สุดระทึก! อพยพหนีภัยบนเรือกู้ชีวิต ผจญวิกฤติโลกร้อน

ในห้อง 'วิทยาศาสตร์ทางจิต - ลึกลับ' ตั้งกระทู้โดย k.kwan, 16 สิงหาคม 2010.

  1. k.kwan

    k.kwan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    15,900
    ค่าพลัง:
    +7,310
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=center align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=center align=left>16 สิงหาคม 2553 04:07 น.</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD><IFRAME style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; OVERFLOW: hidden; BORDER-LEFT: medium none; WIDTH: 450px; BORDER-BOTTOM: medium none; HEIGHT: 35px" src="http://www.facebook.com/plugins/like.php?href=http://www.manager.co.th/Science/ViewNews.aspx?NewsID=9530000112416&layout=standard&show_faces=false&width=450&action=like&colorscheme=light&height=35" frameBorder=0 scrolling=no allowTransparency></IFRAME></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=550 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=550>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>"วิกฤติโลก" เป็นเช่นไร รุนแรงและน่ากลัวขนาดไหน "งานมหกรรมวิทย์ 53" พร้อมพาเยาวชนไปสัมผัสประสบการณ์ 4 มิติเสมือนจริงสุดตื่นเต้นของโลกในยุควิกฤติการณ์ครั้งใหญ่หลวง</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> โลกกำลังเข้าสู่ยุควิกฤติเพราะการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศที่เกิดจากน้ำมือของมนุษย์ มหันตภัยหลากหลายรูปแบบกำลังจ่อคิวเล่นงานสรรพชีวิต การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ที่ไม่อาจหวนกลับได้กำลังจะมาเยือนมนุษย์ ทว่าปลายทางแห่งวิกฤติโลกจะเป็นเช่นไร เผ่าพันธุ์มนุษย์จะอยู่รอดไปจนถึงศตวรรษหน้าได้หรือไม่ "มหกรรมวิทย์" ปีนี้พร้อมพาน้องๆ อพยพหนีภัยไปบนเรือกู้ชีวิต พร้อมผจญภัยไปกับวิกฤติโลกในอนาคตอันใกล้ผ่านอุโมงค์ 4 มิติเสมือนจริงสุดระทึก

    น้องๆ หลายคนอาจเคยได้ยินได้ฟังนักวิชาการพูดกันบ่อยๆ ถึงเรื่อง "ภาวะโลกร้อน" (Global Warming) และ "การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ" (Climate Change) หรืออาจเคยเห็นข่าวความร้ายกาจของภัยธรรมชาติในหลายๆ ประเทศ ขณะที่หลายคนยังไม่เคยประสบพบเจอกับตัวเอง (และคงไม่มีใครอยากให้เกิดขึ้น) แต่หากใครอยากรู้ว่ามหันตภัยจากภาวะโลกร้อนมันรุนแรงและร้ายกาจขนาดไหน ต้องลองไปสัมผัสประสบการณ์เสมือนจริง 4 มิติ (4D Simulator) สุดระทึกและเร้าใจในนิทรรศการ "วิกฤติโลก" ภายในงานมหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ประจำปี 2553 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=550 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=550>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>ลงเรือกู้ชีวิต พร้อมออกเดินทางผจญภัยไปในอุโมงค์แห่งวิกฤติโลก (ภาพจาก อพวช.)</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> เมื่อทุกคนพร้อมแล้ว เราไปลงเรือ(กู้ชีวิต)ลำเดียวกันเลย!

    จากนั้นกัปตันเรือจะพาเราผ่านเข้าสู่อุโมงค์แห่งวิกฤติโลกเพื่อข้ามเวลาไปยังในอนาคตอันใกล้ ที่ซึ่งเราจะต้องเผชิญกับวิกฤติการณ์ต่างๆ ที่เกิดจากการใช้ทรัพยากรอย่างฟุ่มเฟือยของมนุษย์ ทั้งด้านพลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม น้ำ และสุขอนามัย

