำนองเดียวกับที่ว่าสมาธิมิใช่เพื่อ สมาธิ หากแต่เป็นสมาธิเพื่อปัญญา ท่านจึงว่า "อย่าต้มน้ำทิ้งเปล่า ๆ ต้องเอาไปชง (เครื่องดื่ม) ไมโลโอวัลติน จึงจะเกิดประโยชน์"
    วัตถุมงคลก็เหมือนกัน การบูชาวัตถุมงคลมิใช่จะให้จบแค่ตัววัตถุมงคล หรือมูลค่าการซื้อขาย หรือความเชื่อในความขลัง ฯลฯ หากแต่ต้องมาจบที่ใจเจ้าของที่หันมาหาธรรม ใจที่มีสติมากขึ้น ใจที่เผอเรอน้อยลง ใจที่เชื่อในพระรัตนตรัยมากขึ้น ชนิดที่เรียกว่าไม่อาจทำความชั่วทั้งในที่แจ้งและที่ลับ
    สิ่งที่หลวงปู่สอนมาตลอดชีวิตท่านก็ คือ ให้ศิษย์มีปัญญา และตั้งอยู่ในความไม่ประมาท ทีนี้ผู้ที่มีวัตถุมงคลไม่ว่าจะของหลวงปู่หรือของครูบาอาจารย์ท่านใดก็ตาม ก็ควรพิจารณาทบทวนดูว่า เราใช้สิ่งนี้อย่างผู้มีปัญญา รวมทั้งใช้อย่างผู้ไม่ประมาทในชีวิตหรือไม่ หรือว่าเราใช้วัตถุมงคลเพียงแค่เครื่องหาเลี้ยงชีพ ใช้เพื่ออวดหรือข่มคนที่ไม่มีเหมือนเรา ใช้เป็นเครื่องเล่นเช่นวัดพลังงานในองค์พระ ใช้เป็นสิ่งเอาไว้อ้อนวอนขอความสำเร็จชนิดไม่ต้องขวนขวายสร้างเหตุที่เหมาะ สม ใช้เป็นเครื่องอุ่นใจว่าปลอดภัยแน่ ๆ แล้วตั้งตนอยู่อย่างผู้ขาดสติและขาดความระมัดระวัง ฯลฯ
    วัตถุมงคล ...มงคลที่ตรงไหน ทุกท่านคงมีคำตอบแล้วนะครับ
    การถ่ายทอดผ่านบทความครั้งนี้อาจกระทบ ใจบางท่าน แต่ก็ด้วยหวังประโยชน์ที่จะเกิดขึ้น และบันทึกไว้เพื่อให้ผู้มาใหม่ได้เห็นปฏิปทาในการสร้างพระของหลวงปู่ดู่ พรหมปัญโญ แห่งวัดสะแก เพราะนานวันไปปฏิปทาส่วนนี้อาจถูกลืมเลือนไป

    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:TrackMoves/> <w:TrackFormatting/> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:DoNotPromoteQF/> <w:LidThemeOther>EN-GB</w:LidThemeOther> <w:LidThemeAsian>X-NONE</w:LidThemeAsian> <w:LidThemeComplexScript>TH</w:LidThemeComplexScript> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:SplitPgBreakAndParaMark/> <w:DontVertAlignCellWithSp/> <w:DontBreakConstrainedForcedTables/> <w:DontVertAlignInTxbx/> <w:Word11KerningPairs/> <w:CachedColBalance/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> <m:mathPr> <m:mathFont m:val="Cambria Math"/> <m:brkBin m:val="before"/> <m:brkBinSub m:val="--"/> <m:smallFrac m:val="off"/> <m:dispDef/> <m:lMargin m:val="0"/> <m:rMargin m:val="0"/> <m:defJc m:val="centerGroup"/> <m:wrapIndent m:val="1440"/> <m:intLim m:val="subSup"/> <m:naryLim m:val="undOvr"/> </m:mathPr></w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" DefUnhideWhenUsed="true" DefSemiHidden="true" DefQFormat="false" DefPriority="99" LatentStyleCount="267"> <w:LsdException Locked="false" Priority="0" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Normal"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="heading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="35" QFormat="true" Name="caption"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="10" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" Name="Default Paragraph Font"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="11" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtitle"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="22" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Strong"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="20" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="59" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Table Grid"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Placeholder Text"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="No Spacing"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Revision"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="34" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="List Paragraph"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="29" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="30" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="19" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="21" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="31" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="32" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="33" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Book Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="37" Name="Bibliography"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" QFormat="true" Name="TOC Heading"/> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-priority:99; mso-style-qformat:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin-top:0cm; mso-para-margin-right:0cm; mso-para-margin-bottom:10.0pt; mso-para-margin-left:0cm; line-height:115%; mso-pagination:widow-orphan; font-size:11.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Calibri","sans-serif"; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-theme-font:minor-fareast; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin;} </style> <![endif]--> http://www.luangpordu.com/?cid=453342&f_action=forum_viewtopic&forum_id=41281&topic_id=55577

