ขอเชิญร่วมทำบุญสงเคราะห์พระภิกษุสงฆ์อาพาธ

ในห้อง 'ตลาด พระเครื่องเพื่อการกุศล' ตั้งกระทู้โดย พันวฤทธิ์, 29 พฤศจิกายน 2007.

  1. kratium

    kratium เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 มกราคม 2007
    โพสต์:
    484
    ค่าพลัง:
    +3,670
    เมื่อวันที่ 14 ก.ค.2552 เวลา 17.02 น.โอนเงินร่วมทำบุญกับทุนนิธิสงเคราะห์ พระสงฆ์อาพาธ จำนวน 500 บาท ขออนุโมทนาบุญกับทุกท่านค่ะ
     
  2. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097
    ธรรมะปราบมาร โพธิปักขิยธรรม 37

    [​IMG]



    ถ้ามนุษย์ ฝึกจิตได้ ในแนวสูง
    เปรียบดั่งยูง หรืออินทรีย์ ที่จิตมั่น
    เคยร่อนฟ้า อยู่กลางป่า ต้องฝ่าฟัน
    กิเลสนั้น มีรอบกาย ทำร้ายเรา

    เมื่อบินสูง จะกลับต่ำ ทำไม่ได้
    จึงต้องกราย ปีกหาง กลางขุนเขา
    เปรียบเช่นจิต ปุถุชน คนเราเรา
    หากเคยเข้า ลิ้มโลกุตตรฯ มิหยุดลอง

    ความสงบ ระงับ ดับกิเลส
    มองเห็นเหตุ แห่งภยา น่าสยอง
    วนวัฏฏา กระเสือกกระสนมา น้ำตานอง
    อยู่ในคลอง กามเกียรติกิน ดิ้นกันไป

    นักกีฬา มีสมัครเล่น มีทีมชาติ
    แต่มิขาด การฝึกซ้อม ด้วยฝันใฝ่
    เพราะต้องการ เหรียญทอง ผ่องอำไพ
    ประดับไว้ ในสกุล หนุนเผ่าพงษ์

    นักปฏิบัติ ก็มี มิได้แปลก
    ยังจำแนก เป็นมือใหม่ จิตไม่หลง
    มีศรัทธา ยึดมั่นธรรม คำพุทธองค์
    เพื่อปลดปลง แอกแบกไว้ ให้คลายจาง

    มือกระบี่ มือดาบ คิดปราบเซียน
    ที่วนเวียน ด้วยเพลงเขลา เงาผีสาง
    ล่อหลอกจิต ติดกามไว้ มิให้จาง
    อย่าอางขนาง คิดปราณี ที่จะฟัน

    แต่ละเพลง ที่บรรเลง ในดวงจิต
    ต้องครวญคิด ถึงเทคนิค ที่สร้างสรรค์
    ศึกษาให้ ปรุโปร่ง โล่งทางตัน
    แล้วจึงฟัน ด้วยเพลง(ธรรม)เดียว อย่างเชี่ยวชาญ




    จากคุณหิ่งห้อย

     
  3. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097
    <center>[​IMG]</center><center></center><center></center><center></center><center>ฟ้ากำหนด </center><center><hr style="color: rgb(209, 209, 225); background-color: rgb(209, 209, 225);" size="1"></center><center>คนเรานั้นเกิดมาฟ้ากำหนด
    ว่าต้องชดใช้กรรมทำแบบไหน
    ทำกรรมดีก็ได้ดีมีสุขใจ
    ทำชั่วไซร้ต้องรับกรรมที่ทำมา

    อย่าดูถูกตัวเองไปเสียหมด
    อนาคตยังสดใสในภายหน้า
    กุหลาบงามย่อมมีหนามคู่ตามมา
    ชั่วนั่นหนาคู่กับดีมีถมไป

    ได้เกิดมาเป็นมนุษย์สุดประเสริฐ
    ถึงไม่เลิศหรูงามตามวิสัย
    ทำความดีเป็นเอกลักษณ์ประจำใจ
    มองโลกในแง่ดีมีศีลธรรม

    อย่าคิดว่าทำดีแล้วได้ชั่ว
    หลงเมามัวในอบายคิดใฝ่ต่ำ
    ทำความดีย่อมได้ดีอย่างที่ทำ
    หากก่อกรรมทำชั่วไซร้..ไม่ได้ดี..


    ประพันธ์โดย..white rose....กุหลาบขาว
    </center><center></center><center></center>
     
  4. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097
    [​IMG]

    โชคดี ที่มีความทุกข์


    [SIZE=-1]
    [/SIZE]<fieldset>
    [SIZE=-1]ใคร หลายคนชอบคิดไปไกลในสิ่งที่ยังมาไม่ถึง...สิ่งที่ยังไม่เกิด ความคิดนี่แหละ ที่บั่นทอนพละกำลังส่วนหนึ่งของความสุข ที่ควรจะเกิด ควรจะมี ให้ลดน้อยลงไป
    [/SIZE]​

    [SIZE=-1]บาง ขณะ เราน่าจะทำชีวิตให้ดีกว่านั้นได้ง่ายๆ แต่เพราะความคิด ความกังวลทำให้สิ่งที่น่าจะง่าย กลายเป็นสิ่งยุ่งยาก ถ้าความคิดบางอย่าง ยิ่งคิด ยิ่งเศร้า ยิ่งทำให้กังวล ยิ่งไม่มีความสุข ยิ่งหวาดกลัววันข้างหน้า ก็อย่าไปคิดมันเลย [/SIZE]

    [SIZE=-1]แค่ทำวันนี้ให้มีความสุข ทำให้ดีที่สุดกับเวลานี้ที่มีโอกาสนี้... บางที ใครจะรู้ว่า อะไรๆที่ไปกังวลนั้น อาจจะมาไม่ถึงก็ได้.. [/SIZE]

    [SIZE=-1]ชีวิตอาจไม่ยาวนานถึงขนาดนั้น [/SIZE]

    [SIZE=-1]ไม่ มีใครรู้ว่าพรุ่งนี้ จะตื่นหรือเปล่า อย่ากังวลกับอะไรที่ยังมาไม่ถึง... มองวันนี้ ทำวันนี้ มีความสุขกับทุกวินาทีนี้ ..... ที่ยังหายใจอยู่ดีกว่า เวลามีพอเสมอสำหรับความสุข . [/SIZE]

    [SIZE=-1]ความทุกข์สร้างสิ่งมหัศจรรย์ ชีวิตที่พบความทุกข์ เป็นชีวิตที่แท้... [/SIZE]

    [SIZE=-1]ไม่ มีความทุกข์ก็ไม่มีการเติบโต ความทุกข์เป็นพลังขับเคลื่อนให้หลายอย่างเกิด ไม่มีใครไม่มีความทุกข์ เพราะนั่นคือการเป็นชีวิต ความทุกข์สอนให้แต่ละคนเข้มแข็งในแง่มุมต่างๆ ถ้าความทุกข์ไม่เข้ามาหา ก็จะไม่รู้ว่า ความสุขที่แท้เป็นอย่างไร [/SIZE]

    [SIZE=-1]ไม่มีความทุกข์ ก็ไม่รู้จักความสุข...... [/SIZE]

    [SIZE=-1]เพราะ ความทุกข์พิสูจน์ความเป็นคน อ่อนแอ หรือเข้มแข็ง ความทุกข์เป็นสิ่งท้าทายความสามารถ..... ต่างจากความสุข ที่ทำให้อ่อนแอ มองโลกง่ายๆแคบๆ [/SIZE]

    [SIZE=-1]ความ สุขเหมือนฝนพรำสาย อ่อนโยน งดงาม บางเบา แต่ว่างเปล่า ไม่มีการเรียนรู้ใดในความสุข....... เมื่อใดที่มีความทุกข์ ควรยิ้มรับ และคิดว่าโชคดีที่ได้เจอความทุกข์ ได้เรียนรู้การแก้ปัญหา ได้สงบ ได้สติ ได้ความนิ่ง ได้รู้จักโลก รู้จักตัวเอง รู้จักการเติบโตทุกๆก้าว [/SIZE]

    [SIZE=-1]ให้กำลังใจตัวเองมากๆ บอกตัวเองว่า [/SIZE]

    [SIZE=-1]โชคดีที่วันนี้มีความทุกข์ เพราะเมื่อผ่านความทุกข์ ความสุขก็จะรออยู่เบื้องหน้า... จงใช้ความทุกข์สร้างสิ่งมหัศจรรย์ให้กับชีวิต....[/SIZE]
    [SIZE=-1]
    [/SIZE]</fieldset>[SIZE=-1] [/SIZE]

    [SIZE=-1]http://www.bloggang.com/viewdiary.ph...oup=7&gblog=13[/SIZE]
     
  5. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097
    ขอลงเรื่องพระบรมสารีริกธาตุ และพระอรหันต์ธาตุอีกครั้งหนึ่งครับ ดูกันให้จุใจและเลือกเก็บไว้ต่างหากครับ เพราะอย่างน้อยก็มีผู้รวบรวมมาให้ดู ผมก็นำมาลงให้พวกเราได้ศึกษา และเป็นกำลังใจในการเร่งปฏิบัติในทาน ศีล และภาวนา เมื่อบุญเราเต็มในชาตินี้ หรือชาติหน้าฉันใด หรือเมื่ออินทรีย์พละเราแก่กล้าพอเหมาะพอควรแก่การซักฟอกธาตุขันธ์ ซึ่งอาจจะเป็นชาตินี้ หรือชาติหน้า หรือกี่ภพกี่ชาติก็ตาม หากปฏิบัติในวัตรข้างต้นแล้ว จะอย่างไร พวกเราก็คงเป็นเช่นท่านอย่างนี้ ไม่เป็นอื่นเช่นเดียวกัน เพราะพระธรรมนั้นเป็นของแท้ ไม่มีวันเปลี่ยนแปรเป็นไปอย่างอื่น แม้เวลาจะผ่านไปนานเพียงใดก็ตาม....ขอเอาใจช่วยและเป็นกำลังใจให้ทุกๆ คนที่เข้ามาบริจาคทานแก่สงฆ์อาพาธในกระทู้่นี้และที่อื่นๆ รวมถึงท่านผู้ที่มาเยี่ยมชมในกระทู้นี้ทุกท่าน...

    พันวฤทธิ์
    18/7/52


    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5" width="100%"><tbody><tr valign="top"><td>[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]ภาพถ่ายพระธาตุ [/FONT][FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif][FONT=Tahoma, MS Sans Serif][​IMG][/FONT][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif][FONT=Tahoma, MS Sans Serif][​IMG][/FONT][/FONT] [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][/FONT][FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]ระอรหันตธาตุสมัยพุทธกาล**[/FONT]

    </td><td align="right">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]
    [/FONT]</td></tr></tbody></table><table border="1" bordercolor="#ff0033" cellpadding="5" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr align="middle"><td width="20%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระสารีบุตร[/FONT]

    </td><td width="20%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระโมคคัลลานะ[/FONT]
    </td><td width="20%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระสีวลี[/FONT]
    </td><td width="20%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระองคุลิมาละ[/FONT]
    </td><td width="20%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระอัญญาโกณฑัญญะ[/FONT]
    </td></tr><tr align="middle"><td width="20%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระอนุรุทธะ[/FONT]
    </td><td width="20%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระกัจจายะนะ[/FONT]
    </td><td width="20%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระพิมพาเถรี[/FONT]
    </td><td width="20%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระสันตติมหาอำมาตย์ [/FONT]
    </td><td width="20%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระภัททิยะ[/FONT]
    </td></tr><tr align="middle"><td width="20%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระอานนท์ [/FONT]
    </td><td width="20%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระอุปปะคุต [/FONT]
    </td><td width="20%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระอุทายี [/FONT]
    </td><td width="20%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระอุตตะรายีเถรี [/FONT]
    </td><td width="20%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระกาฬุทายีเถระ [/FONT]
    </td></tr><tr align="middle"><td width="20%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระปุณณะเถระ [/FONT]
    </td><td width="20%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระอุปะนันทะ[/FONT]
    </td><td width="20%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระสัมปะฑัญญะ [/FONT]
    </td><td width="20%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระจุลลินะเถระ [/FONT]
    </td><td width="20%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระจุลนาคะ [/FONT]
    </td></tr><tr align="middle"><td width="20%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระมหากปินะ [/FONT]
    </td><td width="20%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระยังคิกะเถระ [/FONT]
    </td><td width="20%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระสุมณะเถระ [/FONT]
    </td><td width="20%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระกังขาเรวัตตะ [/FONT]
    </td><td width="20%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระโมฬียะวาทะ [/FONT]
    </td></tr><tr align="middle"><td width="20%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระอุตระ [/FONT]
    </td><td width="20%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระคิริมานันทะ [/FONT]
    </td><td width="20%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระสปากะ [/FONT]
    </td><td width="20%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระวิมะละ [/FONT]
    </td><td width="20%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระเวณุหาสะ [/FONT]
    </td></tr><tr align="middle"><td width="20%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระอุคคาเรวะ [/FONT]
    </td><td width="20%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระอุบลวรรณาเถรี [/FONT]
    </td><td width="20%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระโลหะนามะเถระ[/FONT]
    </td><td width="20%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระคันธะทายี [/FONT]
    </td><td width="20%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระโคธิกะ[/FONT]
    </td></tr><tr align="middle"><td width="20%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระปิณฑะปาติยะ [/FONT]
    </td><td width="20%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระกุมาระกัสสะปะ [/FONT]
    </td><td width="20%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระภัทธะคู [/FONT]
    </td><td width="20%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระโคทะฑัตตะ [/FONT]
    </td><td width="20%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระอนาคาระกัสสะปะ[/FONT]
    </td></tr><tr align="middle"><td width="20%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระคะวัมปะติ [/FONT]
    </td><td width="20%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระมาลียะเทวะ[/FONT]
    </td><td width="20%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระกิมิละเถระ[/FONT]
    </td><td width="20%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระวังคิสะเถระ [/FONT]
    </td><td width="20%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระโชติยะเถระ[/FONT]
    </td></tr><tr align="middle"><td width="20%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระเวยยากัปปะ [/FONT]
    </td><td width="20%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระกุณฑะละติสสะ [/FONT]
    </td><td colspan="3">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]หมายเหตุ [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]คำ บรรยายลักษณะพระธาตุต่างๆนี้เป็นของโบราณ มีอยู่ด้วยกันหลายตำรา คัดลอกสืบต่อกันมา ที่พบเห็นในปัจจุบันส่วนมาก คัดลอกมาจากตำราพระธาตุ ฉบับของคุณบุญช่วย สมพงษ์ อดีตอธิบดีกรมศาสนา เมื่อลองเทียบเคียงกับพระธาตุจริงแล้ว ก็พบว่ามีลักษณะที่แปลกแตกต่างกันไปบ้าง แต่โดยรวมก็สามารถอนุโลมเป็นพระธาตุของท่านนั้นๆได้[/FONT]