    ในขณะเดียวกันการเปลี่ยนแปลงในธรรมชาติที่เกิดขึ้นจากการกระทำของมนุษย์ยังส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศอย่างเลวร้าย และทำให้เกิดมหันตภัยครั้งใหญ่หลากหลายรูปแบบตามมาอีกนับไม่ถ้วนตลอดเส้นทางการเดินทางบนเรือกู้ภัยสุดระทึก ที่ทั้งตื่นเต้น ตื่นตา และเร้าใจไปกับการฝ่าด่านม่านน้ำตกขนาดใหญ่ ดินแดนแห้งแล้งราวกับทะเลทราย หมอกควันแห่งโลกมลพิษ พายุไต้ฝุ่นอันน่าหวาดผวา และการเลี้ยวลดเพื่อการอยู่รอดของเรือกู้ภัย

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=550 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=550>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>สัมผัสประสบการณ์สุดระทึกท่ามกลางมหันตภัยสุดร้ายกาจภายในอุโมงค์วิกฤติโลก (ภาพจาก อพวช.)</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> ด.ช.รัตนพงษ์ คำผัด นักเรียนชั้น ป.6 โรงเรียนบ้านแม่ทราย จ.แพร่ เปิดเผยต่อทีมข่าววิทยาศาสตร์ ASTVผู้จัดการออนไลน์ ภายหลังร่วมสัมผัสประสบการณ์เสมือนจริงในอุโมงค์วิกฤติโลกว่า เป็นประสบการณ์ที่ตื่นเต้นมาก และรู้สึกกลัวบ้างในบางช่วงที่เรือแล่นผ่าน และเล่าว่าวิกฤติโลกที่ได้เผชิญมาในอุโมงค์นั้นน่ากลัวมาก หากมนุษย์ต้องการรอดจากวิกฤติเหล่านั้นต้องช่วยกันปลูกต้นไม้และใช้พลังงานอย่างประหยัด

    เผ่าพันธุ์มนุษย์ของเราจะฝ่าวิกฤติโลกครั้งนี้ไปได้หรือไม่ ไปหาคำตอบกันได้ในงานมหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ประจำปี 2553 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา ตั้งแต่วันที่ 7-22 ส.ค.53 เวลา 09.00-20.00 น. หรือดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.nsm.or.th ซึ่งฝ่ายจัดงานได้เตรียมรถรับ-ส่งฟรีจากสถานีรถไฟฟ้า อ่อนนุช ตั้งแต่ 8.30-20.30 น. รถออกทุกๆ 30 นาที

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=550 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=550>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>การใช้ทรัพยากรอย่างฟุ่มเฟือยของมนุษย์ คือจุดเริ่มต้นของวิกฤติโลก (ภาพจาก อพวช.)</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=413 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=413>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>ด.ช.รัตนพงษ์ คำผัด</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=550 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=550>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>นิทรรศการวิกฤติโลกหลากหลายรูปแบบที่เป็นการ "ย้ำ" ให้เห็นผลของการกระทำของมนุษย์ และ "เตือน" ให้มนุษย์เตรียมพร้อมรับมือกับสถานการณ์ที่กำลังจะเกิดขึ้นในอนาคต</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=550 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=550>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>"โรคอุบัติใหม่" มฤตยูตัวร้ายที่มาพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโลก</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    Science - Manager Online -
     
  2. k.kwan

    k.kwan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    15,900
    ค่าพลัง:
    +7,310
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>ท่องโลกที่มองไม่เห็นด้วย “แสงซินโครตรอน” </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=center align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=center align=left>13 สิงหาคม 2553 16:27 น.</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD><IFRAME style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; OVERFLOW: hidden; BORDER-LEFT: medium none; WIDTH: 450px; BORDER-BOTTOM: medium none; HEIGHT: 35px" src="http://www.facebook.com/plugins/like.php?href=http://www.manager.co.th/Science/ViewNews.aspx?NewsID=9530000111939&layout=standard&show_faces=false&width=450&action=like&colorscheme=light&height=35" frameBorder=0 scrolling=no allowTransparency></IFRAME></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=600 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=600>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>แสงซินโครตรอนช่วยให้ผู้พิการทางสายตาเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศได้ง่ายขึ้น</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> หลายคนอาจยังไม่รู้จักว่า “แสงซินโครตรอน” คืออะไร ใน “มหกรรมวิทย์ 53” ได้ฉายภาพให้เห็นว่าแสงที่หลายคนไม่คุ้นเคยนี้นำไปใช้ประโยชน์อะไรได้บ้าง

