สอนกรรมฐานให้ศิษย์ เป็นอัตตาใหม่ ไม่ได้นิพพานนะลูก

ในห้อง 'วิทยาศาสตร์ทางจิต - ลึกลับ' ตั้งกระทู้โดย anakarik, 16 พฤศจิกายน 2010.

  1. Kama-Manas

    Kama-Manas เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    5,351
    ค่าพลัง:
    +6,491
    ต้องขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงที่ชี้แนะ จะรับไว้พิจารณา
     
  2. Kama-Manas

    Kama-Manas เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    5,351
    ค่าพลัง:
    +6,491
    ขอตอบแทนผู้รู้ อาการที่ท่านเป็นเขาเรียกว่า"ปิติ"มั่ง?นะ ขอบคุณท่านเจ้าของข้อมูล ขออนุโมทนา อ่านแล้วน้ำตาไหลพราก ซาบซึ้งจริงๆ
     
  3. ๖T8๙

    ๖T8๙ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    251
    ค่าพลัง:
    +302
    อ่านแล้วรู้สึก... "ใช่เลย"!!!

    ประมาณนี้...
     
  4. Kama-Manas

    Kama-Manas เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    5,351
    ค่าพลัง:
    +6,491
    ถ้าพูดให้ตรงประเด็นก็คือ แต่ก่อนก็ซาบซึ้งคำสอนแนวนี้นะ แต่วันเวลาที่ผ่านไป ทำให้รู้ว่าที่คิดไว้ มันไม่ใช่ ก็เลยไม่อยากหลงทาง เท่านั้นเอง แต่ก็ขออนุโมทนากับท่านจขกท.ด้วย
    (อันนี้ก็แล้วแต่จริตของแต่ละคน คงเข้าใจ)
     
  5. samunpi

    samunpi สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 พฤศจิกายน 2010
    โพสต์:
    2
    ค่าพลัง:
    +1
    ไม่มีสิ่งใดในโลกนี้ที่จะแน่นอนไปหมดซะทุกเรื่องขอเพียงแค่เราค้นพบนิพพานก็เป็นสุขแล้ว...
     
  6. ผู้พันจุ่น

    ผู้พันจุ่น เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    1,396
    ค่าพลัง:
    +2,983
    มันเป็นระบบสมองที่เราได้อ่านแล้วทำความเข้าใจกับข้อความ เลยเกิดความซาบซึ้ง..แต่พอไม่นานเราก็ลืมมัน เนื่องด้วยเป็นเพียงความจำในสมองเท่านั้น ..นั่นเอง

    ปัญหาคือ ทำอย่างไรจีงจะให้สภาวะธรรมที่ท่านได้รับจากการผัสสะ เกิดขึ้นอย่างมั่นคงประดิษฐานในจิตใจอย่างยั่งยืนได้เท่านั้น นั่นคือต้องหาทางและวิธีการปฏิบัติให้ได้ จขกท.อาจจะยังมีแนวทางอยู่ จึงสามารถบันทึกออกมาได้เป็นลายลักษณ์อักษรที่เข้าใจแล้วมาบรรยายให้เห็นเป็นรูปธรรมได้อย่างนี้

    รอท่านมาแนะนำต่อก็แล้วกัน................เขี่ยผงออกจากตาได้โดยพลัน.
     
  7. Kama-Manas

    Kama-Manas เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    5,351
    ค่าพลัง:
    +6,491
    หมายถึงว่า ให้ใช้หัวใจอ่านใช่มั้ยจ้ะ? เพราะถ้าใช้สมองเมื่อไร? เสียสติเมื่อนั้น ประมาณว่าให้ใช้ความรู้สึกนำใช่มั้ย? แล้ว"สภาวธรรม"เป็นเช่นไรเล่า? ช่วยอธิบายหนูทีเถอะ (โง่มานานแระ)
     