    </td></tr></tbody></table>
    <table bgcolor="#006633" cellpadding="5" cellspacing="1" width="100%"><tbody><tr><td align="middle" bgcolor="#008459">[FONT=Tahoma, MS Sans Serif]เกร็ดความรู้เกี่ยวกับตำราพระธาตุ และการจำแนกพระธาตุ[/FONT]</td></tr><tr><td align="middle" bgcolor="#ffffff" valign="top"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="2" width="100%"><tbody><tr><td>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]..........[/FONT][FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]"ตำราพระธาตุ" เป็นตำราเก่าแก่โบราณ บันทึกลักษณะสัณฐานของพระอรหันตสาวกธาตุ ทั้งก่อนและหลังพุทธปรินิพพานไม่นาน ไม่ทราบประวัติผู้บันทึกและความเป็นมา โดยทั่วไปมักใช้ลักษณะสัณฐานที่มีการบันทึกภายในตำรา ในการจัดจำแนกพระธาตุ ซึ่งตำรานี้นิยมเรียกสั้นๆว่า "ตำราพระธาตุของโบราณ" ในเมืองไทยปรากฏหลักฐานว่าพบด้วยกัน 4 ฉบับ โดยจะเรียกชื่อตำราตามผู้ที่เป็นเจ้าของตำรา ได้แก่ [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]..........[/FONT][FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]..........[/FONT][FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]1. ตำราพระธาตุของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นวิวิธวรรณปรีชา[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif].........[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]..........[/FONT].2. ตำราพระธาตุของคุณบุญช่วย สมพงษ์ อดีตอธิบดีกรมศาสนา *แพร่หลายมากที่สุด
    .........[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]..........[/FONT].3. ตำราพระธาตุของนายแพทย์เกิด บุญปลูก
    .........[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]..........[/FONT].4. ตำราพระธาตุของนางเสรษฐสมิธ (ผอบ นรเสรษฐสมิธ)
    [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]..........[/FONT][FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]การ จัดจำแนกว่าพระธาตุองค์นั้นๆเป็นขององค์ใด มีวิธีการจำแนกอยู่ 2 วิธี คือ การจำแนกตามลักษณะที่มีบันทึกในตำราพระธาตุของโบราณ และ การตรวจดูด้วยสมาธิ ซึ่งทั้ง 2 วิธีมีข้อดีข้อเสียที่แตกต่างกัน จึงทำให้บางท่านใช้ทั้ง 2 วิธีการร่วมกัน[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]..........[/FONT][FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]มีผู้ให้ข้อสังเกตและสันนิษฐานว่า [/FONT][FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]พระธาตุที่ได้รับการจัดจำแนกชื่อแล้ว อาจจะไม่ใช่ขององค์นั้นๆก็ได้ เนื่องจากพระอริยสาวกที่มีเป็นจำนวนมากนั้นเอง ทำให้มีลักษณะของพระธาตุที่หลากหลาย เหมือนหรือแตกต่างกันไป แต่อย่างไรก็ดี ถึงแม้จะไม่ใช่พระธาตุของท่านนั้นๆ ก็่อาจเป็นพระธาตุของพระสาวกที่มีคุณสมบัติโดดเด่นใกล้เคียงกัน หรือเป็นลูกศิษย์ของท่าน ในสายนั้นๆก็เป็นได้[/FONT]

    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif][FONT=Tahoma, MS Sans Serif][​IMG][/FONT][/FONT] [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระสาวกธาตุสมัยโบราณ [/FONT]
    <table border="1" bordercolor="#ff0030" cellpadding="5" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr valign="top"><td align="middle" width="50%">[​IMG]</td><td align="middle" width="50%">[​IMG]</td></tr><tr valign="top"><td align="middle" width="50%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระพุทธสาวกธาตุ [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พบภายในกรุวัดแห่งหนึ่ง ในเขต[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]อ.เชียงของ จ[/FONT][FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC].เชียงราย[/FONT]
    </td><td align="middle" width="50%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระพุทธสาวกธาตุ [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พบที่วัดร้าง จ.เชียงราย[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]ภายในผอบทรงเจดีย์ ที่ผลิตจากเตาวังเหนือ จ.ลำปาง[/FONT]
    </td></tr><tr valign="top"><td align="middle" width="50%">[​IMG]</td><td align="middle" width="50%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG] [/FONT]</td></tr><tr valign="top"><td align="middle" width="50%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระพุทธสาวกธาตุ [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พบที่วัดใน จ.สุโขทัย[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]ภายในผอบที่ผลิตจากเตาป่ายาง อ.ศรีสัชชนาลัย จ.สุโขทัย[/FONT]
    </td><td align="middle" width="50%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระพุทธสาวกธาตุ [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พบภายในตลับเงินที่ขุดเจอบนเนินดิน[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]อ.สวรรคโลก จ.สุโขทัย[/FONT]
    </td></tr><tr valign="top"><td align="middle" width="50%">[​IMG]</td><td align="middle" width="50%">[​IMG]</td></tr><tr valign="top"><td align="middle" height="31" width="50%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระพุทธสาวกธาตุ [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พบที่ จ[/FONT][FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC].ประจวบคีรีขันธ์[/FONT]
    </td><td align="middle" width="50%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระพุทธสาวกธาตุ [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พบภายในกรุสมัยศรีวิชัย[/FONT]
    </td></tr></tbody></table>

    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5" width="100%"><tbody><tr valign="top"><td>

    </td><td align="right" width="128">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]</td></tr></tbody></table><table align="center" border="1" bordercolor="#ff0033" cellpadding="10" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr align="middle"><td height="184" width="35%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระธาตุหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]วัดป่าสุทธาวาส จ.สกลนคร [/FONT]

    </td><td height="184" width="33%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระธาตุหลวงปู่ครูบาพรหมา พรหมจักโก[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]วัดพระพุทธบาทตากผ้า จ.ลำพูน [/FONT]
    </td></tr><tr align="middle"><td width="35%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระธาตุหลวงปู่สิงห์ทอง ธัมมวโร[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]วัดป่าแก้วบ้านชุมพล จ.สกลนคร[/FONT]
    </td><td width="33%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระธาตุเล็บ หลวงปู่ครูบาบุญปั๋น ธัมมปัญโญ[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]วัดร้องขุ้ม จ.เชียงใหม่[/FONT]
    </td></tr><tr align="middle"><td width="35%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]อัฐิและพระธาตุ หลวงปู่คำตัน ฐิตธัมโม[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]วัดป่าดานศรีสำราญ จ.หนองคาย[/FONT]
    </td><td width="33%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระธาตุหลวงปู่ชา สุภัทโท[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]วัดหนองป่าพง จ.อุบลราชธานี[/FONT]
    </td></tr><tr align="middle"><td width="35%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]อัฐิและพระธาตุ หลวงปู่เข่ง โฆษธัมโม[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]วัดป่าสีห์พนม จ.สกลนคร[/FONT]
    </td><td width="33%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระธาตุและอัฐิ หลวงปู่สิม พุทธาจาโร[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]วัดถ้ำผาปล่อง จ.เชียงใหม่[/FONT]
    </td></tr><tr align="middle"><td width="35%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระธาตุหลวงปู่วัน อุตตโม[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]วัดถ้ำอภัยดำรงธรรม จ.สกลนคร [/FONT]
    </td><td width="33%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]อัฐิและพระธาตุ หลวงปู่ต่วน อินทปัญโญ[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]วัดกล้วย จ.อยุธยา[/FONT]
    </td></tr></tbody></table>

    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5" width="100%"><tbody><tr valign="top"><td>

    </td><td align="right" width="128">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]</td></tr></tbody></table><table align="center" border="1" bordercolor="#ff0033" cellpadding="10" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr align="middle"><td height="184" width="35%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระธาตุหลวงปู่เสาร์ กันตสีโล[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]วัดดอนธาตุ (ภาพจาก www.luangpumun.org)[/FONT]

    </td><td height="184" width="33%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระธาตุหลวงปู่ขาว อนาลโย[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]วัดถ้ำกลองเพล จ.อุดรธานี [/FONT]
    </td></tr><tr align="middle"><td width="35%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระธาตุหลวงปู่จวน กุลเชฏโฐ[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]วัดเจติยาคีรีวิหาร จ.หนองคาย[/FONT]
    </td><td width="33%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระธาตุหลวงปู่พุธ ฐานิโย[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]วัดป่าสาลวัน จ.นครราชสีมา[/FONT]
    </td></tr><tr align="middle"><td width="35%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]อัฐิและพระธาตุ หลวงปู่บุญจันทร์ กมโล[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]วัดสันติกาวาส จ.อุดรธานี[/FONT]
    </td><td width="33%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]อัฐิและพระธาตุ หลวงปู่คำฟอง มิตตภานี[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]วัดป่าศรีสะอาด จ.สกลนคร[/FONT]
    </td></tr><tr align="middle"><td width="35%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]อัฐิและพระธาตุ หลวงปู่ดูลย์ อตุโล[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]วัดบูรพาราม จ.สุรินทร์[/FONT]
    </td><td width="33%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]อัฐิและพระธาตุ หลวงปู่หลุย จันทสาโร[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]วัดถ้ำผาบิ้ง จ.เลย[/FONT]
    </td></tr><tr align="middle"><td width="35%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]อัฐิและพระธาตุ หลวงปู่แหวน สุจิณโณ[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]วัดดอยแม่ปั๋ง จ.เชียงใหม่ [/FONT]
    </td><td width="33%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]อัฐิและพระธาตุ หลวงปู่มหาบุญมี สิริธโร[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]วัดป่าวังเลิง จ.มหาสารคาม[/FONT]
    </td></tr></tbody></table>

    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5" width="100%"><tbody><tr valign="top"><td>

    </td><td align="right" width="128">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]</td></tr></tbody></table><table align="center" border="1" bordercolor="#ff0033" cellpadding="10" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr align="middle"><td height="184" width="50%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระธาตุและอัฐิ หลวงปู่สาม อกิญจโน[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]วัดป่าไตรวิเวก จ.สุรินทร์[/FONT]

    </td><td height="184" width="50%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระธาตุและอัฐิ หลวงปู่กอง จันทวังโส[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]วัดสระมณฑล จ.อยุธยา[/FONT]
    </td></tr><tr align="middle"><td width="50%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระธาตุและอัฐิ หลวงพ่อเทพ ถาวโร[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]วัดท่าแคนอก(เทพนิมิตร) จ.ลพบุรี[/FONT]
    </td><td width="50%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระธาตุและอัฐิ หลวงปู่เมตตาหลวง[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]วัดเทพพิทักษ์ปุณณาราม จ.นครราชสีมา[/FONT]
    </td></tr><tr align="middle"><td width="50%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระธาตุที่งอกบนผิวอัฐิหลวงปู่สนั่น จนฺทปชฺโชโต [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]วัดนรนารถสุนทริการาม จ.กรุงเทพฯ[/FONT]

    </td><td width="50%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระธาตุที่งอกจากชิ้นอัฐิ[/FONT][FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]หลวงพ่อ[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]ประยุทธ์ ธัมยุทโต วัดป่าผาลาด จ.กาญจนบุรี[/FONT]
    </td></tr><tr align="middle"><td>[​IMG]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระธาตุและอังคาร หลวงปู่หล้า เขมปัตโต[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]วัดบรรพตคีรี(ภูจ้อก้อ) จ.มุกดาหาร[/FONT]
    </td><td width="50%">[​IMG]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระธาตุที่งอกบนผิวอัฐิ หลวงปู่กัมพล กัมพโล[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]วัดเทพศิรินทร์ จ.กรุงเทพฯ[/FONT]
    </td></tr><tr align="middle"><td>[​IMG]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระธาตุและอัฐิ หลวงปู่ครูบาคำ ขันติโก[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]สุสานไตรลักษณ์ จ.เชียงใหม่[/FONT]
    </td><td width="50%">[​IMG]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]อัฐิและพระธาตุ ครูบาคำแสน อินทจักโก[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]วัดสวนดอก จ.เชียงใหม่[/FONT]
    </td></tr></tbody></table>

    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5" width="100%"><tbody><tr valign="top"><td>

    </td><td align="right" width="128">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]</td></tr></tbody></table><table align="center" border="1" bordercolor="#ff0033" cellpadding="10" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr align="middle"><td height="184" width="50%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระธาตุที่งอกบนผิวอัฐิ หลวงปู่กุ่น จิรกุโล [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]วัดศาลพันท้ายนรสิงห์ จ.สมุทรสาคร[/FONT]