     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 3 พฤษภาคม 2012
  18. Follower007

    Follower007 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    201
    ค่าพลัง:
    +303
    ศุกร์หรรษา...เคล็ดวิชาของไก่ในสุ่ม

    ศุกร์หรรษา...เคล็ดวิชาของไก่ในสุ่ม

    มีเรื่องเล่าต่อๆกันมาว่า สมัยโบราณเวลาที่ครูอาจารย์จะถ่ายทอดวิชา
    ให้ศิษย์นั้น อาจารย์มักจะไม่สอนศิษย์ให้หมดทีเดียว เพราะรู้หน้าไม่รู้ใจ
    จำต้องเก็บ "เคล็ดวิชา" ไว้บ้าง เผื่อมีศิษย์คิดล้างครูในวันหน้า
    แต่ "เคล็ดวิชา" ของไก่ในสุ่ม ไม่เป็นเช่นนั้น
    ใครบางคน... อาจนึกถึงหนังจีนกำลังภายใน
    พระเอกต้องไปวัดเส้าหลิน ทนลำบากขึ้นเขาไปฝึกวิชา
    ใครบางคน... อาจนึกถึง "อาโป" เจ้าหมีกังฟูแพนด้า
    ที่มาฮาเฮสรวลเสในกระทู้อาหารสมองตอนก่อนนี้
    ใครบางคน...อาจมีเคล็ดวิชา แต่ไม่มาบอกต่อกัน
    กระทู้นี้ขอเป็น...เวที เล่า"เคล็ดวิชา" ที่หลวงปู่สอนไว้
    เพื่อนๆ สมาชิกจะเล่าอะไร? อาหารสมองจะเล่าอะไร?
    โปรดอดใจรอ โปรดอดใจรอ...
    อ้อ! วันนี้วันพระ ขอเชิญชวนให้ "ไม่โกรธ ไม่โลภ ไม่หลง"
    ถวายหลวงปู่กันนะ!

    [​IMG]

    หาก "ไก่ในสุ่ม" เป็นตัวแทนของ กลุ่มคนผู้หวังจะเป็นอิสระ
    จากการที่จะ ต้องมาเกิด มาแก่ มาเจ็บ มาตายอีก
    "เคล็ดวิชา" ของไก่ในสุ่ม จึงหมายถึง ข้อปฏิบัติของบุคคล
    ผู้มุ่งหวังจะพ้นทุกข์ และปฏิบัติตนจนเห็นแนวทางที่จะออกจากทุกข์ได้