  8. มีแปปเดียว

    มีแปปเดียว เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มกราคม 2010
    โพสต์:
    889
    ค่าพลัง:
    +3,876
    ขอพูดแบบคนโง่นะ
    ถ้าสอนใครแล้วหลงตัวเองว่าเก่งเป็นอาจารย์เป็นปรมาจารย์ก็เข้าข่ายบทความนี้
    ส่วนพระสัมมาสัมพุทธเจ้าและพระอรหันต์สาวกทั้งหลายไม่มีแล้วซึ่งอัสสิมานะ อหังการ มมังการ
    ไม่เข้าข่ายบทความนี้
    นิพพานละสังโยชน์10อย่าง จะสอนอย่างไรก็ไม่พ้นการละนี้
    สอนให้ทำอย่างอื่นนอกจากการละสังโยชน์ฟังดูดีแต่ไปไม่ใช่ธรรมะของพระพุทธเจ้า
     
  9. มีแปปเดียว

    มีแปปเดียว เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มกราคม 2010
    โพสต์:
    889
    ค่าพลัง:
    +3,876
    สังโยชน์ แปลว่า กิเลสเป็นเครื่องร้อยรัดจิตใจให้ตกอยู่ในวัฎฎะ มี 10 อย่าง
    1. สักกายทิฏฐิ เห็นว่า ร่า่งกายเป็นเรา เป็นของเรา (คำว่าร่างกายนี้หมายถึง ขันธ์ 5)
    2. วิจิกิจฉา ความลังเลสังสัย ในคุณพระรัตนตรัย
    3. สีลัพพตปรามาส รักษาศีลแบบลูบ ๆ คลำ ๆ ไม่รักษาศีลอย่างจริงจัง
    4. กามฉันทะ มีจิตมั่วสุมหมกมุ่น ใคร่อยู่ในกามารมณ์
    5. พยาบาท มีอารมณ์ผูกโกรธ จองล้างจองผลาญ
    6. รูปราคะ ยึดมั่นถือมั่นในรูปฌาน
    7. อรูปราคะ ยึดมั่นถือมั่นในอรูปฌาน คิดว่าเป็นคุณพิเศษที่ทำให้พ้นจากวัฎฎะ
    8. มานะ มีอารมณ์ถือตัวถือตน ถือชั้นวรรณะเกินพอดี
    9. อุทธัจจะ มีอารมณ์ฟุ้งซ่าน ครุ่นคิดอยู่ในอกุศล
    10. อวิชชา มีความคิดเห็นว่า โลกามิสเป็นสมบัติที่ทรงสภาพ
      นักปฏิบัติที่ท่านปฏิบัติกันมาและได้รับผลเป็นมรรคผลนั้น ท่านคอยเอา สังโยชน์ เข้าวัดอารมณ์เป็นปกติ เทียบจิตกับ สังโยชน์ ว่า เราตัดอะไรได้เพียงใด แล้วจะรู้ผลปฏิบัติอารมณ์ที่ละนั้นเอง
      สังโยชน์ทั้ง 10 ข้อนี้ ถ้าพิจารณาวิปัสสนาญาณแล้ว จิตค่อย ปลดอารมณ์ที่ยึดถือได้ครอบ 10 อย่าง โดยไม่กำเริบอีกแล้ว ท่านว่า ท่านผู้นั้นบรรลุอรหัตผล
      สักกายทิฏฐิ ท่านแปลว่า ให้รู้สึกในอารมณ์ของเราว่า ร่างกายนี้ไม่ใช่เราไม่ใช่ของเรา เราไม่มีในร่างกาย ร่างกายนี้ไม่มีในเรา หรือตามศัพท์ที่เรียกว่า ขันธ์ 5 คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ นี้มันไม่ใช่ของเรา เราไม่่มีในขันธ์ 5 ขันธ์ 5 ไม่มีในเรา อารมณ์ขั้นต้นของพระโสดาบัน กับสกิทาคามี ท่านมีความรู้สึกว่าชีวิตนี้ต้องตาย เราต้องคิดว่า ร่างกายนี้ต้องตายแน่ ร่างกายนี้น่าเกลียดโสโครก ต้องเกลียดจริง ๆ เราไม่ต้องการทั้งร่างกายเรา และร่างกายของคนอื่น หรือวัตถุธาตุใด อย่างนี้เป็นกำลังใจของพระอนาคามี และถ้ามีความรู้สึกว่า ร่างกายนี้ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา เราไม่มีในร่างกาย ร่างกายไม่มีในเรา อย่างนี้เป็นกำลังใจของพระอรหันต์