    </td><td height="184" width="50%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระธาตุที่เริ่มแปรจากอัฐิ หลวงปู่ปั่น สุจิณโณ[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]วัดพรพระร่วงประสิทธิ์ จ.กรุงเทพฯ[/FONT]
    </td></tr><tr align="middle"><td width="50%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระธาตุหลวงปู่แบน กันตสาโร[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]วัดมโนธรรมาราม จ.กาญจนบุรี[/FONT]
    </td><td width="50%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระธาตุชานหมากพ่อท่านคล้าย จันทสุวัณโณ[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]วัดสวนขัน จ.นครศรีธรรมราช[/FONT]
    </td></tr><tr align="middle"><td>[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระธาตุชานหมาก หลวงปู่มหาวีระ ถาวโร [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]วัดจันทาราม(ท่าซุง) จ.อุทัยธานี[/FONT]
    </td><td width="50%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระธาตุและอัฐิ หลวงปู่ยิด จันทสุวัณโณ[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]วัดหนองจอก จ.ประจวบคีรีขันธ์[/FONT]
    </td></tr><tr align="middle"><td>[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]อัฐิและพระธาตุ หลวงปู่ปราโมทย์ ปาโมชโช [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]วัดป่านิโครธาราม จ.อุดรธานี[/FONT]
    </td><td width="50%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]อัฐิและพระธาตุ หลวงปู่คำพอง ติสโส[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]วัดป่าพัฒนาธรรม(ถ้ำกกดู่) จ.อุดรธานี[/FONT]
    </td></tr><tr align="middle"><td>[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระธาตุหนัง-เกศา หลวงปู่เหรียญ วรลาโภ[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]วัดอรัญญบรรพต จ.หนองคาย (ภาพจากวัด)[/FONT]
    </td><td width="50%">[​IMG]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]อัฐิและพระธาตุ หลวงปู่ทองอินทร์ กุสลจิตโต[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]วัดสันติธรรม จ.เชียงใหม่[/FONT]
    </td></tr></tbody></table>


    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5" width="100%"><tbody><tr valign="top"><td>

    </td><td align="right" width="128">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]</td></tr></tbody></table><table align="center" border="1" bordercolor="#ff0033" cellpadding="10" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr align="middle"><td height="184" width="50%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระธาตุและอัฐิ หลวงปู่หลวง กตปุญโญ[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]วัดป่าสำราญนิวาส จ.ลำปาง [/FONT]

    </td><td height="184" width="50%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]เล็บและเกศา หลวงปู่ชื้น พุทธสโร [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]วัดญาณเสน จ.พระนครศรีอยุธยา [/FONT]
    </td></tr><tr align="middle"><td width="50%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระธาตุที่งอกจากอัฐิหลวงปู่หนู สุจิตโต[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]วัดดอยแม่ปั๋ง จ.เชียงใหม่[/FONT]
    </td><td width="50%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]อัฐิที่มีการแปรสภาพ หลวงปู่ขาน ฐานวโร[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]วัดป่าบ้านเหล่า จ.เชียงราย[/FONT]
    </td></tr><tr align="middle"><td>[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระธาตุและอัฐิ หลวงปู่ตื้อ อจลธัมโม[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]วัดอรัญวิเวก จ.นครพนม[/FONT]
    </td><td width="50%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระธาตุจากฟัน หลวงตาประสิทธิ์ ถาวโร[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]วัดถ้ำยายปริก จ.ชลบุรี[/FONT]
    </td></tr><tr align="middle"><td>[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]พระธาตุหลวงปู่ผาง จิตฺตคุตฺโต[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]วัดอุดมคงคาคีรีเขต จ.ขอนแก่น [/FONT]
    </td><td width="50%">[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]อัฐิ เกศา และพระธาตุ หลวงปู่เจี๊ยะ จุนโท[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]วัดป่าภูริทัตตปฏิปทาราม จ.ปทุมธานี [/FONT]
    </td></tr><tr align="middle"><td>[FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC][​IMG][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]อัฐิที่มีการแปรสภาพ ครูบาอิน อินโท [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, BrowalliaUPC]วัดคันธาวาส (ทุ่งปุย) จ.เชียงใหม่ [/FONT]
    </td></tr></tbody></table>


    ต้องขอขอบคุณอย่างมากสำหรับรูปภาพพร้อมคำอธิบายจาก
     
  6. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097


    [​IMG]
    [​IMG]

    หลวงพ่อดู่ท่านเกี่ยวกับหลวงพ่อทวด สาเหตุที่บอกว่าเกี่ยวได้เต็มปากเนื่องจากได้รับรู้เกี่ยวกับเรื่องราวที่หลวงพ่อดู่เกี่ยวข้องกับหลวงพ่อทวดที่คนหลายคนได้ยินจากปากของหลวงพ่อดู่เอง

    อาทิ

    พวกเเกเดินข้ามไปข้ามมาจะข้ามหัวหลวงพ่อทวดเเล้วยังไม่รู้อีกเหรอ

    พวกเเกนะรู้มั้ยว่าช้างยังรู้เลยว่าหลวงพ่อทวดคือใคร

    มีคนบอกว่าข้าจะสำเร็จระหว่างต้นไม้สองต้น

    เรื่องข้าบางทีมันพูดไปดีไม่ดีเขาจะไม่เชื่อจะพากันปรามาสเป็นบาปกรรมกันได้อย่าพูดไป

    หลวงพ่อบุดดาพระอรหันต์เเห่งวัดกลางชูสีเจริญ
    มาหาหลวงพ่อดู่เเล้วบอกว่า ที่คุณตั้งใจหนะสำเร็จเเน่ต่อไปคุณจะได้เป็นพระพุทธเจ้า

    หลวงพ่อเกษม บอกว่า หลวงปู่ดู่เป็นพระใจเพชร

    พ่อท่านจำเนียร เจ้าสำนักต้นเลียบที่ฝังรกหลวงพ่อทวดที่ล่วงลับเคยได้สัมผัสภาพเเละรูปเหมือนหลวงพ่อดู่ท่านกล่าวว่า

    หลวงพ่อองค์นี้ต่อไปท่านจะเป็นพระพุทธเจ้าพระนามว่าพระศรีอาริยเมตไตร


    พ่อท่านนอง วัดทรายขาว ศิษย์ผู้น้องอาจารย์ทิม วัดช้างให้
    ท่านกล่าวถึงหลวงพ่อดู่เมื่อมีคนเอารูปให้ท่านพิจารณา ว่า พระองค์นี้เก่งสามารถอัญเชิญหลวงพ่อทวดให้อยู่กับท่านตลอดเวลาได้

    หลวงพ่อดู่ท่านเคยกล่าวกับศิษย์ใกล้ชิดว่า
    พวกเเกหนะโชคดีทำบุญกับข้าได้สองศาสนา(ผมเเปลความหมายเองว่าท่านหมายถึงศาสนาสมณโคดมเเละพระศรีอาริยเมตไตร)

    หลวงพ่อดู่ท่านเคยถามศิษย์ใกล้ชิดว่า

    เเก รู้ไหมว่ามีคนบอกว่าหลวงพ่อทวดไปหลอกเขาโดยหลอกให้เห็นตัวเป็นหลวงพ่อทวดหัว เป็นข้า เเละตัวเป็นข้าเเต่หัวเป็นหลวงพ่อทวดเเกว่าอย่างไร


    หลวง พ่อดู่ท่านเองมีลักษณะการห่มจีวรวัตรปฏิบัตรคล้ายหลวงพ่อทวดรวมทั้งการสร้าง วัตถุมงคลที่คนทั่วไปมักจะเรียกว่า ทวดดู่ ที่มีพุทธคุณดุจ พระหลวงพ่อทวด วัดช้างให้เลยทีเดียว

    หลายครั้งจนถึงปัจจุบันที่มีผู้ถ่ายภาพหลวงพ่อ ดู่ปรากฏเป็นฉัพพรรณรังสี ซึ่งมีบุคคลอย่างเดียวที่ปรากฏได้คือพระโพธิสัตว์เจ้าที่บารมีสูงมากๆหรือ พระพุทธเจ้าเท่านั้นเอง

    หลวงพ่อดู่ท่านเองบอกว่าท่านไม่ได้หวังเป็น นายสิบท่านเองหวังเป็นนายร้อยท่านบอกว่าคนอย่างข้าต้องหักยอดฉัตรจึงสมใจ นั่นบ่งถึงความปรารถนาพระโพธิญาณของท่าน


    หลวงพ่อดู่เป็นพระ ที่ดีไม่เคยอวดตัวว่าท่านเป็นใครยกเว้นกับศิษย์ใกล้ชิดเท่านั้นเองที่ท่าน เปิดเผยเเย้มให้ทราบเเละเกสาเเละอัฐิธาตุท่านเป็นพระธาตุเเสดงถึงจตอัน บริสุทธิ์ของท่านเเละท่านเองยังบอกว่าข้าภาวนาตลอดเเต่ตื่นเช้าถึงเข้านอน เเละข้าอธิษฐานให้พวกเเกตลอดเวลา
    เอ็งคิดถึงข้าข้าก็คิดถึงเเก เเกไม่คิดถึงข้าข้าก็คิดถึงเเก


    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline"> ศีล สมาธิ ปัญญา

    หลเกี่ยวกับพระไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ และปัญญานั้น หลวงพ่อท่านเคยอธิบายไว้ให้ฟังว่า

    ผู้มี ศีล ดี ย่อมเป็นพื้นฐานของสมาธิ และสามารถยังปัญญาให้เกิดได้

    ผู้ที่มี สมาธิ ดี ย่อมสามารถสร้างปัญญาให้เกิดและเล็งเห็นความสำคัญของการมีศีล

    สำหรับผู้ที่มี ปัญญา ดีแล้ว ย่อมมีความฉลาดสามารถครอบคลุม รู้ถึงวิธีการรักษาศีล และย่อมได้ตัวสมาธิด้วย

    จะเห็นว่าพระไตรสิกขาทั้งสามข้อนี้ เกี่ยวเนื่องกันหมด โดยที่ต่างฝ่ายต่างก็เป็นปัจจัยที่เกื้อหนุนกันดังเช่นคำของครูบาอาจารย์บาง ท่านว่า สมาธิอบรมปัญญา และปัญญาอบรมสมาธิ ซึ่งท่านเน้นทางด้านปัญญาที่มีความสำคัญครอบคลุมทุกอย่าง ดังภาพข้างล่างซึ่งหลวงพ่อดู่ท่านเคยเขียนอธิบายให้ศิษย์ท่านหนึ่ง

    ศีล-สมาธิ-ปัญญา
    สมาธิ-ปัญญา-ศีล
    ปัญญา-ศีล-สมาธิ

    อานิสงส์การภาวนา

    หลวงพ่อท่านเคยพูดเสมอว่า

    "อุปัชฌาย์ข้า (หลวงพ่อกลั่น) สอนว่า ภาวนาได้เห็นแสงสว่างเท่าปลายหัวไม้ขีด ชั่วประเดี๋ยวเดียวเท่าช้างกระดิกหูงูแลบลิ้น ยังมีอานิสงส์มากกว่าตักบาตรจนขันลงหินทะลุ"

    พวกเรามักจะได้ยินท่านคอยให้กำลังใจอยู่บ่อยๆ ว่า

    "หมั่นทำเข้าไว้ หมั่นทำเข้าไว้ ต่อไปจะได้เป็นที่พึ่งภายหน้า" เสมือนหนึ่งเป็นการเตือนให้เราเร่งความเพียรให้มาก การให้ทานรักษาศีลร้อยครั้งพันครั้งก็ไม่เท่ากับนั่งภาวนาหนเดียวนั่งภาวนา ร้อยครั้งพันครั้ง กุศลที่ได้ก็ไม่เท่ากุศลจิตที่สงบเป็นสมาธิเกิดปัญญาเพียงครั้งเดียว

    ควรทำหรือไม่?

    ครั้งหนึ่ง มีลูกศิษย์หลวงพ่อผู้สนใจธรรมปฏิบัติกำลังนั่งภาวนาเงียบอยู่ ไม่ห่างจากท่านเท่าใดนัก บังเอิญมีแขกมาหาศิษย์ผู้นั้นแต่ไม่เห็น ก็มีศิษย์อีกท่านหนึ่งเดินเรียกชื่อท่านผู้กำลังนั่งภาวนาอยู่ด้วยเสียงอัน ดัง และเมื่อเดินมาเห็นศิษย์ผู้นั้นกำลังภาวนาอยู่ก็จับแขนดึงขึ้นมาทั้งที่ กำลังนั่งภาวนา

    เมื่อผู้นั้นห่างไปแล้ว หลวงพ่อท่านจึงเปรยขึ้นมาว่า

    "ในพุทธกาลครั้งก่อน มีพระอรหันต์องค์หนึ่งกำลังอยู่นิโรธสมาบัติได้มีนกแสกตัวหนึ่งบินโฉบผ่าน หน้าท่านพร้อมกับร้อง "แซ๊ก" ท่านว่านกแสกตัวนั้นเมื่อตายแล้วได้ไปอยู่ในนรก แม้กัปนี้พระพุทธเจ้าผ่านไปได้พระองค์ที่สี่แล้ว นกแสกตัวนั้นยังไม่ได้ขึ้นมาจากนรกเลย"

    แสงสว่างเป็นกิเลส?