    แสงซินโครตรอน (Synchrotron) กำเนิดขึ้นภายในห้องปฏิบัติการแสงสยาม สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) ซึ่งเมื่ออิเล็กตรอนถูกเร่งภายในท่อสุญญากาศด้วยเครื่องเร่งอนุภาคทั้งแบบแนวตรงและแนววงกลม จนมีความเร็วเกือบ 300 ล้านเมตรต่อวินาที และการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนนี้ทำให้เกิดแสงซินโครตรอนที่ครอบคลุมตั้งแต่แสงอินฟราเรดจนถึงรังสีเอกซ์พลังงานต่ำ

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=449 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=449>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>แสงซินโครตรอนที่ครอบคลุมตั้งแต่รังสีอินฟราเรดถึงรังสีเอกซ์พลังงานต่ำ โดยมีตัวเลขแสดงความยาวคลื่นแสงในหน่วยเมตร พร้อมทั้งเปรียบเทียบขนาดแสงกับขนาดแบคทีเรีย เล็กลงไปจนถึงระดับอะตอม</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> ภายในมหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ประจำปี 2553 ซึ่งจัดขึ้นระหว่างวันที่ 7-22 ส.ค. ณ ศูนย์แสดงนิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอนได้รวบรวมผลงานเด่นๆ ขึ้นเป็นนิทรรศการ Light for Life ซึ่งจะทำให้เรารู้จักและเห็นความสำคัญของแสงซินโครตรอนมากขึ้น

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=450 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=450>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>วงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่แปลงการแสดงผลจากหน้าจอเป็นอักษรเบรลล์ด้วยจุดสัมผัส 6 จุด </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=450 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=450>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>จุดสัมผัส 6 จุดที่ทำขึ้นจากรังสีเอกซ์</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> แสงซินโครตรอนเพื่อ “คนตาบอด”

    ผู้พิการทางสายตาอาจพิมพ์สัมผัสได้เช่นเดียวกับคนสายตาปกติทั่วไป แต่เขาอาจไม่ทราบว่าได้พิมพ์อะไรออกมาบ้าง เพื่อช่วยให้ผู้พิการทางสายตรวจสอบการพิมพ์ได้ นักวิจัยจึงได้พัฒนา “ตัวแสดงผลอักษรเบรลล์” ซึ่งเป็นจุดสัมผัส 6 จุด ที่จะปรากฏเป็นตัวอักษรเบรลล์รูปต่างๆ ตามอักษรที่พิมพ์ โดยตัวแสดงอักษรเบรลล์ดังกล่าวผลิตขึ้นจากแสงซินโครตรอนย่านรังสีเอกซ์พลังงานต่ำ ได้ตัวแสดงอักษรเบรลล์ 6 จุดที่มีขนาดเพียง 0.956 X 1.866 มิลลิเมตร

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=450 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=450>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>เราใช้ประโยชน์จากแสงซินโครตรอนเพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงสารชีวโมเลกุลภายในตัวอ่อนวัวนมโคลนนิง เพื่อดูความพร้อมการฝังตัวในมดลูก</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> ติดตามตัวอ่อนลูกวัวโคลนนิงก่อนฝังตัวในมดลูก

    ปัญหาที่มักพบในการโคลนนิงโคนมคือ ตัวอ่อนไม่พร้อมที่ฝังตัวในมดลูกหรือลูกวัวพิการและตายหลังคลอด นักวิจัยจึงแก้ปัญหาด้วยการใช้สารไตรโคสสเตติน (Trichostatin: TSA) เพื่อปรับยีนให้แสดงออกเหมอืนกับการปฏิสนธิระหว่างไข่และอสุจิ เพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงสารชีวโมเลกุลภายในเซลล์ตัวอ่อนหลังได้รับการกระตุ้นด้วยสารดังกล่าว นักวิจัยได้ใช้รังสีอินฟราเรดจากเครื่องกำเนิดแสงซินโครตรอนเพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=600 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=600>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>ในเห็ดฟางมีสารเลคตินที่ยับยั้งเซลล์มะเร็งได้ แต่เราต้องหาวิธีสกัดออกมา</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> ใช้แสงซินโครตรอนช่วยสกัดสารต้านมะเร็งจากเห็ดฟาง