      ถ้าจะปฏิบัติกันตามลำดับแล้ว ต้องใช้อารมณ์ตามลำดับ คือ
      อารมณ์ขั้นต้น ใช้อารมณ์แบบเบา ๆ คือมีความรู้สึกตามธรรมดาว่า ชีวิตนี้ต้องตาย ไม่มีใครเลยในโลกนี้ที่จะทรงชีวิตได้ตลอดกาล ในที่สุดก็ต้องตายเหมือนกันหมด ใช้อารมณ์ให้สั้นเข้า คือมีความรู้สึกไว้เสมอว่า เราอาจจะตายวันนี้ไว้เสมอ จะได้ไม่ประมาทในชีวิต
      อารมณ์ขั้นกลาง ท่านให้ทำความรู้สึกเป็นปกติว่า ร่างกายของคนและสัตว์ ตลอดจนวัตถุทุกชนิดเป็นของสกปรกทั้งหมด มีทั้ง อุจจาระ ปัสสวะ น้ำเลือด น้ำเหลือง น้ำหนอง เป็นต้น พยายามทำอารมณ์ให้ทรงจนเกิดความเบื่อหน่ายในร่างกายทั้งหมด
      อารมณ์สูงสุด มีความรู้สึกว่า ร่างกายนี้ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา เราไม่มีในร่างกาย และร่างกายไม่มีในเรา มีอาการวางเฉยในร่างกายทุกประเภท เป็นอารมณ์ของพระอรหันต์
      วิจิกิจฉา แปลว่า สงสัย คือสงสัยในความดีของพระพุทธเจ้า สงสัยในความดีของพระธรรมคำสั่งสอน สังสัยในความดีของพระอริยสงฆ์ สงสัยว่า พระพุทธเจ้ามีจริงหรือไม่ เมื่อสงสัยเข้าก็ไม่เชื่อ ถ้ามีอารมณ์อย่างนี้ ต้องลงอบายภูมิ
      เพราะฉะนั้นจงอย่ามีในใจ ใช้ปัญญาพิจารณานิดเดียว ก็จะเข้าใจว่า พระพุทธเจ้าพูดถูก พูดจริง ยอมรับนับถือคำสั่งสอนของพระองค์
      สีลัพพตปรามาส คือ ลูบคลำศีล รักษาศีลไม่จริงจัง อย่างนี้จงอย่ามีในเรา จงปฏิบัติให้ครบถ้วนด้วย 3 ประการ
      1. มีความรู้สึกว่าร่างกายนี้มันจะต้องตาย
      2. ไม่สงสัยในคำสอน ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พร้อมยอมรับปฏิบัติตาม
      3. รักษาศีลครบถ้วนโดยเคร่งครัด
      ทำอย่างนี้ได้ ท่านผู้นั้นเป็นพระโสดาบัน และพระสกิทาคามี
      กามฉันทะ คือมีความพอใจในกามคุณ คือ รูปสวย เสียงเพราะ กลิ่นหอม รสอร่อย สัมผัสระหว่างเพศ เราต้องกำจัดในสิ่งเหล่านี้ ให้รู้ว่าสกปรก โสโครก เราไม่ต้องการ และกำจัด
      ปฏิฆะ คือ การกระทบกระทั่งความไม่พอใจออกจากจิต มีความเมตตา กรุณา เข้ามาแทน จิตมีความเบื่อหน่ายในร่างกายเป็นที่สุด ท่านตรัสว่า เป็นอารมณ์ของพระอนาคามี
      รูปราคะ และ อรูปราคะ เป็นการหลงในรูปฌาน และอรูปฌาน เราต้องไม่หลงติด ไม่มัวเมาใน รูปฌาน และอรูปฌาน แต่จะรักษาไว้เพื่อประโยชน์แก่จิตใจ แล้วใช้่ปัญญาพิจารณาขันธ์ 5 ว่ามีแต่ความทุกข์ มีการสลายตัวไปในที่สุด เมื่อขันธ์ 5 ไม่ทรงตัวแบบนี้แล้ว