    เคล็ดวิชาที่ว่านั้น มีดังนี้

    ๑. ความสามารถในการมองเห็นสุ่ม

    ยิ่งเห็นสุ่มชัดเจนเท่าใด ก็จะยิ่งทำให้ออกจากสุ่มได้ง่ายเท่านั้น
    ยิ่งตื่นตัวเพียงใด (create sense of urgency) ก็ยิ่งพ้นภัยได้เร็วขึ้น
    เพียงนั้น ไก่ยังมีสุ่มให้มองเห็น แต่ชีวิตจริงของคนเราหลายคนมองไม่เห็น
    ว่ามี "อะไร"มาครอบอยู่ ดังนั้น การเห็นทุกข์ เห็นโทษ เห็นภัยในชีวิต
    จึงเป็นข้อคิดสำคัญที่สุดเป็นเรื่องแรก
    ๒. ความสามารถในการเตือนตน
    "วันคืนล่วงไปๆ ไก่เอ๋ย! เจ้ากำลังทำอะไรอยู่"
    ไก่ในสุ่มต้องฝึกฝนจนสามารถเตือนตนได้ โดยไม่ต้องให้ใครมาเตือน
    โดยเฉพาะการเตือนตนให้ไม่ประมาทนี้ ต้องถือเป็นวาระแห่งชาติ
    ๓. ความสามารถในการคบคน
    คบคนเช่นไร ก็เป็นคนเช่นนั้น เลือกหัวหน้าฝูงโคเช่นใด ก็ต้องเดิน
    ตามโคผู้นำไปทางนั้น ครูอาจารย์ดี เพื่อนดี จึงมีค่ายิ่งกว่าสิ่งใดๆ
    ๔. ความสามารถในการหลีกหนีศัตรู
    ศัตรูของไก่ไม่ใช่เพียงไข้หวัดนกเท่านั้น แต่ศัตรูสำคัญก็คือคนนี่เอง
    และคนที่เป็นศัตรูสำคัญที่สุด คือคนที่เห็นอยู่ทุกวัน เวลาที่ส่องมองกระจก
    "คนในกระจกที่ยังมีโลภ มีโกรธ มีหลง คือศัตรูสำคัญที่สุด"
    ๕. ความมุ่งมั่นไปสู่ความสำเร็จ
    มีไก่จำนวนมากที่ล้มหายตายจากไปในระหว่างทางก่อนถึงที่หมาย
    เนื่องจากขาด "สัจจะบารมี" คือความจริงใจทั้งแก่ตนและผู้อื่น
    หลวงปู่ท่านจึงสอนว่า
    "คนจริง ทำจริง ก็จะเจอของจริง" ท่านให้ดูหลวงปู่มั่น หลวงพ่อเกษม
    เป็นแบบอย่างที่ "ธรรมนั้นอยู่ฟากตาย"
    เคล็ดวิชาทั้ง ๕ ประการ หาก"ไก่ในสุ่ม" ตัวใด นำไปใช้ปฏิบัติ
    ขอรับรองว่าจะไม่ติดขัด ไม่อับจนหนทางเดินตามที่หลวงปู่ท่านสอน
    "ต้องสำเร็จ" อย่างแน่นอน
    ถึงตรงนี้ ขอให้ถามตัวเองว่า ...
    "ไก่ตัวนี้ พร้อมที่จะออกจากสุ่มแล้วหรือยัง?"

    http://www.luangpordu.com/?cid=453342&f_action=forum_viewtopic&forum_id=41281&topic_id=129415
     
  19. Follower007

    Follower007 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    201
    ค่าพลัง:
    +303
    Luang Pu Du 01.jpg

    หลวงปู่นั่งขัดสมาธิให้ถ่ายด้านข้าง เพื่อใช้เป็นต้นแบบสร้างพระบูชารูปเหมือนหลวงปู่
    รูปนี้หลวงปู่นั่งหันหน้าเข้าหากุฏิ
    ในรูปยังมองเห็นแทงค์และโอ่งน้ำมนต์หลวงปู่
    ทุกวันนี้ น้ำมนต์หลวงปู่ไม่เคยหมด ผู้ศรัทธาสามารถเอาขวดน้ำไปรองเพื่อนำกลับบ้านได้
    ในแทงค์น้ำมนต์จะมีแผ่นยันต์ (เนื้อปูน) ที่หลวงปู่ตั้งใจอธิษฐานจิตเพื่อใช้ทำน้ำมนต์ (แบบถาวร ไม่รู้จบ)
    เมื่อเพื่อน ๆ ทราบแล้ว ก็ควรหาโอกาสเอาขวดไปรองกลับมาบ้านกันบ้างนะครับ

    luangpudu.com / luangpordu.com

     
  20. Follower007

    Follower007 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    201
    ค่าพลัง:
    +303
    ภาพเก่าเล่าเรื่อง