    มีคนเล่าให้หลวงพ่อฟังว่า มีผู้กล่าวว่าการทำสมาธิแล้วบังเกิดความสว่างหรือเห็นแสงสว่างนั้นไม่ดี เพราะเป็นกิเลสมืดๆ จึงจะดี หลวงพ่อท่านกล่าวว่า

    "ที่ว่าเป็นกิเลสก็ถูกแต่เบื้องแรกต้องอาศัยกิเลสไปละกิเลส (อาศัยกิเลสส่วนละเอียดไปละกิเลสส่วนหยาบ) แต่ไม่ได้ให้ติดในแสงสว่างหรือหลงแสงสว่าง แต่ให้ใช้แสงสว่างให้ถูก ให้เป็นประโยชน์ เหมือนอย่างกับเราเดินผ่านไปในที่มืดต้องใช้แสงไฟหรือจะข้ามแม่น้ำ มหาสมุทรก็ต้องอาศัยเรือ อาศัยแพ แต่เมื่อถึงฝั่งแล้วก็ไม่ได้แบกเรือแบกแพขึ้นฝั่งไป"

    แสงสว่างอันเป็นผลจากการเจริญสมาธิก็เช่นกัน ผู้มีสติปัญญา สามารถใช้เพื่อให้เกิดปัญญาอันเป็นแสงสว่างภายใน ที่ไม่มีแสงใดเสมอเหมือนดังธรรมที่ว่า "นัตถิ ปัญญา สมา อาภา แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี"

    ปลูกต้นธรรม

    ครั้งหนึ่งหลวงพ่อเคยเปรียบการปฏิบัติธรรมเหมือนการปลูกต้นไม้

    ท่านว่า...ทำนี้มันยาก ต้องคอยบำรุงดูแลรักษาเหมือนกับเราปลูกต้นไม้

    ศีล...................นี่คือ ดิน
    สมาธิ...............คือ ลำต้น
    ปัญญา.............คือ ดอก ผล

    ออกดอกเมื่อใดก็มีกลิ่นหอมไปทั่ว

    การปฏิบัติธรรมก็เช่นกัน

    ผู้รักการปฏิบัติต้องคอยหมั่นรดน้ำพรวนดิน

    ระวังรักษาต้นธรรม ให้ผลิดอก ออกใบ มีผลน่ารับประทาน

    ต้องคอยระวัง ตัวหนอน คือ โลภ โกรธ หลง มิให้มากัดกินต้นธรรมได้

    อย่างนี้...จึงจะได้ชื่อว่าผู้รักธรรม รักการปฏิบัติจริง

    เทวทูตทั้งสี่

    ธรรมะที่หลวงพ่อยกมาสั่งสอนศิษย์เป็นประจำมีอยู่เรื่องหนึ่งคือ เทวทูตทั้งสี่ หลวงพ่อท่านหมายถึงผู้เตือน ซึ่งมีอยู่ 4 อย่าง คือ คนเกิด คนแก่ คนเจ็บ และคนตาย

    หลวงพ่อเล่าถึงเทวทูตทั้งสี่ สรุปได้ว่า

    เมื่อเราเกิดมาแล้ว
    เรามีความแก่เป็นธรรมดา
    เรามีความเจ็บเป็นธรรมดา
    เรามีความตายเป็นธรรมา
    ท่านว่า " ให้พิจารณาดูให้ดีให้เห็นอนิจจัง-ทุกขัง-อนัตตา "

    เรารักษาศีล ศีลรักษาเรา

    ศีลเป็นพื้นฐานที่สำคัญที่สุดของการปฏิบัติธรรมทุกอย่าง หลวงพ่อมักจะเตือนเสมอว่าในขั้นต้นให้หมั่นสมาทานรักษาศีลให้ได้ แม้จะเป็นโลกียศีล รักษาได้บ้าง ไม่ได้บ้าง บริสุทธิ์บ้าง ไม่บริสุทธิ์บ้าง ก็ให้เพียงระวัง รักษาไป สำคัญที่เจตนาที่จะรักษาศีลไว้ และปัญญาที่คอยตรวจตราแก้ไขตน "เจตนาหัง ภิกขเว สีลัง วทามิ" ท่านว่าเจตนาเป็นตัวศีล "เจตนาหัง ภิกขเว ปุญญัง วทามิ" เจตนาเป็นตัวบุญ จึงขอให้พยายามสั่งสมบุญนี้ไว้ โดยอบรมศีลให้เกิดขึ้นที่จิตเรียกว่า เรารักษาศีล

    ส่วนจิตที่อบรมศีลดีแล้ว จนเป็นโลกุตรศีลเป็นศีลที่ก่อให้เกิดปัญญาในอริยมรรค อริยผลนี้จะคอยรักษาผู้ประพฤติปฏิบัติมิให้เสื่อมเสียหรือตกต่ำไปในทางที่ ไม่ดีไม่งามนี้แลเรียกว่า ศีลรักษาเรา

    แนะวิธีปฏิบัติ

    เคยมีสุภาพสตรีท่านหนึ่งมีปัญหาถามว่า นั่งปฏิบัติภาวนาแล้วจิตไม่รวม ไม่สงบ ควรจะทำอย่างไร ท่านแก้ให้ว่า

    " การปฏิบัติ ถ้าอยากเป็นเร็วๆ มันก็ไม่เป็น หรือไม่อยากให้เป็น มันก็ประมาทเสีย ไม่เป็นอีกเหมือนกัน อยากเป็นก็ไม่ว่า ไม่อยากเป็นก็ไม่ว่า ทำใจให้เป็นกลางๆ ตั้งใจให้แน่วแน่ในกัมมัฏฐานที่เรายึดมั่นอยู่นั้น แล้วภาวนาเรื่อยไป เหมือนกับเรากินข้าวไม่ต้องอยากให้มันอิ่ม ค่อยๆ กันไปมันก็อิ่มเอง ภาวนาก็เช่นกันไม่ต้องไปคาดหวังให้มันสงบ หน้าที่ของเราคือภาวนาไปก็จะถึงของดี ของวิเศษในตัวเรา แล้วจะรู้ชัดขึ้นมาว่าอะไรเป็นอะไร ให้หมั่นทำเรื่อยไป "

    อุบายวิธีทำความเพียร

    ครั้งหนึ่งที่ได้สนทนาปัญหาธรรมกับหลวงพ่อ ท่านเล่าให้ผู้เขียนฟังว่า...เขามาถามปัญหาเข้า ข้าก็ตอบไม่ได้อยู่ปัญหาหนึ่ง ผู้เขียนเรียนถามท่านว่า

    "ปัญหาอะไรครับ"

    ท่านเล่าว่า " เขาถามว่า ขี้เกียจ (ปฏิบัติ) จะทำอย่างไรด ี"

    หลวงพ่อหัวเราะ ก่อนที่จะตอบต่อไปว่า " บ๊ะ ขี้เกียจก็หมดกัน ก็ไม่ต้องทำซ ิ"

    สักครู่ท่านจึงเมตตาสอนว่า " หมั่นทำเข้าไว้ๆ ถ้าขี้เกียจให้นึกถึงข้า ข้าทำมา 50 ปี อุปัชฌาย์ข้าเคยสอนไว้ว่า ถ้าวันไหนยังกินข้าวอยู่ก็ต้องทำ วันไหนเลิกกินข้าว...นั่นแหละถึงไม่ต้องทำ "

    </td> </tr> <tr> <td class="body" align="left" valign="baseline"> หลวงพ่อทวดกับศิษย์

    ในตอนบ่ายของวันหนึ่ง หลวงพ่อดู่ได้สนทนาธรรมกับศิษย์ผู้ปฏิบัติท่านหนึ่งว่า " ข้าโมทนาสาธุด้วย ไม่เสียทีที่เกิดมาแล้ว นิพพานะ ปัจจะโยโหตุ เอาจริงได้เลย เรียนแล้วต้องไปประดับเอาเอง ไปถามครูบาอาจารย์ตัวนอก ตัวนอกเขาก็ปุถุชนเหมือนกันใครอ่านหนังสือมากใครรู้มาก เขาแบ่งกันออกไป "

    จากนั้นท่านก็ได้เล่าถึงหลวงพ่อทวดให้ฟังว่า

    ฉันไม่ใช่เป็นอาจารย์หรอก อาจารย์นั่นพระพุทธเจ้า หลวงพ่อทวดมั่น ฉันเป็นลูกศิษย์ท่าน หลวงพ่อทวดท่านก็ไม่ยอมเป็นอาจารย์นะ เคยมีลูกศิษย์จะขอให้หลวงพ่อทวดท่านตั้งแบบให้ ได้ถามท่านว่า "หลวงพ่อ ช่วยตั้งแบบปฏิบัติให้ที"

    " ข้าตั้งไม่ได ้" ท่านตอบ

    " เพราะเหตุไร หลวงพ่อ " ศิษย์เรียนถาม

    " ก็ข้าเป็นศิษย์พระสมณโคดม ถ้าข้าตั้ง ข้าก็สบประมาทท่าน ผิดจากแบบพระไตรปิฎก ต้องหาแบบใหม่มา เป็นบาป " ท่านตอบ

    " ถ้าอย่างนั้น ผมขอหลวงพ่อช่วยเหลือในหมู่คณะปฏิบัต ิ" ศิษย์ขอร้อง

    ท่านจึงตอบว่า " เออ! งั้นได้ ช่วยเหลือสนับสนุนพระพุทธเจ้าเดิม เพื่อประโยชน์พระศาสนาต่อไปภายหน้า "

    เสกข้าว

    ครั้งหนึ่งเคยมีศิษย์บางท่านนำข้าวมาให้หลวงพ่อท่านเสกอธิษฐานจิตให้ทานเสมอ ซึ่งท่านก็เมตตาไม่ขัด แต่บ่อยๆ เข้าท่านก็พูดว่า

    "เสกอะไรกันให้บ่อยๆ เสกเองบ้างซิ"

    คำพูดนี้ท่านได้ขยายความให้ฟังในภายหลังว่า

    คำว่า เสกเอง คือ การเสกตนเองให้เป็นพระซึ่งหมายถึงการปฏิบัติต่อจิตใจของตนเอง ยกระดับให้สูงขึ้น หรือมีใจเป็นพระบ้าง มิใช่จะเป็นท่านอธิษฐานเสกเป่าของภายนอกเพื่อหวังเป็นมงคลถ่ายเดียว โดยไม่คิดเสกตนเองด้วยตนเอง

    สำเร็จที่ไหน

    มีผู้ปฏิบัติธรรมบางท่านข้องใจข้อปฏิบัติธรรมะเกี่ยวกับการวางที่ ตั้งตามฐานของจิตในการภาวนา จึงได้ไปเรียนถามหลวงพ่อตามที่เคยได้รับรู้ รับฟังมาว่า " การภาวนาที่ถูกต้อง หรือจะสำเร็จมรรคผลได้นั้น ต้องตั้งจิตวางจิตไว้ที่กลางท้องเท่านั้น ใช่หรือไม่? "

    หลวงพ่อท่านตอบอย่างหนักแน่นว่า " ที่ว่าสำเร็จนั้นสำเร็จที่จิต ไม่ได้สำเร็จที่ฐาน คนที่ภาวนาเป็นแล้วจะตั้งจิตไว้ที่ปลายนิ้วชี้ก็ยังได ้"

    แล้วท่านก็บอกจำนวนที่ตั้งตามฐานต่างๆ ของจิตให้ฟัง จะเห็นได้ว่าท่านไม่ได้เน้นว่าต้องวางจิตใจที่เดียวที่นั่นที่นี่เพราะฐาน ต่างๆ ของจิตเป็นทางผ่านของลมหายใจทั้งสิ้น ท่านเน้นที่สติและปัญญาที่มากำกับใจต่างหาก สมดังในพระพุทธพจน์ที่ว่า

    " มโน ปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฺฐา มโนมยาฯ" "ธรรมทั้งหลายมีใจถึงก่อน มีใจเป็นใหญ่เป็นประธานสำเร็จได้ด้วยใจ "

    อารมณ์อัพยากฤต

    เคยมีผู้ใหญ่ท่านหนึ่งได้กราบเรียนถามหลวงพ่อว่า อารมณ์อัพยากฤตไม่จำเป็น ต้องมีได้เฉพาะพระอรหันต์ ใช่หรือไม่?

    ท่านตอบว่า " ใช่ แต่อารมณ์อัพยากฤตของพระอรหันต์ท่านทรงตลอดเวลา ไม่เหมือนปุถุชนที่มีเป็นครั้งคราวเท่านั้น "

    ท่านอุปมาอารมณ์ให้ฟังว่า เปรียบเสมือนคนไปยืนที่ตรงทางสองแพร่ง ทางหนึ่งไปทางดี (กุศล) อีกทางหนึ่งไปในทางที่ไม่ดี (อกุศล) ท่านว่า อัพยากฤตมี 3 ระดับ คือ

    ระดับหยาบ คือ อารมณ์ปุถุชนที่เฉยๆ ไม่คิดดี ไม่คิดชั่ว ซึ่งมีเป็นครั้งคราวเท่านั้น
    ระดับกลาง มีในผู้ปฏิบัติสมาธิ มีสติ มีความสงบของจิต วางอารมณ์จากสิ่งที่ดี ที่ชั่ว ดังที่เรียกว่าอุเบกขารมณ์
    ระดับละเอียด คือ อารมณ์ของพระอรหันต์ ซึ่งไม่มีทั้งอารมณ์ที่คิดปรุงไปในทางดีหรือในทางไม่ดี วางอารมณ์อยู่ได้ตลอดเวลาเป็นวิหารธรรมของท่าน

    การบวชจิต-บวชใน

    หลวงพ่อเคยปรารภไว้ว่า...

    จะเป็นชายหรือหญิงก็ดี ถ้าตั้งใจประพฤติปฏิบัติ
    มีศีล รักในการปฏิบัติ
    จิตมุ่งหวังเอาการพ้นทุกข์เป็นที่สุด ย่อมมีโอกาสเป็นพระกันได้ทุกๆ คน
    มีโอกาสที่จะบรรลุมรรค ผล นิพพาน ได้เท่าเทียมกันทุกคน
    ไม่เลือกเพศ เลือกวัย หรือฐานะ แต่อย่างใด
    ไม่มีอะไรจะมาเป็นอุปสรรคในความสำเร็จได้ นอกจากในของผู้ปฏิบัติเอง

    ท่านได้แนะเคล็ดในการบวชจิตว่า.....