      มานะ การถือตัวถือตนว่าเราดีกว่าเขา วางอารมณ์แห่งการถือตัวถือตนเสีย มีเมตตาบารมีเป็นที่ตั้ง
      ตัดอุทธัจจะ คืออารมณ์ฟุ้งซ่าน
      การถือตัวถือตน เป็นปัจจัยของความทุกข์ เราควรวางใจแต่เพียงว่า ชราปิ ทุกขา ความแก่เป็นทุกข์ มรณัมปิ ทุกขัง ความตายเป็นทุกข์ โสกะปริเทวะทุกขะ โทมะสัส อุปยาส ความเศร้าโศกเสียใจเป็นทุกข์ ทุกข์มาจากไหน ทุกข์มาจากการเกิด แล้วเกิดนี่มาจากไหน การเกิดมาจาก กิเลส ตัณหา อุปาทาน อกุศลกรรม เราควรวางใจเป็นกลาง การถือตัวถือตนเป็นปัจจัยของความทุกข์ จิตใจเราพร้อมในการเมตตาปรานี ไม่ถือตน เขาจะมีฐานะเช่นใดก็ช่าง ถือว่า เป็นเพื่อนเกิด แก่ เจ็บ ตาย เหมือนกันหมด ถ้ากำหนดอารมณ์อย่างนี้ได้ เราก็สามารถจะกำจัดตัวมานะของตนได้
      อวิชชา หมายถึง อุปาทาน คือความยึดมั่นถือมั่น ไม่รู้ตามความเป็นจริง อุปาทานนี้มีคำจัดกัดอยู่ 2 คำ คือ ฉันทะ และราคะ
      อุปาทาน ได้แก่ ฉันทะ คือความหลงใหลใฝ่ฝันในโลกามิสทั้งหมด มีความพอใจในสมบัติของโลก โดยไม่ได้คิดว่ามันจะต้องสลายไปในที่สุด
      ราคะ มีความยินดีในสมบัติของโลกด้วยอารมณ์ใคร่ในกิเลส
      ฉะนั้นการกำจัด อวิชชา ก็พิจารณาเห็นว่า สมบัติของโลกไม่มีอะไรเป็นเรา เป็นของเรา เราไม่มีในสมบัติของโลก ไม่มีในเรา จนมีอารมณ์ไม่ยึดถืออะไร มีอยู่ก็เป็นเสมือนไม่มี จิตไม่ผูกพันเกินพอดี เมื่อมีอันเป็นไปก็ไม่เดือดร้อน มีจิตชุ่มชื่นต่ออารมณ์พระนิพพาน ฉันทะ กับ ราคะ ทั้งสองนี้เป็นอารมณ์ของ อวิชชา ถือว่าเป็นความโง่ ยังไม่เห็นทุกข์ละเอียด ความจริงอารมณ์ตอนนี้ก็เข้มแข็งพอ คนที่เป็นอนาคามีแล้ว เป็นผู้มีจิตสะอาด มีอารมณ์ขุ่นมัวบ้างเล็ก ๆ น้อย ๆ อารมณ์ใจยังเนื่องอยู่ในอวิชชา สิ่งทั้งหลายเหล่านี้ ยังไม่เข้าถึงสุขที่สุด ที่เรียกว่า เอกันตบรมสุข ก็ควรจะใช้บารมี 10 นำมาประหัตประหารเสีย
      อวิชชานี้ ที่ว่า มีฉันทะ กับราคะ นั้น ท่านก็ตรัสว่า ฉันทะ คือมีความพใจในการเกิดเป็นมนุษย์ เกิดเป็นเทวดา เกิดเป็นพรหม ราคะ เห็นว่า มนุษยโลก เทวโลก พรหมโลกก็ดี ยังเป็นกิเลสเบา ๆ คือไม่สามารถจะพ้นทุกข์
      ฉะนั้น ถ้าจะตัดอวิชชา ให้ตัดฉันทะ กับราคะ ในอารมณ์ใจ คิดว่า มนุษยโลก เทวโลก พรหมโลก ทั้ง 3 ภพนี้ ไม่เป็นที่หมายของเรา คือยังเป็นแดนของความทุกข์ เทวโลก พรหมโลกเป็นแดนของความสุขชั่วคราว เราไม่ต้องการ ต้องการจิตเดียวคือ พระนิพพาน ในใจของท่านต้องการพระนิพพานเป็นอารมณ์ เป็นเอกัคตารมณ์ ในอุปสามานุสสติกรรมฐาน
     