    Massage.jpg

    ภาพข้างต้นเป็นเอกสารเก่าแก่ที่พบในกุฏิหลวงปู่ ดูเหมือนจะเป็นตำรากดจุดตามแบบแพทย์แผนไทย
    แม้ตำราดังกล่าวจะมีประโยชน์อยู่บ้าง แต่หลวงปู่ก็มิได้นำมาถ่ายทอดหรือใช้มัน คงเพราะเห็นว่าไม่ใช่กิจของสงฆ์ประการหนึ่ง อีกประการหนึ่งคงเพราะเห็นว่าให้วิชชาอะไร ๆ ก็ไม่มีคุณค่าเท่ากับให้ "ธรรม" เพราะชีวิตของเรามันไม่ยาวพอจะเรียนรู้ทุกสิ่งทุกอย่าง (แม้จะมีประโยชน์) ต้องเลือกเอาที่สำคัญและเร่งด่วนก่อนที่ความเสื่อมแห่งสังขาร คือ ความแก่ ความเจ็บ และความตายจะมาถึง
    มันช่างยากและมีคุณค่าเหลือเกินที่จะอบรมสั่งสอนให้ใครสักคนรู้จักว่าสิ่งใดมีสาระแลมิใช่สาระ
    นอกจากตำรากดจุดแล้วก็ยังมียันต์ประเภท ต่าง ๆ แต่ก็นั่นแหละ ท่านศึกษาแล้วท่านก็วางไปในที่สุด ยิ่งเรื่องสักยันต์ หลวงปู่นอกจากจะไม่สอนแล้ว ยังพูดตำหนิให้ลูกศิษย์ฟังเสมอ ๆ ว่า "แต่ก่อน ข้าโง่มาเยอะ (ท่านพูดพร้อมกับชี้ไปที่รอยสักยันต์ที่ตัวท่าน"
    แต่ภายหลังกลับมีลูกศิษย์เอาสิ่งที่ท่าน ทิ้งมาถ่ายทอดว่าเป็นวิชชาสุดยอดอะไรต่าง ๆ มากมาย ได้ยินได้ฟังแล้วก็ให้รู้สึกสลดสังเวชใจ จึงว่าเป็นการยากและมีคุณค่าเหลือประมาณในการที่ครูอาจารย์จะอบรมสั่งสอนให้ ใครสักคนรู้ว่าสิ่งใดมีสาระแลมิใช่สาระ เพราะศิษย์ที่มามักเอาสิ่งที่ตนชอบใจเป็นที่ตั้งยิ่งกว่า "ธรรม" อันหลวงปู่และพระพุทธองค์ให้ความเคารพสูงสุด