    ในเห็ดฟางมีสารเลคติน (Lectin) ที่พบว่าช่วยยับยั้งการเจริญของจุลินทรีย์ก่อโรคอาหารเป็นพิษ ทั้งยังแสดงความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งช่องปากและเซลล์มะเร็งปากมดลูก เพื่อพัฒนาวิธีสกัดสารดังกล่าวจากเห็ดฟาง นักวิจัย จึงได้ใช้เทคนิคยิงรังสีเอกซ์ในผลึกโปรตีน (Protein X-ray Crystallography) เพื่อศึกษาโครงสร้าง 3 มิติของสารโปรตีนชนิดนี้

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=450 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=450>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>แบคทีเรียแปลงแคดเมียมให้อยู่ในรูปที่ไม่เป็นพิษได้มากน้อยแค่ไหน ตรวจสอบได้ด้วยแสงซินโครตรอน</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> ตรวจสอบปริมาณแคดเมียมในนาข้าว

    อำเภอแม่สอด จ.ตาก มีพื้นที่ซึ่งปนเปื้อนแคดเมียมมากถึง 10,000 ไร่ แต่นักวิจัยพบว่ามีแบคทีเรียบางชนิดทนทานต่อปริมาณแคดเมียมที่มีความเข้มข้นสูงได้ และได้เลือกแบคทีเรียคูเพรียไวดัส ไทวันเอนซิส เอส 2500-3 (Cupriavidus taiwanensis S2500-3) ซึ่งเปลี่ยนแคดเมียมคลอไรด์ที่มีสมบัติละลายน้ำได้และมีความเป็นพิษสูง ให้เป็นแคดเมียมซัลไฟด์ที่ไม่ละลายน้ำและไม่เป็นพิษ

    นักวิจัย ได้ตรวจสอบการเปลี่ยนแคดเมียมให้อยู่ในรูปไม่เป็นพิษด้วยการตรวจสอบปริมาณการสะสมแคดเมียมในต้นข้าวที่ปลูกในพื้นที่ซึ่งมีแคดเมียมปนเปื้อนดังกล่าว โดบพบว่าข้าวที่ปลูกร่วมกับแบคทีเรียคูเพรียไวดัส ไทวันเอนซิส เอส2500-3 เป็นเวลา 8 วัน พบว่าการสะสมแคดเมียมในต้นข้าวลดลง 61%

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=600 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=600>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>เราใช้แสงซินโครตรอนตรวจสอบประวัติศาสตร์ได้</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> ฉายภาพประวัติศาสตร์ด้วย “แสงซินโครตรอน”

    เป็นครั้งแรกนักวิจัยใช้แสงซินโครตรอนเพื่อวิเคราะห์ตัวอย่างโบราณวัตถุในไทย โดยศึกษาลูกปัดแก้วโบราณสีแดงอายุ 1,300-2,000 ปีที่พบบริเวณชายฝั่งตะวันตกทางตอนใต้ของไทย ทั้งนี้นักวิจัยให้ความสนใจในการศึกษาทองแดงในลูกปัดแก้ว และจากการใช้เทคนิคการดูดกลืนรังสีเอกซ์ (X-ray Absorption Spectroscopy) จากแสงซินโครตรอนเพื่อวิเคราะห์ลูกปัด พบว่าในลูกปัดมีอะตอมทองแดงรวมกันเป็นผลึกในขนาดนาโนเมตร และมีอะตอมทองแดงที่มีประจุบวกกระจายในเนื้อแก้ว ซึ่งโครงสร้างอะตอมและสถานะทางเคมีในลูกปัดแก้วโบราณนี้คล้ายคลึงกับลูกปัดแก้วโบราณของอิตาลีที่มีอายุ 600-700 ปี

    การค้นพบดังกล่าวเป็นหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ที่แสดงถึงความสัมพันธ์ทางประวัติศาสตร์ของการทำลูกปัดแก้วโบราณสีแดงในทางตอนใต้ของไทยและประเทศในแถบเมดิเตอร์เรเนียน และเป็นการพิสูจน์ถึงการถ่ายทอดอารยธรรมจากการค้าขายทางทะเลระหว่าง 2 ทวีป

    สำหรับงานมหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ 2553 นี้ จัดขึ้นระหว่างวันที่ 7-22 ส.ค.53 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา โดยเปิดให้เข้าชมฟรี (ยกเว้นวันที่ 9 ส.ค.) พร้อมกันนี้ผู้จัดงานได้เตรียมรับ-ส่ง ณ สถานีรถไฟฟ้า อ่อนนุช เวลา 8.30 -20.30 น. รถออกทุกๆ 30 นาที

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>

    Science - Manager Online -
     
  3. k.kwan

    k.kwan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    15,900
    ค่าพลัง:
    +7,310
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>โชว์หลักการ "แสง" กันเห็นๆ ใน "มหกรรมวิทย์ 53"</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=center align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=center align=left>13 สิงหาคม 2553 10:14 น.</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD><IFRAME style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; OVERFLOW: hidden; BORDER-LEFT: medium none; WIDTH: 450px; BORDER-BOTTOM: medium none; HEIGHT: 35px" src="http://www.facebook.com/plugins/like.php?href=http://www.manager.co.th/Science/ViewNews.aspx?NewsID=9530000112054&layout=standard&show_faces=false&width=450&action=like&colorscheme=light&height=35" frameBorder=0 scrolling=no allowTransparency></IFRAME></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=648 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=648>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>แสงเลเซอร์ไม่หักเกออกนอกแท่งพลาสติกเพราะมีแท่งพลาสติกมีดัชนีหักเหมากกว่าอากาศ และสะท้อนไปมาอยู่ภายในแท่งเลเซอร์เป็นปราฏการณ์ที่เรียกว่า ปรากฏการณ์สะท้อนกลับหมด (total Internal Reflection) </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> “แสง” ทำให้เรามองเห็นได้อยู่ทุกวัน และยังนำไปประยุกต์ใช้ในการสื่อสาร การแพทย์ การทหารและประโยชน์ใช้สอยอีกมากมาย ประโยชน์ต่างๆ เหล่านั้นล้วนเกิดจากหลักการพื้นฐานไม่กี่หลักการ ไปดูกันได้ใน “มหกรรมวิทย์ 53”

    นิทรรศการแสงและเลเซอร์เป็นอีกไฮไลท์ภายในงานมหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ประจำปี 2553 ซึ่งจัดขึ้น ณ ศูนย์แสดงนิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา ระหว่างวันที่ 7-22 ส.ค.53 ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการทำงานของแสงและการประยุกต์ใช้

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=648 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=648>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>นิทรรศการแสงและเลเซอร์</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=486 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=486>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>อุปกรณ์กันขโมยที่นำแสงมาประยุกต์ใช้ โดยการติดตั้งตัวส่งและรับสัญญาณแสงเลเซอร์ เมื่อมีวัตถุมาขวางทางเดินของแสงเกิดสัญญาณเตือน</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=486 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=486>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>เมื่อผสม แม่สีแสง 3 สี คือ เขียว แดง และน้ำเงิน จะเกิดสีสันที่หลากหลายคล้ายสัญลักษณ์ช่องหลายสี </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=648 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=648>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>ทดลองส่งสัญญาณแสงผ่านเส้นใยแก้วนำแสง </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=486 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=486>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>เส้นใยแก้วนำแสงซึ่งส่งสัญญาณจากการสะท้อนกลับหมดของแสง ทำให้ส่งข้อมูลจากต้นทางไปปลายทางได้ </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=488 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=488>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>ความแตกต่างระหว่างแสงธรรมดากับแสงเลเซอร์คือ แสงเลเซอร์มีความถี่เดียว มีตำแหน่งการคลื่อนที่หรือเฟสเดียวกัน และมีความเข้มแสงมากกว่าแสงธรรมดา ทำให้แสงเลเซอรืเดินทางได้ไกลโดยที่ความเข้มแสงไม่ลดเหมือนแสงธรรมดา </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=486 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=486>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>กล้องสลับลาย (Kaleidoscope) อาศัยสมบัติสะท้อนแสงทำให้เกิดลวดลายที่หลากหลาย</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=486 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=486>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>ภาพสะท้อนกล้องสลับลายในหลายมุม</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=486 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=486>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=648 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=648>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>ภาพสะท้อนของคน 3 คนภายในทางเดินปริศนา (Mirror Maze) ที่ล้อมด้วยกระจก อาศัยการสะท้อนไป-มาของภาพ</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> สำหรับงานมหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ประจำปี 2553 นี้ จัดขึ้นระหว่างวันที่ 7-22 ส.ค.53 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา โดยเปิดให้เข้าชมฟรี พร้อมกันนี้ผู้จัดงานได้เตรียมรับ-ส่ง ณ สถานีรถไฟฟ้า อ่อนนุช เวลา 8.30 -20.30 น. รถออกทุกๆ 30 นาที