  10. มีแปปเดียว

    มีแปปเดียว เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มกราคม 2010
    โพสต์:
    889
    ค่าพลัง:
    +3,876
    สังโยชน์

    <!-- /firstHeading --><!-- bodyContent --><!-- tagline -->จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
    <!-- /tagline --><!-- subtitle -->
    <!-- /subtitle --><!-- jumpto -->ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา
    <!-- /jumpto --><!-- bodytext --><TABLE style="BORDER-BOTTOM: #060 1px solid; TEXT-ALIGN: center; BORDER-LEFT: #060 1px solid; MARGIN: 0px 0px 1em 1em; FLOAT: right; BORDER-TOP: #060 1px solid; BORDER-RIGHT: #060 1px solid" id=WSerie_Buddhism class=toccolours cellSpacing=0 cellPadding=1 width=170><TBODY><TR><TD style="FONT-SIZE: 100%" colSpan=2><SMALL>ส่วนหนึ่งของ</SMALL>
    ศาสนาพุทธ

    [​IMG] สถานีย่อย
    <HR>[​IMG]
    ประวัติศาสนาพุทธ
    </TD></TR><TR><TD style="BACKGROUND-COLOR: #8a9e49; COLOR: #ffffff; FONT-SIZE: 95%" colSpan=2>ศาสดา</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>พระโคตมพุทธเจ้า
    (พระพุทธเจ้า)
    </TD></TR><TR><TD style="BACKGROUND-COLOR: #8a9e49; COLOR: #ffffff; FONT-SIZE: 95%" colSpan=2>จุดมุ่งหมาย</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>นิพพาน</TD></TR><TR><TD style="BACKGROUND-COLOR: #8a9e49; COLOR: #ffffff; FONT-SIZE: 95%" colSpan=2>ไตรรัตน์</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>พระพุทธ · พระธรรม · พระสงฆ์
    </TD></TR><TR><TD style="BACKGROUND-COLOR: #8a9e49; COLOR: #ffffff; FONT-SIZE: 95%" colSpan=2>ความเชื่อและการปฏิบัติ</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>ศีล (ศีลห้า) · ธรรม (เบญจธรรม)
    สมถะ · วิปัสสนา
    บทสวดมนต์และพระคาถา</TD></TR><TR><TD style="BACKGROUND-COLOR: #8a9e49; COLOR: #ffffff; FONT-SIZE: 95%" colSpan=2>คัมภีร์และหนังสือ</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>พระไตรปิฎก
    พระวินัยปิฎก · พระสุตตันตปิฎก · พระอภิธรรมปิฎก</TD></TR><TR><TD style="BACKGROUND-COLOR: #8a9e49; COLOR: #ffffff; FONT-SIZE: 95%" colSpan=2>หลักธรรมที่น่าสนใจ</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>ไตรลักษณ์