    <table border="0" cellpadding="2" cellspacing="0" width="500" align="center"><tbody><tr><td>สิทธิ์ Talk:</td> </tr> <tr> <td><table bgcolor="#d1d7dc" border="0" cellpadding="6" cellspacing="1" width="100%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#fafafa" height="50" valign="top"> ภาพข้างต้นเป็นเอกสารเก่าแก่ที่พบในกุฏิหลวงปู่ ดูเหมือนจะเป็นตำรากดจุดตามแบบแพทย์แผนไทย
    แม้ตำราดังกล่าว จะมีประโยชน์อยู่บ้าง แต่หลวงปู่ก็มิได้นำมาถ่ายทอดหรือใช้มัน คงเพราะเห็นว่าไม่ใช่กิจของสงฆ์ประการหนึ่ง อีกประการหนึ่งคงเพราะเห็นว่าให้วิชชาอะไร ๆ ก็ไม่มีคุณค่าเท่ากับให้ "ธรรม" เพราะชีวิตของเรามันไม่ยาวพอจะเรียนรู้ทุกสิ่งทุกอย่าง (แม้จะมีประโยชน์) ต้องเลือกเอาที่สำคัญและเร่งด่วนก่อนที่ความเสื่อมแห่งสังขาร คือ ความแก่ ความเจ็บ และความตายจะมาถึง
    มันช่างยากและมีคุณค่าเหลือเกินที่จะอบรมสั่งสอนให้ใครสักคนรู้จักว่าสิ่งใดมีสาระแลมิใช่สาระ
    นอกจากตำรากดจุด แล้วก็ยังมียันต์ประเภทต่าง ๆ แต่ก็นั่นแหละ ท่านศึกษาแล้วท่านก็วางไปในที่สุด ยิ่งเรื่องสักยันต์ หลวงปู่นอกจากจะไม่สอนแล้ว ยังพูดตำหนิให้ลูกศิษย์ฟังเสมอ ๆ ว่า "แต่ก่อน ข้าโง่มาเยอะ (ท่านพูดพร้อมกับชี้ไปที่รอยสักยันต์ที่ตัวท่าน"
    แต่ภายหลังกลับ มีลูกศิษย์เอาสิ่งที่ท่านทิ้งมาถ่ายทอดว่าเป็นวิชชาสุดยอดอะไรต่าง ๆ มากมาย ได้ยินได้ฟังแล้วก็ให้รู้สึกสลดสังเวชใจ จึงว่าเป็นการยากและมีคุณค่าเหลือประมาณในการที่ครูอาจารย์จะอบรมสั่งสอนให้ ใครสักคนรู้ว่าสิ่งใดมีสาระแลมิใช่สาระ เพราะศิษย์ที่มามักเอาสิ่งที่ตนชอบใจเป็นที่ตั้งยิ่งกว่า "ธรรม" อันหลวงปู่และพระพุทธองค์ให้ความเคารพสูงสุด

    </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table> สาธุ..ครับ

    ความจริงเรื่องราวเหล่านี้..แม้ผมจะมีอายุทันยุคหลวงปู่ท่าน แต่สมัยนั้นก็มั่วแต่ไปอยู่ด้านอีสาน จนไม่มีโอกาส มีบุญได้กราบท่านเลย..

    จนมายุคหลัง ความที่สนใจในองค์ท่าน จึงพยายามติดตาม ศึกษาประวัติหลวงปู่ท่านจากบุคคลในพื้นที่จริง ทั้งจากคนในวัด คนใกล้ชิดวัด ชาวบ้านบริเวณวัด ที่ยังมีชีวิตอยู่ ณ ปัจจุบัน หลายๆท่านเป็นคนที่อยู่กับหลวงปู่ พูดคุย พบปะ รับใช้กับหลวงปู่ท่านเกือบจะทุกวัน

    จากการสอบถามรายละเอียดด้านต่างๆ ต้องยอมรับครับว่า หลวงปู่ฯท่านมีแนวทางการสอน การสนทนาพูดคุย การเตือนสติที่แตกต่าง หลากหลายมาก

    ผมเคยตั้ง ปุจฉากับตัวเองว่า ทำไมบางคราจึงดูเหมือนหลวงปู่ท่านสอนกันไปคนละแนวเลย เช่น ในกลุ่มผู้สนใจปฏิบัติธรรม ท่านก็จะเน้น สอน พูดคุย ไปในแนวทางธรรมะอย่างเดียว ปฏิบัติอย่าเดียว

    แต่ในกลุ่มผู้ สนใจแต่ด้านอภินิหาร พระเครื่อง คงกระพันชาตรี คาถาอาคม พิธีกรรมพิธีการ ที่เป็นที่นิยมสมัยนั้น หลวงปู่ท่านก็พูดคุยได้เช่นกัน แถมอธิบายทีมาที่ไป ย้อนยุคไปในสมัยที่ท่านเรียนอยู่บ้าง ประสบการ์ณบ้าง เล่าความวิเศษของคาถาบทนั้นๆบ้าง จนบางคราผมเองยังรู้สึกสงสัยว่า ที่แท้หลวงปู่ฯเป็นพระเกจิขมังเวทย์ หรือพระปฏิบัติผู้หวังพระวิมุตติหลุดพ้นกันแน่..