    " ในขณะที่เรานั่งสมาธิเจริญภาวนานั้น คำกล่าวว่า พุทธัง สรณัง คัจฉามิ...ให้นึกถึงว่าเรามีพระพุทธเจ้า
    เป็นพระอุปัฌาย์ ของเรา ธัมมัง สรณัง คัจฉามิ...ให้นึกว่าเรามีพระธรรม
    เป็นพระกรรมวาจาจารย์ สังฆัง สรณัง คัจฉามิ...ให้นึกว่าเรามีพระอริยสงฆ์
    เป็นพระอนุสาวนาจารย์ แล้วอย่าสนใจขันธ์ 5 หรือร่างกายเรานี้ ให้สำรวมจิตให้ดี มีความยินดีในการบวช ชายก็เป็นพระภิกษุ หญิงก็เป็นพระภิกษุณี อย่างนี้จะมีอานิสงส์สูงมาก จัดเป็นเนกขัมบารมีขั้นอุกฤษฎ์ทีเดียว "

    อุปมา ศีล สมาธิ ปัญญา

    ครั้งหนึ่งได้มีโอกาสสนทนาธรรมกับหลวงน้าสายหยุด ท่านได้เมตตาเล่าให้ผู้เขียนฟังว่า หลวงพ่อเคยเปรียบธรรมะของพระพุทธเจ้าเหมือนแกงส้ม แกงส้มนั้นมี 3 รส คือ เปรี้ยว เค็ม และเผ็ด ซึ่งมีความหมายดังนี้

    รสเปรี้ยว หมายถึง ศีล ความเปรี้ยวจะกัดกร่อนความสกปรกออกได้ฉันใด ศีลก็จะขัดเกลาความหยาบออกจากกาย วาจา ใจ ได้ฉันนั้น
    รสเค็ม หมายถึง สมาธิ ความเค็มสามารถรักษาอาหารต่างๆ ไม่ให้เน่าเสียได้ฉันใด สมาธิก็สามารถรักษาจิตของเราให้ตั้งมั่นอยู่ในคุณความดีได้ฉันนั้น
    รสเผ็ด หมายถึง ปัญญา ความเผ็ดร้อนโลดแล่นไป เปรียบได้ดั่งปัญญาที่สามารถก่อให้เกิดความคิด ขจัดความไม่รู้ เปลี่ยนจากของคว่ำเป็นของหงาย จากมืดเป็นสว่างได้ฉันนั้น

    ตรี โท เอก

    ครั้งหนึ่ง ผู้เขียนจะจัดทำบุญเพื่อเป็นกตัญญูกตเวทิตาธรรม น้อมถวายแด่หลวงพ่อเกษม เขมโก เนื่องในโอกาสที่หลวงพ่อท่านมีอายุครบ 74 พรรษา เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2528

    ผู้เขียนได้เรียนถามหลวงพ่อว่า " การทำบุญอย่างไร จึงจะดีที่สุด "

    หลวงพ่อท่านได้เมตตาตอบว่า

    " ของดีนั้นอยู่ที่เรา
    ของดีนั้นอยู่ที่จิต
    จิตมี 3 ชั้น ตรี โท เอก
    ถ้าตรีก็ต่ำหน่อย โทก็ปานกลาง เอกนี่อย่างอุกฤษฎ์
    มันไม่มีอะไร...ก็ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
    ตัวอนัตตานี่แหละเป็นตัวเอก
    ไล่ไปไล่มา ให้มันเห็นสังขารร่างกายเรา ตายแน่ๆ
    คนเราหนีตายไปไม่พ้น
    ตายน้อย ตายใหญ่
    ตายใหญ่ก็หมด ตายน้อยก็หลับ
    ไปตรองดูให้ดีเถอะ... "

    ต้องสำเร็จ หลวงพ่อเคยสอนว่า...

    " ความสำเร็จนั้นมิใช่อยู่ที่การสวดมนต์อ้อนวอนพระเจ้ามาประทานให้ หากแต่ต้องลงมือทำด้วยตนเอง ถ้าตั้งใจทำตามแบบแล้วทุกอย่างต้องสำเร็จ ไม่ใช่ จะสำเร็จ พระพุทธเจ้าท่านวางแบบเอาไว้แล้ว ครูบาอาจารย์ทุกองค์มีพระพุทธเจ้าเป็นที่สุด ก็ได้ทำตามแบบเป็นตัวอย่างให้เราดู อัฐิท่านก็กลายเป็นพระธาตุกันหมด เมื่อได้ไตร่ตรองพิจารณาให้รอบคอบแล้ว ขอให้ลงมือทำทันที ข้าขอรับรองว่าต้องสำเร็จ ส่วนจะช้าหรือเร็วนั้น อยู่ที่ความเพียรของผู้ปฏิบัติ "

    ขอให้ตั้งปัญหาถามตัวเองว่า "สิ่งนั้น บัดนี้เราได้ลงมือทำแล้วหรือ ยัง?"

    </td> </tr> <tr> <td class="body" align="left" valign="baseline"> พระนิพพาน

    เคยมีศิษย์นักปฏิบัติท่านหนึ่งได้ถามหลวงพ่อเกี่ยวกับเรื่องของพระนิพพาน หลวงพ่อท่านได้ตอบให้ฟังเป็นเรื่องที่ชวนให้คิดว่า

    " พระนิพพานอุปมาขนาดเท่าเส้นผม ผู้ที่จะผ่านพ้นในขั้นสุดท้ายไปได้หรือไม่ได้อยู่เพียงนิดเดียวในการทำจิต ตัดจุดนี้ได้หรือไม่เท่านั้น พระพุทธเจ้าตอนที่ท่านจะปรินิพพาน ท่านได้ปรินิพพานไปในระหว่างรูปฌาณและอรูปฌาน ผู้ที่ดับขันธ์ในระหว่างทรงรูปฌานย่อมได้เป็นรูปพรหมซึ่งยังไม่วิมุติหลุด พ้น ผู้ที่ดับขันธ์ในขณะทรงอรูปฌาน ย่อมได้เป็นอรูปพรหม ซึ่งก็ยังเป็นสมมติอยู่เช่นกัน

    ส่วนพระพุทธเจ้าท่านดับขันธ์ระหว่างช่วงทั้งสอง เป็นการดับขันธ์ด้วยความบริสุทธิ์เหนือสมมติโดยสิ้นเชิง ไม่ติดอยู่ทั้งในรูปฌานและอรูปฌานซึ่งเป็นวิปัสนูกิเลสทั้งสองอย่าง พระอรหันต์บางประเภทที่ไม่สามารถเจริญอรูปสมาบัติ ท่านก็ดับขันธ์ไปด้วยความบริสุทธิ์เช่นกัน แม้อยู่ก็อยู่ด้วยจิตที่บริสุทธิ์ ไม่ติดในสมมติใดๆ เพราะความชำนาญในด้านสมาธิของพระอรหันต์แต่ละประเภทนั้นไม่เท่ากัน"

    จะเอาโลกหรือเอาธรรม

    บ่อยครั้งที่มีผู้มาถามปัญหากับหลวงพ่อ โดยมักจะนำเอาเรื่องราวต่างๆ ที่เกี่ยวกับหน้าที่การงาน สามี ภรรยา ลูกเต้า ญาติ มิตร หรือคนอื่นๆ มาปรารภให้หลวงพ่อฟังอยู่เสมอ

    ครั้งหนึ่งท่านได้ให้คติเตือนใจผู้เขียนว่า

    "โลกเท่าแผ่นดิน ธรรมเท่าปลายเข็ม " ซึ่งต่อมาท่านได้ให้ความหมายว่า

    "เรื่องโลกมีแต่เรื่องยุ่งของคนอื่นทั้งนั้น ไม่มีที่สิ้นสุด เราไปแก้ไขเขาไม่ได้ ส่วนเรื่องธรรมนั้นมีที่สุด มาจบที่ตัวเรา ให้มาไล่ดูตัวเอง แก้ไขที่ตัวเราเอง ตนของตนเตือนตนด้วยตนเอง

    ถ้าคิดสิ่งที่เป็นธรรมแล้วต้องกลับเข้ามาหาตัวเอง ถ้าเป็นโลกแล้วจะมีแต่ส่งออกไปข้างนอกตลอดเวลา เพราะธรรมแท้ๆ ย่อมเกิดจากในตัวของเรานี้ทั้งนั้น "

    การอุทิศส่วนกุศลภายนอกภายใน

    มีบางท่านเข้าใจคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับการอุทิศส่วนกุศลให้ผู้ตายของ หลวงพ่อ ซึ่งท่านเมตตาทำเป็นปกติ จึงมีความหวังว่าเมื่อตนตายหลวงพ่อท่านจะเมตตาให้บุญส่งวิญญาณ ส่งจิตไปสวรรค์ไปนิพพานได้ ด้วยตนเป็นผู้เข้าวัดทำทานและปรนนิบัติหลวงพ่อมานาน

    หลวงพ่อท่านก็เมตตาเตือนว่า "ถ้าข้าตายไปก่อน แล้วใครจะส่ง (บุญ) ให้แกล่ะ"

    ด้วยความไม่เข้าใจ ท่านผู้นั้นจึงมีคำตอบว่า

    "ขอให้หลวงพ่ออยู่ต่อไปนานๆ ให้พวกผมตายก่อน" นี่เป็นจุดชวนคิดในคำเตือนของท่านที่บอกเป็นนัยว่า การไปสุคติหรือการหลุดพ้นนั้น ต้องปฏิบัติ ต้องสร้างด้วยตนเองเป็นสำคัญ มิใช่หวังจะพึ่งบุญพึ่งกุศลผู้อื่น การอาศัยผู้อื่นเมื่อตายแล้วนั้นเป็นเพียงส่วนน้อยที่อาจจะได้ อีกทั้งยังเป็นความไม่แน่นอนด้วย สู้ทำด้วยตัวเองไม่ได้เป็นแง่คิดให้คิดว่า ต้องปฏิบัติตนให้มั่นใจในตนเองตั้งแต่ก่อนตาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการปฏิบัติให้รู้แจ้งในธรรมตั้งแต่ปัจจุบันชาตินี้เป็นดี ยิ่งทีเดียว

    ธรรมโอวาท

    เกี่ยวกับการอยู่ร่วมกันในวงของผู้ปฏิบัติธรรม หลวงพ่อท่านได้ให้ โอวาทเตือนผู้ปฏิบัติไว้ว่า "การมาอยู่ด้วยกัน ปฏิบัติด้วยกัน มากเข้าย่อมมีเรื่องกระทบกระทั่งกันเป็นธรรมดา ตราบใดที่ยังเป็นปุถุชนคนธรรมดาอยู่ ทิฏฐิความเห็นย่อมต่างกัน ขอให้เอาแต่ส่วนดีมาสนับสนุนกัน อย่าเอาเลวมาอวดกัน"

    การปรามาสพระก็ดี การพูดจาจ้วงจาบในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ หรือท่านที่มีศีล มีธรรมก็ดี จะเป็นกรรมติดตัวเราและขัดขวางการปฏิบัติธรรมในภายหน้า ดังนั้น หากเห็นใครทำความดี ก็ควรอนุโมทนายินดีด้วย แม้ต่างวัด ต่างสำนักหรือแบบปฏิบัติต่างกันก็ตาม

    ไม่มีใครผิดหรอก เพราะจุดมุ่งหมายต่างก็เป็นไปเพื่อความพ้นทุกข์เช่นกัน เพียงแต่เราจะทำให้ดี ดียิ่ง ดีที่สุดเท่านั้น ขอให้ถามตัวเราเองเสียก่อนว่า " แล้วเราล่ะ ถึงที่สุดแล้วหรือยัง? "

    นายระนาดเอก

    เกี่ยวกับเรื่องไหวพริบ ปฏิภาณและตัวปัญญา หลวงพ่อท่านได้ยกตัวอย่าง เรื่องของนายระนาดเอกไว้ให้ฟังว่า

    สมัยก่อนการเรียนระนาดนั้น อาจารย์จะสอนวิชาการตีระนาดแม่ไม้ต่างๆ โดยทั่วไปแก่ศิษย์ ส่วนแม่ไม้วิชาครูจะเก็บไว้เฉพาะตน มิได้ถ่ายทอดให้แก่ศิษย์ผู้หนึ่งผู้ใด อยู่มาวันหนึ่ง นายระนาดเอกพักผ่อนนอนเล่นอยู่ใต้ถุนเรือนที่บ้านอาจารย์ของตน ได้ยินเสียงอาจารย์ของเขากำลังต่อเพลงระนาดทบทวนแม่ไม้วิชาครูอยู่ นายระนาดเอกก็แอบฟัง ตั้งใจจดจำไว้จนขึ้นใจ

    วันหนึ่งอาจารย์ได้เรียกศิษย์ทุกคนมาแสดงระนาดให้ดูเพื่อทดสอบฝีมือ ถึงครานายระนาดเอก ก็ได้แสดงแม่ไม้วิชาครูซึ่งไพเราะกว่าศิษย์ผู้อื่น

    อาจารย์รู้สึกแปลกใจมากที่ศิษย์สามารถแสดงแม่ไม้ของครูได้ โดยที่ตนไม่เคยสอนมาก่อน จึงถามนายระนาดเอกว่าไปได้แม้ไม้นี้มาจากไหน

    นายระนาดเอกจึงตอบว่า " ได้มาจากใต้ถุนเรือน ครับ "

    แล้วหลวงพ่อได้สรุปให้พวกเราฟังว่า

    การเรียนรู้ธรรมก็เช่นกัน ต้องลักเขา แอบเขาเรียน คือ จดจำเอาสิ่งที่ดีงามของผู้อื่นมาปฏิบัติแก้ไขตนเองให้ได้ ตัวท่านเองสอนได้บอกทางได้แต่ไม่หมด ที่เหลือเราผู้ปฏิบัติต้องค้นคว้าเอง ฝึกฝนนำไปประดับด้วยตนเอง ใครไหวพริบดีก็เรียนได้เร็ว เหมือนนายระนาดเอกในเรื่องนี้