    อริยสัจ ๔ · มรรค ๘ · อิทัปปัจจยตา</TD></TR><TR><TD style="BACKGROUND-COLOR: #8a9e49; COLOR: #ffffff; FONT-SIZE: 95%" colSpan=2>นิกาย</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>เถรวาท · อาจริยวาท (มหายาน) · วัชรยาน · เซน</TD></TR><TR><TD style="BACKGROUND-COLOR: #8a9e49; COLOR: #ffffff; FONT-SIZE: 95%" colSpan=2>สังคมศาสนาพุทธ</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%">ปฏิทิน · บุคคล · วันสำคัญ · ศาสนสถาน · วัตถุมงคล</TD></TR><TR><TD style="BACKGROUND-COLOR: #8a9e49; COLOR: #ffffff; FONT-SIZE: 95%" colSpan=2>การจาริกแสวงบุญ</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%">พุทธสังเวชนียสถาน ·
    การแสวงบุญในพุทธภูมิ</TD></TR><TR><TD style="BACKGROUND-COLOR: #8a9e49; COLOR: #ffffff; FONT-SIZE: 95%" colSpan=2>ดูเพิ่มเติม</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>อภิธานศัพท์ศาสนาพุทธ
    หมวดหมู่ศาสนาพุทธ</TD></TR></TBODY></TABLE>สังโยชน์ คือ กิเลสที่ผูกมัดใจสัตว์, ธรรมที่มัดสัตว์ไว้กับทุกข์ หรือกิเลสเครื่องร้อยรัดจิตใจให้จมในวัฏฏะ มี 10 อย่าง คือ
    • ก. โอรัมภาคิยสังโยชน์ สังโยชน์เบื้องต่ำ 5 ได้แก่
      • 1. สักกายทิฏฐิ - มีความเห็นว่าร่างกายนี้เป็นของเรา มีความยึดมั่นถือมั่นในระดับหนึ่ง
      • 2. วิจิกิจฉา - มีความสงสัยในคุณของพระรัตนตรัย คือพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์
      • 3. สีลัพพตปรามาส - ความถือมั่นศีลพรต โดยสักว่าทำตามๆ กันไปอย่างงมงาย เห็นว่าจะบริสุทธิ์หลุดพ้นได้เพียงด้วยศีลและวัตร หรือนำศีลและพรตไปใช้เพื่อเหตุผลอื่น ไม่ใช่เพื่อเป็นปัจจัยแก่การสิ้นกิเลส เช่นการถือศีลเพื่อเอาไว้ข่มไว้ด่าคนอื่น การถือศีลเพราะอยากได้ลาภสักการะเป็นต้น ซึ่งรวมถึงการหมดความเชื่อถือในพิธีกรรมที่งมงายด้วย
      • 4. กามราคะ - มีความติดใจในกามคุณ
      • 5. ปฏิฆะ - มีความกระทบกระทั่งในใจ
    • ข. อุทธัมภาคิยสังโยชน์ สังโยชน์เบื้องสูง 5 ได้แก่
      • 6. รูปราคะ - มีความติดใจในวัตถุหรือรูปฌาน
      • 7. อรูปราคะ - มีความติดใจในอรูปฌานหรือความพอใจในนามธรรมทั้งหลาย
      • 8. มานะ - มีความยึดมั่นถือมั่นในตัวตนหรือคุณสมบัติของตน
      • 9. อุทธัจจะ - มีความฟุ้งซ่าน
      • 10. อวิชชา - มีความไม่รู้จริง
    พระโสดาบัน ละสังโยชน์ 3 ข้อต้นได้คือ หมดสักกายทิฏฐิ,วิจิกิจฉาและสีลัพพตปรามาส
    พระสกทาคามี ทำสังโยชน์ข้อ 4 และ 5 คือ กามราคะและปฏิฆะ ให้เบาบางลงด้วย
    พระอนาคามี ละสังโยชน์ 5 ข้อต้นได้หมด
    พระอรหันต์ ละสังโยชน์ทั้ง 10 ข้อ
    [แก้] อ้างอิง

     
  11. rnuir

    rnuir เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    198
    ค่าพลัง:
    +218
    ผมไม่ได้เข้ามากวนนะครับแต่อยากรู้ว่า
    ที่ทำอยู่นี้เป็นการสร้างบางอย่างรึเปล่า เป็นการสอนในแง่อาจารย์ลูกศิษย์รึเปล่า
    ขัดกับที่สอนมารึเปล่า

    ผมโอเคนะกับคำสอนอันนี้ แต่ก็อดคิดไม่ได้ถ้าใช้หลักที่อ่านมามันขัดกัน
    หรือว่าทุกอย่างขึ้นกับผู้สอนเองว่าคิดหรือไม่