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    Science - Manager Online -
     
  4. k.kwan

    k.kwan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    15,900
    ค่าพลัง:
    +7,310
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>มหัศจรรย์ภาพลวงตา พิสูจน์ความน่าเชื่อของ "ดวงตามนุษย์"</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=center align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=center align=left>13 สิงหาคม 2553 10:12 น.</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD><IFRAME style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; OVERFLOW: hidden; BORDER-LEFT: medium none; WIDTH: 450px; BORDER-BOTTOM: medium none; HEIGHT: 35px" src="http://www.facebook.com/plugins/like.php?href=http://www.manager.co.th/Science/ViewNews.aspx?NewsID=9530000112037&layout=standard&show_faces=false&width=450&action=like&colorscheme=light&height=35" frameBorder=0 scrolling=no allowTransparency></IFRAME></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=500 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=500>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>ภาพฝาจีบถูกขยายขนาดและทำให้ยืดออกจนดูผิดเพี้ยนไป</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> เอ๊ะ! นี่ภาพอะไร ทำไมขยายยืดยาวจนดูไม่รู้เลยเรื่อง อ้าว! แล้วทำไมถ่ายรูปออกมาจึงกลายเป็นภาพ 3 มิติไปได้ ชักสงสัยซะแล้วว่าสิ่งที่ตามองเห็นจะน่าเชื่อถือได้ทั้งหมดจริงหรือ ไปพิสูจน์กันในงานมหกรรมวิทย์ปีนี้กันดีกว่า

    เด็กๆ หลายคน (รวมทั้งทีมข่าววิทยาศาสตร์ ASTVผู้จัดการออนไลน์) ที่เดินผ่านไปผ่านมาในนิทรรรศการ "ดวงตาและการมองเห็น" ภายในงานมหกรรมวิทย์ 53 ถึงกับต้องพิศวงและงงไปกับภาพ "ฝาจีบ" ที่ติดอยู่ที่พื้น ที่ดูยังไง้ยังไงมันก็ดูเป็นภาพฝาจีบแบนๆ ยืดยาวจนอาจไม่เรียกว่าฝาจีบ แต่ทำไมถ่ายรูปออกมาแล้วดูเหมือนฝาจีบขนาดใหญ่วางตั้งอยู่บนพื้นจริงๆไปได้

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=375 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=375>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>อีกมุมหนึ่งที่มองยังไงก็เป็นภาพฝาจีบที่ถูกยืดภาพให้ยาวออก</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> นายณัฐวุฒิ ชองอมรกุล นักวิชาการองค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.) ให้คำอธิบายเรื่องนี้ว่า นี่เป็นภาพลวงตา 3 มิติ ซึ่งสามารถสร้างขึ้นมาได้ด้วยการถ่ายภาพวัตถุจริง แล้วนำภาพมายืดออกในขนาดที่เหมาะสมด้วยโปรแกรมโฟโต้ชอป (Photoshop) ก็จะได้ภาพลวงตาที่สามารถมองเห็นเป็นภาพ 3 มิติได้ในมุมเฉพาะ หรือเมื่อมองผ่านเลนส์กล้องถ่ายรูป