    คำสารภาพของศิษย์

    เราเป็นศิษย์รุ่นปลายอ้อปลายแขม และมีความขี้เกียจเป็นปกติก่อนที่เราจะไปวัด เราไม่เคยสนใจทำอะไรจริงจังยาวนาน คือ เราสนใจทำจริงจังแต่ก็ประเดี๋ยวเดียว เมื่อเราได้ไปวัด ด้วยความอยากเห็นอยากรู้เหมือนที่เพื่อนบางคนเขารู้ เขาเห็น เราจึงพยายามทำ แต่มันไม่ได้ ความพยายามของเราก็เลยลดน้อยถอยลงตามวันเวลาที่ผ่านไป แต่ความอยากของเรามันไม่ได้หมดไปด้วย พอขี้เกียจหนักเข้า เราจึงถามหลวงพ่อว่า

    " หนูขี้เกียจเหลือเกินค่ะ จะทำยังไงดี "

    เราจำได้ว่าท่านนั่งเอนอยู่ พอเรากราบเรียนถามท่านก็ลุกขึ้นนั่งฉับไว มองหน้าเรา แล้วบอกว่า " ถ้าข้าบอกแก้ไม่ให้กลัวตาย แกจะเชื่อข้าไหมล่ะ "

    เราเงียบเพราะไม่เข้าใจที่ท่านพูดตอนนั้นเลย อีกครั้งหนึ่งปลอดคน เรากราบเรียนถามท่านว่า " คนขี้เกียจอย่างหนูนี้ มีสิทธิ์ถึงนิพพานได้หรือไม่ "

    หลวงพ่อท่านนั่งสูบบุหรี่ยิ้มอยู่และบอกเราว่า " ถ้าข้าให้แกเดินจากนี่ไปกรุงเทพฯ แกเดินได้ไหม "

    เราเงียบแล้วยิ้มแห้งๆ ท่านจึงพูดต่อว่า " ถ้าแกกินข้าวสามมื้อ มันก็มีกำลังวังชา เดินไปถึงได้ ถ้าแกกินข้าวมื้อเดียว มันก็พอไปถึงได้แต่ช้าหน่อย แต่ถ้าแกไม่กินข้าวไปเลย มันก็คงไปไม่ถึง ใช่ไหมล่ะ "

    เรารู้สึกเข้าใจความข้อนี้ซึมซาบเลยทีเดียว แล้วหลวงพ่อท่านก็พูดต่อว่า " เรื่องทำม้งธรรมะอะไรข้าพูดไม่เป็นหรอก ข้าก็เป็นแต่พูดของข้าอย่างนี้แหละ "

    สั้นๆ ก็มี

    เคยมีผู้ปฏิบัติกราบเรียนถามหลวงพ่อว่า " หลวงพ่อครับ ขอธรรมะสั้นๆ ในเรื่องวิธีปฏิบัติเพื่อให้กิเลส 3 ตัว คือ โกรธ โลภ หลง หมดไปจากใจเรา จะทำได้อย่างไรครับ "

    หลวงพ่อตอบเสียงดังฟังชัด จนพวกเราในที่นั้นได้ยินกันทุกคนว่า "สติ"

    วัดผลการปฏิบัติด้วยสิ่งใด?

    มีผู้ปฏิบัติหลายคน ปฏิบัติไปนานเข้าชักเขว ไม่แจ้งว่าตนปฏิบัติไปทำไม หรือปฏิบัติไปเพื่ออะไร ดังครั้งหนึ่ง เคยมีลูกศิษย์กราบเรียน ถามหลวงพ่อท่านว่า

    " ภาวนามาก็นานพอสมควรแล้ว รู้สึกว่ายังไม่ได้รู้ได้เห็นสิ่งต่างๆ มีนิมิตภายนอก แสดงสีต่างๆ เป็นต้น ดังที่ผู้อื่นเขารู้เห็นทางปฏิบัติกันเลย "

    หลวงพ่อท่านย้อนถาม สั้นๆ ว่า " ปฏิบัติแล้ว โกรธ โลภ หลง แกลดน้อยลงหรือเปล่าล่ะ ถ้าลดลงข้าว่าแกใช้ได้ "

    ของจริง ของปลอม

    เมื่อหลายปีก่อน ได้เกิดไฟไหม้ที่วัดสะแกบริเวณกุฏิตรงข้ามกุฏิหลวงพ่อ แต่ไฟไม่ไหม้กุฏิหลวงพ่อ เป็นที่อัศจรรย์ใจแก่ศิษย์และผู้ที่พบเห็นเป็นอย่างยิ่ง ถึงขนาดมีฆราวาสท่านหนึ่งคิดว่าหลวงพ่อท่านมีพระดี มีของดี ไฟจึงไม่ไหม้กุฏิท่าน ผู้ใหญ่ท่านนั้นได้มาที่วัดและกราบเรียนหลวงพ่อว่า

    " หลวงพ่อครับ ผมขอพระดีที่กันไฟได้หน่อยครับ "

    หลวงพ่อยิ้มก่อนตอบว่า " พุทธัง ธัมมัง สังฆัง ไตรสรณคมน์นี่แหละพระดี "

    ผู้ใหญ่ท่านนั้นก็รีบบอกว่า " ไม่ใช่ครับผมขอพระเป็นองค์ๆ อย่างพระสมเด็จน่ะครับ "

    หลวงพ่อก็กล่าวยืนยันหนักแน่นอีกว่า " ก็พุทธัง ธัมมัง สังฆัง นี่แหละมีแค่นี้ล่ะ ภาวนาให้ด ี"

    แล้วหลวงพ่อก็มิได้ให้อะไรจนผู้ใหญ่ท่านนั้นกลับไปหลวงพ่อจึงได้ ปรารภธรรมอบรมศิษย์ที่ยังอยู่ว่า " คนเรานี่ก็แปลก ข้อให้ของจริงกลับไม่เอา จะเอาของปลอม "

    </td> </tr> <tr> <td class="body" align="left" valign="baseline"> จะตามมาเอง

    หลายปีมาแล้ว มีพระภิกษุรูปหนึ่ง ได้มาบวชปฏิบัติธรรมอยู่ที่วัดสะแก ก่อนที่จะลาสิกขาเข้าสู่เพศฆราวาส ท่านได้นัดแนะกับเพื่อนพระภิกษุที่จะสึกด้วยกัน 3 องค์ว่า เพื่อความเป็นสิริมงคลก่อนสึกพวกเราจะไปกราบขอให้หลวงพ่อพรมน้ำมนต์และให้พร ท่านได้เล่าให้ผู้เขียนฟังว่า

    ขณะที่หลวงพ่อพรมน้ำมนต์ ให้พรอยู่นั้น ท่านก็นึกอธิษฐานอยู่ในใจว่า " ขอความร่ำรวยมหาศาล ขอลาภขอผลพูนทวีมีกินมีใช้ไม่รู้หมด จะได้แบ่งไปทำบุญมากๆ " หลวงพ่อหันมามองหน้าหลวงพี่ที่กำลังคิดละเมอเพ้อฝันถึงความร่ำรวยนี้ ก่อนที่จะบอกว่า

    " ท่าน ที่ท่านคิดน่ะมันต่ำ คิดให้มันสูงไว้ไม่ดีหรือ แล้วเรื่องที่ท่านคิดน่ะจะตามมาทีหลัง "

    สติธรรม

    บ่อยครั้งที่พวกเราถูกหลวงพ่อท่านดุในเรื่องของการไม่สำรวมระวัง ท่านมักจะดุว่า " ให้ทำ (ปฏิบัติ) ไม่ทำ ทำประเดี๋ยวเดียว เดี๋ยวออกมาจับกลุ่มกันอีกแล้ว ทีเวลาคุย คุยกันได้นาน "

    ปฏิปทาของท่านต้องการให้พวกเราตั้งใจปฏิบัติตั้งใจทำให้จริงมีสติ สำรวมระวัง แม้เวลากินข้าว ท่านก็ให้ระวังอย่าพูดคุยกันเอะอะเสียงดัง

    "สติ" นั้นเป็นสิ่งสำคัญที่สุดอย่างหนึ่งที่จะทำให้เราได้หยุดคิดพิจารณาก่อนที่จะ ทำ จะพูด และแม้แต่จะคิดสิ่งใดสิ่งหนึ่งว่าสิ่งนั้นดีหรือชั่ว มีคุณประโยชน์หรือเสียหาย ควรกระทำหรือควรงดเว้นอย่างไร เมื่อยั้งคิดได้ก็จะช่วยให้พิจารณาทุกสิ่งทุกอย่างละเอียดประณีต และสามารถกลั่นกรองเอาสิ่งที่ไม่เป็นสาระไม่เป็นประโยชน์ออกให้หมด คงเหลือแต่เนื้อที่ถูกต้องและเป็นธรรมซึ่งเป็นของควรคิด ควรพูด ควรทำแท้ๆ

    คนดีของหลวงพ่อ

    ธรรมะที่หลวงพ่อนำมาอบรมพวกเราเป็นธรรมที่สงบเย็น และไม่เบียดเบียนใครด้วยกรรมทั้งสามคือ ความคิด การกระทำ และคำพูด ครั้งหนึ่งท่านเคยอบรมศิษย์เกี่ยวกับวิธีสังเกตคนดีสั้นๆ ประโยคหนึ่งคือ

    "คนดี เขาไม่ตีใคร"

    ทุกสิ่งทุกอย่างไม่ว่าจะเป็นการปฏิบัติธรรม หรือการทำงานในทางโลกนั้นย่อมมีการกระทบกระทั่งกันเป็นธรรมดาของโลกปุถุชน หากเรากระทำการสิ่งใดซึ่งชอบด้วยเหตุและผล คือ ได้พยายามทำอย่างดีที่สุดแล้ว อย่าไปกลัวว่าใครเขาจะว่าอะไรเรา ใครเขาจะโกรธเรา แต่ให้กลัวที่เราจะไปว่าอะไรเขา กลัวที่เราจะไปโกรธเขา

    อุเบกขาธรรม

    เรามักจะเห็นการกระทำที่เป็นคำพูดและการแสดงออกอยู่บ่อยๆ ส่วนการกระทำที่เป็นการนิ่งที่เรียกว่ามีอุเบกขานั้นไม่ค่อยได้เห็นกันใน เรื่องการสร้างอุเบกขาธรรมขึ้นในใจนั้นผู้ปฏิบัติใหม่เมื่อได้เข้ามารู้ธรรม เห็นธรรม ได้พบเห็นสิ่งแปลกๆ และคุณค่าของพุทธศาสนามักเกิดอารมณ์ความรู้สึกว่าอยากชวนคนมาวัด มาปฏิบัติให้มากๆ โดยลืมดูพื้นฐานจิตใจของบุคคลที่กำลังจะชวนว่าเขามีความสนใจมากน้อยเพียงใด

    หลวงพ่อท่านบอกว่าให้ระวังให้ดีจะเป็นบาป เปรียบเสมือนกับการจุดไฟไว้ตรงกลางระหว่างคน 2 คน ถ้าเราเอาธรรมะไปชวนเขา เขาไม่เห็นด้วยปรามาสธรรมนี้ซึ่งเป็นธรรมของพระพุทธเจ้า ก็เท่ากับเราเป็นคนก่อแล้วเขาเป็นคนจุดไฟ บาปทั้งคู่ เรียกว่า เมตตาจะพาตกเหว

    แล้วท่านก็ยกอุทาหรณ์สอนต่อว่า " เหมือนกับมีชายคนหนึ่งตกอยู่ในเหวลึก มีผู้จะมาช่วยคนที่หนึ่งมีเมตตาจะมาช่วยเอาเชือกดึงขึ้นจากเหว ดึงไม่ไหวจึงตกลงไปในเหวเหมือนกัน คนที่สองมีกรุณามาช่วยดึงอีก ก็ตกลงเหวอีก คนที่สามมีมุทิตามาช่วยดึงอีกก็พลาดตกลงเหวอีกเช่นกัน คนที่สี่สุดท้ายเป็นผู้มีอุเบกขาธรรมเห็นว่าเหวนี้ลึกเกินกว่ากำลังของตนที่ จะช่วย ก็มิได้ทำประการใดทั้งๆ ที่จิตใจก็มีเมตตาธรรมที่จะช่วยเหลืออยู่คนสุดท้ายนี้จึงรอดชีวิตจากการตก เหวตายเพราะอุเบกขาธรรมนี้แล "

    หลวงพ่อกับในหลวง

    หลวงพ่อเคยเล่าให้ฟังว่าเมื่อหลายสิบปีก่อน ครั้งที่ท่านได้ฟังข่าวในหลวงรัชกาลที่ 8 เสด็จสวรรคต ท่านเกิดความสลดสังเวชมากว่าคนไทย หลายคนยังขาดกตัญญูกตเวทิตาคุณต่อพระเจ้าอยู่หัวท่านคิดอยู่เสมอว่า ทำอย่างไรจะให้คนไทยมีความรักชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย์ องค์ท่านเองนั้นตั้งแต่บัดนี้จนกระทั่งทุกวันนี้ แม้กาลเวลาล่วงเลยไปหลายสิบปี กิจวัตรอันหนึ่งท่านทำอยู่มิได้ขาด คือ การสวดมนต์ถวายพระพรแด่ในหลวงทุกวันตลอดมา ขอให้พระองค์มีพระชนมายุยิ่งยืนนานเป็นมิ่งขวัญคนไทยตลอดไป

    หลวงพ่อยังได้กล่าวกับผู้เขียนอีกว่าเพราะพระเจ้าแผ่นดิน (ร.9) ท่านปฏิบัติ (ธรรม) ต่อไปพุทธศาสนาในเมืองไทยจะเจริญขึ้น เพราะท่านเป็นผู้นำ เป็นแบบอย่าง

    หนึ่งในสี่

    ครั้งหนึ่งหลวงพ่อได้ปรารภธรรมกับผู้เขียนว่า...