    ถ้าใครตอบได้กรุณาชี้แนะด้วยครับ
     
  12. omaga13

    omaga13 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 ตุลาคม 2010
    โพสต์:
    20
    ค่าพลัง:
    +83
    ต่างคนต่างความคิด คนที่เป็นถึงครูบาอาจารย์คงไม่โง่หลงอุบายของโลก
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 21 พฤศจิกายน 2010
  13. bonizuka

    bonizuka เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กุมภาพันธ์ 2006
    โพสต์:
    80
    ค่าพลัง:
    +191
    ไม่เชื่ออ่ะ เชื่อแต่พระพุทธเจ้า งั้นที่พระพุทธเจ้าเทศน์ให้คนบรรลุธรรม พระพุทธเจ้าก็มีอัตตาสิ ไม่บรรลุนิพพาน ไม่เชื่อเด็ดขาด
     
  14. bonizuka

    bonizuka เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กุมภาพันธ์ 2006
    โพสต์:
    80
    ค่าพลัง:
    +191
    มั่วว่ะ.................................................
     
  15. ForeverYoung

    ForeverYoung เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    77
    ค่าพลัง:
    +135
    อ่านเม้นท์นี้แล้วขำกลิ้งเลยครับ พิมพ์ตัวโต แดงด้วย

    แต่ เอ.... ปกติแล้ว ถ้าเข้าผิดกระทู้ผมว่าโดยมาเค้าจะไม่เม้นท์นะครับ อ่านแล้วก็ผ่านเลยไปเฉย ๆ แต่นี่เม้นท์ด้วย

    รู้นะ คิดอะไรอยู่ ชิมิ

    สำหรับท่านจขกท.นะครับ ถ้ายังเป็นพ่อเป็นลูกอยู่ ยังไม่อรหันต์นะครับ
     
  16. omaga13

    omaga13 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 ตุลาคม 2010
    โพสต์:
    20
    ค่าพลัง:
    +83
    ถึง จขกท. ถ้ายังชอบเล่นเน็ตอยู่ไม่นิพพานนะครับ
     
  17. Kama-Manas

    Kama-Manas เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    5,351
    ค่าพลัง:
    +6,491
    อ่านธรรมะของท่าน"กังขา ณ ปลาย" แล้วคิดถึง"ครู"ขึ้นมาเลยเชียว สำนวนการสอนเหมือนครูหนูจี๊ดเลยนะเนี่ย
     
  18. ขม

    ขม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    370
    ค่าพลัง:
    +1,521
    ส่วนตัวครับ
    ผมชอบแบบที่มีครูบาอาจารย์สอนและชี้แนะแนวทางครับ
    และส่วนตัวอีกครับ ผมเชื่อว่านิพพานเป็นของเที่ยง
    และบอกอีกครั้งว่าเป็นความเห็นส่วนตัว(เพราะผมชอบเถรวาทแบบสายป่าครับผม)
     
  19. ผู้พันจุ่น

    ผู้พันจุ่น เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    1,396
    ค่าพลัง:
    +2,983
    น่าจะหาประโยชน์จากบทความ มิใช่มาหาข้อผิดพลาด ในบทความ........
     
  20. Phusaard

    Phusaard เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 พฤศจิกายน 2010
    โพสต์:
    436
    ค่าพลัง:
    +349
    จุดหมายคือยอดเขามีทางขึ้นอยู่หลายทาง
    ใครแรงเยอะก็ขึ้นทางชันถึงเร็วเหนื่อยหน่อยต้องเก็บพลังมานานเพื่อการนี้
    ใครแรงน้อยก็ค่อยๆเดินไปตามทางที่วกวนไม่ชัน เหนื่อยก็พัก บ้างอาจพลัดหลงไปทางอื่น บางอาจท้อกลับลงไป บางก็ถึงที่หมาย
    ผมขึ้นทางชันไม่ไหวพลังที่เก็บสะสมมาไม่มากพอ จึงเลือกทางวกวน พักมาหลายครา หลงไปหลายครั้ง แต่ยังไม่คิดจะกลับลงไป จะถึงหรือไม่ แต่ปัจจุบันคิดอยู่เสมอจุดหมายเดียวเท่านั้นที่จะไปให้ถึง คือยอดเขา

    ขออนุโมทนาสาธุ ครับ
     

แชร์หน้านี้

Loading...