    ความสงสัยใน จิตส่วนลึกดังกล่าว ผมจึงได้พยายามสอบถามรายละเอียดลึกลงไปอีกว่า แล้วที่หลวงปู่ท่านสอน ท่านเล่า ท่านพูดคุยแต่เพียงด้านอภินิหาร ความขลังใดๆอย่างเดียวหรือ? หรือยังมีเรื่องราวอื่นๆที่หลวงปู่ท่านสอนลงที่จุดไหน อย่างไร

    เรียกว่าเกือบจะทั้งร้อยเปอร์เซ็นต์เท่าที่เคยได้ยินมา จะตอบตรงกันว่า ก็ให้ลงมือปฏิบัติ ลงมือจริง เห็นผลจริง แล้วจะรู้เอง

    ความที่เคย สงสัยเคลือบแคลงก็หมดไป จึงค่อยๆมานั่งเรียบเรียง ประกอบกับดูจากบุคคลิกลักษณะของคนที่ผมได้สอบถาม พูดคุยด้วย ก็พอจะอนุมานได้ว่า หลวงปู่ฯท่านไม่ขัดใคร แต่ท่านได้พิจารณาดูแล้วว่า บุคคลใดสมควรแก่ธรรมใด สถานะใด บางคราอาจปล่อยตามใจเขาแต่เพียงเบื้องต้น สนทนาพูดคุยด้วยเรื่องราวแบบลกๆ แต่ที่สุดแล้วองค์ท่านก็หาวิธีโน้มจิตใจเขาลงในธรรมได้เองล่ะ

    สิ่งที่กาลต่อมาอาจมีการถ่ายทอดที่ผิดแปลกแหวกแนวออกไปบ้าง ทั้งนี้ก็อยู่ที่ภูมิจิตภูมิธรรมของบุคคลผู้นั้น ว่าจะเลือกจดจำในข้อธรรมคำสอน คำพูด คำกล่าวด้านใดของหลวงปู่ท่านซะมากกว่า

    ก็เท่านี้เอง..สำหรับความรู้สึกนึกคิดผม


    ต้นไม้ต้นหนึ่ง..พิจารณาดูดีๆย่อมมีธรรม
    ราก ลำต้น กิ่งก้าน ใบ ประกอบขึ้นเป็นธรรม
    แม้เพียงลำต้น..พิจารณาโดยส่วนลึก
    ยังประกอบด้วย เปลือก แก่น กระพี้..
    ท่านชอบส่วนใดของต้นไม้ต้นนี้ฤา...

    <table border="0" cellpadding="2" cellspacing="0" width="500" align="center"><tbody><tr><td>ธุลีดิน Talk:</td> </tr> <tr> <td><table bgcolor="#d1d7dc" border="0" cellpadding="6" cellspacing="1" width="100%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#fafafa" height="50" valign="top"> ต้นไม้ต้นหนึ่ง..พิจารณาดูดีๆย่อมมีธรรม
    ราก ลำต้น กิ่งก้าน ใบ ประกอบขึ้นเป็นธรรม
    แม้เพียงลำต้น..พิจารณาโดยส่วนลึก
    ยังประกอบด้วย เปลือก แก่น กระพี้..
    ท่านชอบส่วนใดของต้นไม้ต้นนี้ฤา...
    </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table>