    "ใครก็สามารถทำภาพลักษณะนี้ได้ หากมีความเข้าใจในเรื่องของแสง เงา และองศาในการมองเห็นภาพเป็นภาพ 3 มิติ ซึ่งมีมุมที่มองเห็นอยู่อย่างจำกัด" นักวิชาการ อพวช. กล่าว และยังบอกอีกว่าหากเราปิดตาข้างหนึ่งแล้วมองดูภาพลวงตาดังกล่าวด้วยตาอีกข้างหนึ่ง ก็สามารถมองเห็นเป็นภาพ 3 มิติ ลอยนูนขึ้นมาเหนือจากพื้นได้เช่นเดียวกัน ที่เป็นเช่นนั้นเพราะดวงตาทั้ง 2 ข้างของเรารับภาพแตกต่างกันเล็กน้อย แต่สมองช่วยประมวลผล ทำให้เรามองเห็นภาพวัตถุนั้นๆ ในมิติที่ถูกต้องได้ แต่เมื่อมองด้วยตาข้างเดียว ทำให้สมองได้รับข้อมูลไม่ครบถ้วน จึงประมวลผลผิดแผกไปจากความเป็นจริง ซึ่งการที่เรามองเห็นเป็นภาพ 3 มิติได้นั้นยังต้องอาศัยประสบการณ์และจินตนาการของเราด้วยส่วนหนึ่ง

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=375 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=375>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>เมื่อยืนอยู่มุมนี้และมองภาพผ่านเลนส์กล้องถ่ายรูป กลับดูเหมือนมีฝาจีบขนาดใหญ่วางอยู่บนพื้นจริงๆ</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> นอกจากนั้น ภายในนิทรรศการดวงตาและการมองเห็นยังได้รวบรวมภาพลวงตารูปแบบต่างๆ มาให้น้องๆ เยาวชนไปพิสูจน์กันว่าสิ่งที่รับรู้ด้วยดวงตาของเรานั้นน่าเชื่อถือได้มากน้อยแค่ไหน และทำให้เรารู้ว่า "ดวงตามนุษย์" ก็มีข้อจำกัดในการมองเห็นเหมือนกัน

    พร้อมทั้งยังได้เรียนรู้เรื่องดวงตาและการมองเห็นของมนุษย์ ซึ่งเราจะได้รู้กันว่า แท้จริงแล้วภาพที่ "ดวงตา" ของเรามองเห็นนั้นเป็นอย่างไรกันแน่ และเรายังจะได้ทดลองสัมผัสการมองเห็นของสัตว์ประเภทต่างๆ อย่างน่าอัศจรรย์ รวมทั้งทำความรู้จักกับเทคโนโลยีที่น่าทึ่งเกี่ยวกับภาพและการมองเห็น และกิจกรรมแสนสนุกอีกมากมาย

    น้องๆ คนไหนหรือใครอยากทดสอบความสามารถในการมองเห็นของ "ดวงตา" ไปพิสูจน์กันได้ในงานมหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ประจำปี 2553 ณ ศูนย์นิทรรศการและประชุมไบเทค บางนา ระหว่างวันที่ 7-22 ส.ค.53 เวลา 09.00-20.00 น. หรือดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ www.nsm.or.th

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=375 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=375>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>เยาวชนสนใจกับความมหัศจรรย์ของภาพลวงตา 3 มิติ พร้อมโพสต์ท่าถ่ายภาพไว้เป็นที่ระลึกกันอย่างสนุกสนาน</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=375 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=375>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>ภาพนี้ก็ดูเหมือนตัวด้วงกำลังไต่กิ่งไม้อยู่จริงๆ</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=500 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=500>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>นายณัฐวุฒิ ชองอมรกุล กับแบบจำลอง "ตึกลูกเต๋า" ที่ดูเหมือนมีมิติที่ถูกต้อง แต่ที่จริงแล้วไม่ใช่อย่างที่เห็นในภาพ</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=500 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=500>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>ภาพลวงตารูปแบบต่างๆ ที่ อพวช. นำมาให้น้องๆ พิสูจน์ศักยภาพการมองเห็นของ "ดวงตา" ในงานมหกรรมวิทย์ 53</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=500 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=500>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>รู้จักเทคนิคบลูสกรีน</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=500 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=500>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>ดวงตาสัตว์มองเห็นเป็นแบบไหน ไปพิสูจน์กัน</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    Science - Manager Online -
     
  5. Bingo-up

    Bingo-up เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 เมษายน 2010
    โพสต์:
    62
    ค่าพลัง:
    +334
    ตื่นเต้น ขิงๆ น่าไป แต่ไม่มีเพื่อนไปด้วย:cool:
     

แชร์หน้านี้

Loading...