    อ้า... วันนี้มีประเด็นให้ได้มีธรรมสากัจฉากับคุณธุลีดินอีกแล้ว
    การปฏิบัติธรรมตามความเห็นของผมนั้น มิได้ขึ้นอยู่กับว่าชอบใจหรือไม่ชอบใจ มันขึ้นอยู่กับว่าถูกต้องหรือไม่ถูกต้องมากกว่า
    ที่ว่าส่วนต่าง ๆ ของต้นไม้รวมเป็นธรรม ก็ต้องตระหนักด้วยว่า กระพี้คือกระพี้ กระพี้ไม่ใช่แก่น เปลือกคือเปลือก เปลือกมิใช่แก่น ฯลฯ ปัญหาคืออย่าเผลอคว้าเอาเปลือกมาด้วยความสำคัญมั่นหมายว่ามันเป็นแก่น
    ส่วน ต่าง ๆ ของต้นไม้ย่อมมีความสำคัญ เปลือกก็สำคัญอย่างเปลือก เพราะเปลือกช่วยรักษากระพี้ กระพี้ก็สำคัญอย่างกระพี้ เพราะกระพี้ช่วยรักษาแก่น ก็เหมือนศีล สมาธิ และปัญญาที่ห่อหุ้มรักษาตัววิมุติ
    อีกประการหนึ่ง ผมเคยหยิบยกอยู่หลายครั้งว่าวัตรภายนอก เช่น พิธีกรรมต่าง ๆ เราจะไปดูถูกไม่ได้ เพราะไม่มีเปลือกหรือกระพี้ ต้นไม้ก็อยู่ไม่ได้
    แต่ประเด็นที่อยากจะชี้ ณ ที่นี้ เพื่อไม่ให้เกิดความสับสนหรือเข้าใจผิด ก็คือ เราไม่ได้พูดกันถึงเรื่องเปลือกหรือกระพี้ แต่เรากำลังพูดถึง "เถาวัลย์หรือกาฝาก" ที่มันจะมาทำลายตัวต้นไม้
    การทำพิธีกรรมทางศาสนาพราหมณ์โดยขาด ปัญญา หรือการเล่นเดียรัจฉานวิชา ฯลฯ มันจะทำให้ชาวพุทธเสียหลัก หลักอะไร ก็คือหลักเรื่องกรรมและความเพียรที่เน้นย้ำว่าบุคคลจะหลุดพ้นได้ก็ด้วยความ เพียร จะอยู่ดีมีสุขก็ต้องประพฤติธรรม มิใช่การอ้อนวอนอาราธนาขออำนาจหรือพลังงานลี้ลับมาดลบันดาล หรือเน้นอาคมยิ่งกว่าการประพฤติธรรม
    ผมเข้าใจเจตนาและเชื่อในความปรารถนาดี ของคุณธุลีดิน แต่ดูเหมือนคุณธุลีดินกำลังเอา ๒ เรื่องมาปนกัน คือ ๑. เรื่องคนเรามีจริตนิสัยที่ต่างกัน กับ ๒. การปฏิบัติที่ใช่ กับที่ไม่ใช่
    ในข้อ ๑ นั้น เป็นเรื่องของหนทางที่ล้วนถูกต้อง ซึ่งผู้ปฏิบัติพึงพิจารณาเลือกหนทางที่ถูกจริตนิสัย (ไม่ควรใช้คำว่าชอบใจหรือไม่ชอบใจ ก็เหมือนเด็ก ๆ หากผู้ใหญ่ให้เขาเลือกเอาหรือเลือกทำแต่ที่ชอบใจ ผลจะเป็นอย่างไร)
    แต่ข้อ ๒ เป็นเรื่องหนทางที่ผิดกับที่ถูก ไม่ใช่เรื่องของหนทางที่เหมาะกับจริตนิสัยหรือไม่
    อุปมาเหมือนมีทางไต่ลงเขาอยู่ ๓ ทาง ๑. ไต่อ้อมลงไปทางซ้ายซึ่งอาจช้าหน่อยเพราะมีต้นไม้เยอะ ๒. ไต่อ้อมลงไปทางขวาซึ่งอาจช้าหน่อยเพราะมีโขดหินมาก และ ๓. ไต่ลงไปตรงๆ เพราะมันใช้เวลาสั้นที่สุด แต่ทว่ามันชันมาก (ต้องใช้ความเพียรแรงกล้า)
    ทั้ง ๓ ทางล้วนเป็นทางไปสู่จุดหมายได้ ที่ผู้ปฏิบัติต้องเลือกเอาว่าจะเดินทางไหน แต่อยู่ ๆ ก็มีคนมาเสนอว่า อย่าไปนะ ๓ ทางที่ว่านั้น ให้กระโดดลงไปเลย จะถึงเร็วที่สุด แถมไม่ต้องเหน็ดเหนื่อยด้วย เพราะเชื่อว่าข้างล่างมีอะไรนุ่ม ๆ รองรับอยู่
    ผู้รู้ (คือพระพุทธเจ้าและครูบาอาจารย์) ซึ่งท่านทราบอันตรายของหนทางดังกล่าว ท่านจึงเตือนด้วยความเมตตาว่าจะมี อันตรายถึงชีวิต (พระพุทธเจ้าเคยอุปมาพระองค์เองว่าเป็นเหมือนยามเฝ้าตลิ่ง คอยบอกเตือนผู้ที่ไม่รู้ มิให้ไหลไปตามกระแสน้ำแล้วไปตกเหวข้างหน้า)
    สรุปก็คือ ไม่ควรเอาประเด็น หนทาง ๓ หนทาง (ซึ่งถูกทุกทาง) มาปนเปกับหนทางที่ "ไม่ใช่"
    ถามว่าจะรู้ได้อย่างไรว่าหนทางไหนใช่ หรือไม่ใช่
    ก็อาศัยแผนที่และเข็มทิศที่พระพุทธเจ้าประทานให้นั่นเอง
    แล้วจะไปหาแผนที่หรือเข็มทิศจากไหน
    ตอบว่า ก็อาศัยการศึกษา ไม่ว่าจะศึกษาโดยตรงจากพระไตรปิฎก หรือศึกษาผ่านครูบาอาจารย์ที่ท่านเป็นพระผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ (กรณีครู อาจารย์สอนไม่ตรงกับไม้บรรทัดที่พระพุทธเจ้าให้ไว้ เราก็ต้องยึดเอาของพระพุทธเจ้าเป็นหลักไว้ ไม่อย่างนั้นก็กลายเป็นปฏิบัติตามลัทธิของอาจารย์ ไม่ใช่ศาสนาพุทธ)
    นี่เขียนจนเมื่อยมืออีกรอบแล้วนะครับคุณ ธุลีดิน ถ้าไม่เห็นว่าเป็นคุณธุลีดินซึ่งท่องไปทั่วอีสาน เป็นคนรักความจริง และรักในเหตุในผล ก็คตงไม่เสี่ยงแสดงทัศนะข้างต้นเป็นแน่
    ด้วยความรักนับถือในฐานะผู้มีความเคารพในหลวงปู่ดุจเดียวกันครับ


    เห็นด้วยกับคุณลุงสิทธิ์ครับ..
    อย่างไรเสีย..ลุงสิทธิ์ก็ยังเป็นลุงสิทธิ์
    มีผู้มีความละเอียดลออ พิจารณาได้ลึกซึ้งมาก
    ประเด็นในกระทู้นี้..ความจริงเพียงแค่
    เจตนาในการสื่อให้เห็นถึงหลวงปู่ฯท่าน ในการเป็นพระปฏิบัติ
    และเชื่อว่ายังอาจมีคนใหม่ๆอีกหลายๆท่าน เท่าที่ผมเคยได้พูดคุยด้วย
    ที่ยังไม่รู้จักหลวงปู่ท่านที่แท้จริง และยังไม่รู้จักหน้าเวบแห่งนี้
    บางครั้งการได้ยิน ได้ฟัง ได้อ่าน เรื่องบางเรื่องอันเกี่ยวกับหลวงปู่ท่าน ที่ออกไปในแนววิชาคาถาอาคมต่างๆ พระเครื่องต่างๆเป็นต้น
    อาจจับเพียงจุดนั้น และพาลนึกไปว่าหลวงปู่ท่านเป็นพระออกแนวเกจิขมังเวทย์ไปเสียด้านเดียว
    จนละเลยเสียซึ่งการปฏิบัติ ซึ่งเป็นวัตถุประสงค์และสิ่งที่หลวงปู่ฯท่านเน้นย้ำที่สุด
    ก็จะเป็นไปอย่างน่าเสียดาย..
    ขอบคุณคุณลุงครับ..ที่อุตส่าห์พิมพ์จนเมี่อยนิ้ว..ฮา..

    luangpudu.com / luangpordu.com

     

แชร์หน้านี้

Loading...