    " ข้านั่งดูดยา มองดูซองยาแล้วก็ตั้งปัญหาถามตัวเองว่าเรานี่ปฏิบัติได้ 1 ใน 4 ของศาสนาแล้วหรือยัง? ถ้าซองยานี้แบ่งเป็น 4 ส่วน เรานี่ยังไม่ได้ 1 ใน 4 มันจวนเจียนจะได้แล้วมันก็คลาย เหมือนเรามัดเชือกจนเกือบจะแน่นได้ที่แล้วเราปล่อย มันก็คลายออก เรานี่ยังไม่เชื่อจริง ถ้าเชื่อจริงก็ต้องได้ 1 ใน 4 แล้ว "

    ต่อมาภายหลังท่านได้ขยายความให้ผู้เขียนฟังว่า

    ที่ว่า 1 ใน 4 นั้น อุปมาดั่งการปฏิบัติธรรมเพื่อให้บรรลุมรรคผลในพุทธศาสนา ซึ่งแบ่งเป็นขั้นโสดาบัน สกิทาคามี อนาคามีและอรหัตผล อย่างน้อยเราเกิดมาชาติหนึ่งชาตินี้ ได้พบพระพุทธศาสนาซึ่งเปรียบเสมือนสมบัติอันล้ำค่าแล้ว หากไม่ปฏิบัติธรรมให้ได้ 1 ใน 4 ของพุทธศาสนาเป็นอย่างน้อย คือ เข้าถึงความเป็นพระโสดาบัน ปิดประตูอบายภูมิให้ได้ ก็เท่ากับว่าเราเป็นผู้ประมาทอยู่เหมือนเรามีข้าวแล้วไม่กิน มีนาแล้วไม่ทำ ฉันใดก็ฉันนั้น

    ธรรมะจากซองยา(บุหรี่)

    บ่อยครั้งที่หลวงพ่อมักจะหยิบยกเอาสิ่งของรอบตัวท่านมาอุปมาเป็นข้อธรรมะให้ศิษย์ได้ฟังกันเสมอ

    ครั้งหนึ่งท่านได้อบรมศิษย์ผู้หนึ่งเกี่ยวกับการรู้เห็นและได้ธรรม ว่ามีทั้งชั้นหยาบ ชั้นกลาง ชั้นละเอียด อุปมาเหมือนอย่างซองยานี่ (หลวงพ่อท่านชี้ไปที่ซองบุหรี่)

    " แต่แรกเราเห็นแค่ชอบของมัน

    แล้วเราจะไปเห็นมวนบุหรี่อยู่ในซองนั่น

    ในมวนบุหรี่แต่ละมวนก็ยังมียาเส้นอยู่ภายในอีก

    แล้วที่สุดจะเกิดตัวปัญญาขึ้น รู้ด้วยว่ายาเส้นนี้ทำมาจากอะไร

    จะเรียกว่า เห็นในเห็น ก็ได้

    ลองไปตรองดูแล้วเทียบกับตัวเราให้ดีเถอะ "

    ปรารภธรรม

    แต่ไหนแต่ไรมา คนเราเกิดมาแล้วมีแต่ความวุ่นวายสารพัดอย่างปรุงแต่งต่างๆ นานานับไม่ถ้วนเหลือที่จะคณา เมื่อเรามาทำความสงบแม้เพียงประเดี๋ยวเดียวก็รู้สึกว่าเย็นใจสบายใจ เราก็ควรรักษาความเย็นอันนี้ ความสบายอันนั้นไว้ให้ตลอดไป จึงจะเป็นไปเพื่อความสุขซึ่งเป็นความปรารถนาของคนทั่วไป เมื่อได้ความสุขนั้นมาแล้วก็จงรักษาความสุขนั้นไว้ ของหาได้ง่ายแต่รักษาได้ยาก

    ครั้นทำได้แล้วที่จะรักษาไว้ให้ได้นานนั้นยากที่สุด เพราะอะไร เพราะกิริยาอาการทุกอย่างของเรามันกระทบกระเทือนอยู่ตลอดเวลาเป็นต้นว่า ยืน เดิน นั่ง นอน การพูด การคุย การกิน สารพัด ทุกอย่าง เป็นเรื่องกระทบอายตนะทุกสิ่งทุกประการ จิตมันก็ส่งไปตามอายตนะจึงว่ารักษาได้ยาก

    ถ้าหากผู้ทำได้ชำนิชำนาญคล่องแคล่วเสียแล้วท่านรู้เท่ารู้เรื่องท่าน ตามรู้ตามเห็นทุกสิ่งทุกประการ มันจะมาแบบไหนก็ตามรู้เรื่องของมันจิตส่งไปก็เป็นธรรมะ จะคิดนึกถึงก็เป็นธรรมะ มันปรุงมันแต่งก็เป็นธรรมะ ถ้ารู้เท่ารู้เรื่องมันเป็นธรรมดาเป็นของมันอย่างนั้นเป็นธรรมะทั้งหมด ผู้ปฏิบัติจะเห็นความดีความชั่วของตนตรงนี้แหละมันเป็นธรรมหรือมันเป็นโลก ก็เห็นกันที่ตรงนี้ ที่จิตนี่

    ข้อควรคิด

    การไปวัด ไปไหว้พระ ตลอดจนการสนทนาธรรมกับท่าน สมควรที่จะต้องมีความตั้งใจและเตรียมให้พร้อมที่จะรับธรรมจากท่าน มิฉะนั้นแล้วอาจเกิดเป็นโทษได้ ดังเรื่องต่อไปนี้

    ปกติของหลวงพ่อท่านมีความเมตตา อบรมสั่งสอนศิษย์ และสนทนาธรรมกับผู้สนใจตลอดมา วันหนึ่งมีผู้มากราบนมัสการท่านและเรียนถามปัญหาต่างๆ จากนั้นจึงกลับไป

    หลวงพ่อท่านได้ยกเป็นคติเตือนใจให้ผู้เขียนฟังว่า " คนที่มาเมื่อกี้ หากไปเจอพระดีละก็ลงนรก ไม่ไปสวรรค์ นิพพานหรอก" ผู้เขียนจึงเรียนถามท่านว่า "เพราะเหตุไรครับ "

    ท่านตอบว่า " ก็จะไปปรามาสพระท่านน่ะซี ไม่ได้ไปเอาธรรมจากท่าน "

    หลวงพ่อเคยเตือนพวกเราไว้ว่า " การไปอยู่กับพระอรหันต์อย่าอยู่กับท่านนาน เพราะเมื่อเกิดความมักคุ้นแล้ว มักทำให้ลืมตัวเห็นท่านเป็นเพื่อนเล่น คุยเล่นหัวท่านบ้าง ให้ท่านเหาะให้ดูบ้างถึงกับบอกปากให้ท่านเลยก็มี การกระทำเช่นนี้ถือเป็นการปรามาสพระ ลบหลู่ครูอาจารย์และเป็นบาปมาก ปิดกั้นทางมรรคผลนิพพานได้ จึงขอให้พวกเราสำรวมระวังให้ด ี"

    ไม่พยากรณ์

    เกี่ยวกับเรื่องปฏิบัติธรรมแล้วจะได้สำเร็จมรรคผลนิพพานหรือไม่ เคยมีพระภิกษุท่านหนึ่งได้มากราบนมัสการและเรียนถามหลวงพ่อว่า

    " หลวงพ่อครับ กระผมจะได้สำเร็จหรือไม่ หลวงพ่อช่วยพยากรณ์ทีครับ "

    หลวงพ่อนิ่งสักครู่หนึ่งก่อนตอบว่า " พยากรณ์ไม่ได ้"

    พระภิกษุรูปนั้นได้เรียนถามต่อว่า " เพราะเหตุไรหรือครับ "

    หลวงพ่อจึงตอบว่า " ถ้าผมบอกว่าท่านได้สำเร็จหากท่านเกิดประมาทไม่ปฏิบัติต่อ มันจะสำเร็จได้อย่างไร และถ้าผมบอกว่าท่านไม่สำเร็จท่านก็คงจะขี้เกียจ และจะทิ้งการปฏิบัติไป นิมนต์ท่านทำต่อเถอะครับ "

    </td> </tr> <tr> <td class="body" align="left" valign="baseline"> วัดของคนเข้าวัด
    การเข้าวัด

    วัด หมายถึง สถานที่ที่เป็นสัดส่วน สะอาด สงบ สบายและร่มเย็น ควรแก่การเคารพบูชา โดยสถานที่ พระสงฆ์ผู้ประพฤติธรรมตลอดจนวัตถุสิ่งของเครื่องสักการะต่างๆ ก็ดี เป็นที่รวมเอาคนและวัตถุเข้าด้วยกัน รวมคุณงามความดีทั้งหลายไว้เป็นเครื่องจรรโลงจิตใจให้สูงค่าควรแก่การทะนุ บำรุงเพื่อความเจริญรุ่งเรืองตลอดกาล มิได้หมายถึงสถานที่ท่องเที่ยวอันสวยงามหรือเป็นที่พักผ่อนหย่อนใจโดยทั่วไป ฉะนั้นอย่าเข้าใจว่าวัดเป็นที่เที่ยว

    วัด คือ การตรวจสอบขนาดความกว้าง ความยาว ความหนา ความบาง หรือสูงต่ำ ดำขาวในคน สัตว์และสิ่งของ วัดปริมาณ วัดความรู้ ความสามารถ วัดคุณภาพเพื่อให้รู้ผลลัพธ์

    การเข้าวัดคืออะไร เข้าอย่างไร เข้าที่ไหน การเข้าวัดต่างกับการไปวัดอย่างไรนี้ เป็นสิ่งที่เราควรจะทำความเข้าใจให้ดีเสียก่อน มิฉะนั้นการเข้าวัดของเราอาจเกิดเป็นโทษมากกว่าเกิดเป็นคุณโดยที่เรามิได้ ตั้งใจ

    การไปวัดคือการไปดูไปชมภายในบริเวณวัด ความสวยงามของธรรมชาติ ศิลปการปลูกสร้าง ธรรมเนียมประเพณีของวัด ความเป็นอยู่ของพระเณร ดูคนที่ไปอยู่วัดไปเพื่อรดน้ำมนต์ สะเดาะเคราะห์ เพื่อเสาะแสวงหาโชค หาดวง หาเครื่องรางของขลัง ดูกันไป ฟังกันไป พูดกันไป จริงบ้างไม่จริงบ้าง มีสาระบ้าง ไม่มีสาระบ้าง ถูกใจตนก็ว่าดี ไม่ถูกใจตนก็โกรธ ก็เคือง นี้คือเรื่องของคนไปวัด

    ส่วนการเข้าวัด คือ การเข้าไปดูใจของตน วัดความโลภ ความโกรธ ความหลงที่มีอยู่ในใจเพื่อชำระสะสางให้หมดไป กล้าหาญในการที่จะชำระซักฟอกจิตใจของตนให้สะอาดผ่องใส ไม่ชักช้าลังเลในการตัดสินใจที่จะทำดี หลีกหนีให้ไกลจากความชั่ว หลีกเลี่ยงหรือพยายามทำผิด ทำชั่วให้น้อยที่สุดเท่าที่จะสามารถทำได้ ลงมือเรียนรู้และศึกษาธรรมให้ถึงเนื้อแท้ของธรรม ลงมือปฏิบัติด้วยความพอใจ ขยันหมั่นเพียร เอาใจฝักใฝ่ในการปฏิบัติ ดูกายดูจิตไม่วางธุระของตน พยามใช้ปัญญาคิดค้นพิจารณาถึงเหตุถึงผล ให้เห็นกายในกาย จิตในจิต โดยไม่ลำเอียงหรือมีอคติ วัดตนเองออกมาให้เห็นให้ชัดเจน มิใช่ไปวัดดูคนอื่น เพ่งโทษผู้อื่นจนลืมดูโทษใหญ่ โทษน้อยที่เกิดขึ้นภายในตนทั้งทางกาย วาจา และใจ มิฉะนั้นจะเป็นการเข้าผิดวัดและวัดผิด เป็นการปิดทางเข้าวัด ปิดประตูทางที่จะก้าวเดินไปสู่ความเจริญคืออริยมรรค อริยผลของตนโดยสิ้นเชิง

    วัดคนเข้าวัด

    สำหรับผู้เข้าวัดถูก มิใช่วัดผิด และผิดวัด ก็จะเกิดมีคุณลักษณะอย่างหนึ่งติดอยู่ที่ใจ เรียกคุณลักษณะพิเศษนี้ว่า "วัตร" วัตรของคนเข้าวัด จะประกอบด้วยทาน-การให้ มีความยินดีที่จะช่วยเหลือและสงเคราะห์ผู้อื่นอยู่เสมอตามกำลังของตน ไม่ว่าจะเป็นกำลังกาย กำลังทรัพย์ กำลังสติ ปัญญา ศีล-ความสำรวมระวัง ไม่เบียดเบียนตนและผู้อื่น ด้วยกาย วาจา ใจ จนเกิดเป็นความสงบเย็นแก่ตน ครอบครัว สังคมและส่วนรวม ภาวนาความงอกงามของจิตใจ ซึ่งกอปรด้วยสติและปัญญา เป็นใจที่เฉลียวฉลาด รู้เท่าทันอารมณ์และความคิดต่างๆ และความคุ้มให้เป็นไปในทางที่ดี รู้เห็นเรื่องราวต่างๆ รอบตัวตามสภาวธรรม ตามความเป็นจริงได้ วัดของคนเข้าวัดเป็นอย่างนี้

    คำบูชาพระ

    นะโมพุทธายะ พระพุทธ ไตรรัตนญาณ
    มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา
    พุธโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ
    พุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา
    อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลีจะมหาเถรัง
    อะหังวันทามิ ทูระโต
    อะหังวันทามิ ธาตุโย
    อะหังวันทามิ สัพพะโส
    พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ

    พระดีที่น่าเคารพ

    ปกติเวลาเราไปไหวพระสุปฏิปันโนหรือพระที่ทรงคุณธรรม บางครั้งมักจะมีการขอให้ท่านช่วยอธิษฐานจิตวัตถุมงคลที่นำไป ผู้เขียนและคณะบางครั้งเวลาที่ท่านมีสุขภาพดีอารมณ์แจ่มใสจึงขอให้ท่านทำให้ มีครั้งหนึ่งผู้คนไปกันมากของที่จะให้ท่านอธิษฐานมีหลายอย่างรวมกันไป เมื่อท่านอธิษฐานเรียบร้อยแล้ว หลวงพ่อพูดขึ้นว่า " เจอดีหลายๆ องค์ พระนะ แต่องค์นี้เป็นพระดีมาก " ท่านชี้ไปที่ล็อกเกตพระสงฆ์องค์หนึ่ง เมื่อผู้เขียนหยิบมาดู จึงกราบเรียนท่านว่า " ก็เป็นล็อกเกตรูปหลวงพ่อไงละครับ ที่ทางวัดเขาทำให้บูชา " หลวงพ่อท่านจึงรีบตอบว่า " เอ้าข้าไม่รู้ ทำไว้ซะเล็กเลยมองไม่เห็นว่าเป็นองค์ไหน " มีลูกศิษย์อีกคนจึงถามท่านว่า " ทำไมหลวงพ่อจึงรู้ละครับ " ท่านจึงตอบว่า " ข้าก็ไม่รู้เพียงแต่มีความรู้สึกพิเศษ แกถามอาจารย์เขาดูดีกว่า " หลวงพ่อท่านเลี่ยงมาให้ผู้เขียนตอบแทน แต่ผู้เขียนได้แต่ยิ้มไม่ตอบอะไร จนเมื่อลาหลวงพ่อกลับจึงตอบให้ฟังว่า " หลวงพ่อท่านคงมีเมตตาที่เห็นพวกเราทุกคนเคารพท่านแล้วไม่สงสัยท่านท่านจึง บอกอย่างนี้ก็ได้ อีกอย่างหนึ่งคงมีแสงสว่างจากพลังจิตใจในคุณพระที่ท่านอธิษฐานไว้ ไปปรากฏที่หลวงพ่อก็ได้ อะไรก็ดีทั้งนั้นแหละ "

    เรื่องของพระดีที่มีคุณธรรมนี้ หลวงพ่อท่านเคยบอกผู้เขียนว่า " เวลาที่ไปไหว้พระองค์ไหนก็ตาม ถ้าผู้ที่ทำเห็นแล้วจะรู้ได้ เพราะท่านจะมีที่อยู่ของท่านเฉพาะ ถ้าองค์ไหนเราเห็นท่านอยู่ในที่ของท่านแล้วองค์นั้นแหละพระดี ข้อสำคัญต้องทำให้เห็น หรือเวลาแกไปเจอภาพพระองคืไหนก็ตามเอามือแตะภาพท่านทำใจเฉยๆ ถ้าขึ้น (ปีติ) มาถึงหัวแสดงว่าองค์นั้นด ี"

    ผู้เขียนเคยนำรูปของสมเด็จพระสังฆราช (อยู่) วัดสระเกศไปให้ท่านอธิษฐานจิต พอหลวงพ่อท่านแตะรูปท่านบอกว่า " องค์นี้เป็นพระดีมีบารมีสูงมากพอกับหลวงพ่อโตวัดระฆัง จะมากกว่าเสียด้วย ถ้าแกไม่เชื่อลองจับดูก็ได้ "

    ผู้เขียนรีบตอบท่านว่าไม่ละครับ เพราะผู้เขียนรู้ตัวเองดีว่าคุณธรรมของเรายังน้อยนิด บารมีของเรายังไม่เท่ากับหนึ่งในล้าส่วนของเศษละอองธุลีพระบาทของพระโสดาบัน เลย แต่อย่างไรก็ตามผู้เขียนรู้สึกซาบซึ้งในองค์หลวงพ่อมากที่ท่านมีเมตตาสั่ง สอนเพื่อให้ความรู้และความกระจ่างกับลูกศิษย์

    สากจฺฉาย ปญฺญา เวทิตพฺพา
    ปัญญารู้ได้ด้วยการสนทนา
    พุทธพจน์
    </td></tr></tbody></table>

    ขอขอบคุณ
    �š�ä����ٻ�Ҿ�� Google ����Ѻhttp://i191.photobucket.com/albums/z111/dhnaleo/-14.jpg
    และ
    Dhamma and Life - Manager Online

     
  7. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097
    สืบหาพระเครื่องดีในคืนวันศุกร์มาไม่ทันเลยมาวันเสาร์แทน ลองดูพระรุ่นนี้กัน เมื่อก่อนราคาเบา เดี๋ยวนี้เท่าไรแล้วไม่รู้ เห็นเท่าที่ลงในบางเวบแยกบูชาองค์ละ สามพันบาท แต่ที่รู้ๆ ก็คือดีแน่ ขนาดสร้างถวายในวังเชียวนา จะบอกให้...

    <table class="MainFont" align="center" border="0" cellpadding="3" cellspacing="3" width="98%"><tbody><tr><td style="padding-bottom: 5px;">
    </td> </tr> <tr> <td style="border: 1px dashed rgb(204, 204, 204);"> [FONT=&quot][FONT=&quot]
    [​IMG]

    ในปี พ.ศ.
    2520 คุณหญิงสุรีพันธุ์ มณีวัต ได้คิดจะทอดกฐินและผ้าป่า 8 วัด ดังนี้
    [FONT=&quot]กฐิน [/FONT][FONT=&quot]- วัดเจติยาคิรีวิหาร (ภูทอก) อ.บึงกาฬ หนองคาย
    ผ้าป่า - วัดถ้ำกลองเพล อ.หนองบัวลำภู อุดรธานี ท่านอาจารย์ขาว อนาลโย
    [/FONT]

    [FONT=&quot]- วัดหินหมากเป้ง อ.ศรีเชียงใหม่ หนองคาย ท่านอาจารย์เทสก์ เทศน์รังสี <o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]- วัดป่าบ้านตาด อ.เมือง อุดรธานี ท่านอาจารย์มหาบัว ญาณสัมปันโน [/FONT]
    [FONT=&quot]- วัดป่านิโครธาราม อ.หนองบัวลำภู ท่านอาจารย์อ่อน ญาณศิริ [/FONT]
    [FONT=&quot]- วัดถ้ำอภัยดำรงธรรม อ.สว่างแดนดิน สกลนคร ท่านอาจารย์วัน อุตตโม [/FONT]
    [FONT=&quot]- วัดป่าอุดมสมพร อ.พรรณานิคม สกลนคร [/FONT][FONT=&quot]สมทบทุนสร้างโรงพยาบาล ท่าน[/FONT]
    [FONT=&quot] อาจารย์ฝั้น อาจาโร [/FONT]
    [FONT=&quot]- วัดป่าแก้วชุมพล อ.สว่างแดนดิน สกลนคร ท่านอาจารย์สิงห์ทอง ธัมมวโร[/FONT]<o></o>

    ดังมีรายละเอียดในโบว์ชัวร์บอกบุญกฐินในปีนั้นดังนี้
    [FONT=&quot]ขอเชิญร่วมทอดกฐิน[/FONT]-[FONT=&quot]ผ้าป่าสามัคคี [/FONT]11-14[FONT=&quot] พฤศจิกายน [/FONT]2520<o></o>
    [FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot] ด้วยวัดเจติยาคีรีวิหาร บนยอดเขาภูทอก ซึ่งเป็นสถานที่วิเวกแสวงธรรมที่สำคัญยิ่งแห่งหนึ่งของจังหวัดหนองคาย อุดมไปด้วยความงดงามตามธรรมชาติ จึงมีผู้นิยมไปแสวงบุญและนมัสการ ท่านพระอาจารย์จวน กุลเชฏโฐ ปีหนึ่งเป็นจำนวนมาก ทำให้สะพานลอยรอบเขาชั้นที่ [/FONT]5[FONT=&quot] และชั้นที่ [/FONT]6[FONT=&quot] จำเป็นต้องได้รับการบูรณะเสริมสร้างให้มั่นคงแข็งแรงขึ้น พร้อมทั้งควรบูรณะหลัง คาวิหาร จัดสร้างกุฏิ ห้องน้ำ[/FONT]-[FONT=&quot]ส้วม เพิ่มเติม รวมทั้งจัดทำถังน้ำฝนและระบบประปาภายในวัดให้มีน้ำฝนไว้ใช้ได้ตลอดปี นอกจากนี้ยังมีความจำเป็นต้องบูรณะสำนักสงฆ์ที่ห้วยสะแนน ซึ่งอยู่มนความดูแลของท่านอาจารย์อีกด้วย คณะศิษย์ของท่านจึงเห็นควรจัดทอดกฐินสามัคคีเพื่อหาปัจจัยดำเนินการดังกล่าวนี้ [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ในโอกาสเดียวกันเพื่อให้คณะศิษย์ทางกรุงเทพฯ ซึ่งส่วนใหญ่ไม่ค่อยมีเวลาและโอกาสมากราบนมัสการพระอาจารย์องค์อื่นๆ ซึ่งเป็นปูชนียบุคคลอันน่าเคารพเลื่อมใสยิ่งแห่งภาคอีสานได้บ่อยครั้งนัก จึงได้จัดทอดผ้าที่วัด[/FONT][FONT=&quot] พระอาจารย์องค์อื่นๆ ด้วย [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot] จีงเรียนมาเพื่อขอเชิญไปร่วมอนุโมทนาโดยทั่วกัน สำหรับผู้ที่บริจาคปัจจัยสมทบทุนทอด[/FONT][FONT=&quot] กฐินและผ้าป่าในครั้งนี้ จะได้รับ [/FONT][FONT=&quot] พระธรรมจักร [/FONT] [FONT=&quot]พระพุทธรูปผง ปางปฐมเทศนา เป็นที่ระลึกด้วย
    [/FONT]
    <o></o>
    [FONT=&quot]ตั้งแต่ [/FONT] 20[FONT=&quot] บาทขึ้นไป พระธรรมจักร [/FONT]1[FONT=&quot]องค์[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot] ตั้งแต่ [/FONT] 100[FONT=&quot] บาทขึ้นไป พระธรรมจักรชุด จตุรงค์ [/FONT]4[FONT=&quot] สี
    [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot] พระธรรมจักรนี้ ท่านอาจารย์จวน กุลเชฏโฐ และ ท่านอาจารย์วัน อุตตโม กรุณามอบดินจากสังเวชนียสถาน [/FONT]4[FONT=&quot] แห่ง และสถานที่ศักดิ์สิทธิ์อื่นๆ ในประเทศอินเดีย รวมทั้งวัตถุมงคลต่างๆ ที่ท่านได้รวบรวมไว้เพื่อใช้ในการสร้างพระครั้งนี้ <o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot] คณะกรรมการได้จัดสร้างพระธรรมจักรทั้งหมด [/FONT]93,409[FONT=&quot] องค์ และได้ขออนุญาตท่านอาจารย์ทำเนื้อพิเศษสุด ( ลงรักปิดทอง ) จำนวน [/FONT]9[FONT=&quot] องค์ เพื่อทูลเกล้าฯ ถวายพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมงกุฎราชกุมาร และพระวรชายาสมเด็จพระเจ้าลูกเธอทั้ง [/FONT]3[FONT=&quot] พระองค์ รวมไปถึงพระบรมวงศานุวงศ์ครบทุกพระองค์ และได้จัดทำเนื้อพิเศษอีก [/FONT]1,000[FONT=&quot] องค์ เพื่อทูลเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เพื่อทรงพระราชทานแก่ข้าราชบริพารใกล้ชิด ถือเป็นเนื้อพิเศษ [/FONT][FONT=&quot]ในวัง [/FONT]
    [FONT=&quot] ส่วนที่เป็นเนื้อพิเศษ[/FONT][FONT=&quot]นอกวัง [/FONT][FONT=&quot] จัดทำเป็น [/FONT]4[FONT=&quot] สีๆ ละ [/FONT]2,100[FONT=&quot] องค์ เรียกว่า[/FONT][FONT=&quot] จตุรงค์[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot] ท่านที่มีจิตศรัทธาจะร่วมทำบุญ โปรดส่งเงินได้ที่กรรมการคนใดคนหนึ่งที่รุ้จัก หรือจะส่งตรงได้ที่เหรัญญิก ปรียาสุข เพ็ญภาคกุล กองรหัสบัญชี การไฟฟ้าผ่ายผลิตแห่งประเทศไทย โทร[/FONT]. 4240101-6 [FONT=&quot]ต่อ [/FONT]460, 394 [FONT=&quot]และ [/FONT]640 [FONT=&quot]คณะกรรมการได้เปิดบัญชีไว้กับธนาคาร กรุงไทย จำกัด สาขา บางกรวย โดยใช้ชื่อบัญชีว่า [/FONT][FONT=&quot]กฐิน[/FONT]-[FONT=&quot]ผ้าป่าสามัคคี [/FONT]2520 ”<o></o>
    [FONT=&quot]พระธรรมจักร[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]พระพุทธลักษณะ[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot] พระธรรมจักร [/FONT] [FONT=&quot]ที่สร้างเป็นที่ระลึกงานทอดกฐินวัดเจติยาคีรีวิหาร ( ภูทอก ) จ.หนอง คาย ในปี [/FONT]2520[FONT=&quot] นี้ เป็นพระพุทธรูปปางปฐม เทศนา สมเด็จพระพุทธองค์ทรงแสดงธัมมจักกัปปวัตตนสูตรโปรดปัญจวัคคีย์ ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน และเป็นมหามงคลสมัยที่ถือกันว่า พระพุทธศาสนาได้อุบัติขึ้นแล้วโดยสมบูรณ์ ณ โอกาสนั้น คือ ได้เพียบพร้อมด้วยองค์สาม คือ พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ เพราหลังจากที่ได้สดับพระธรรมจักรแล้ว พระโกณฑัญญะ ก็ได้มีดวงตาเห็นธรรมถึงกับสมเด็จพระพุทธชินสีห์ทรงเปล่งอุทานว่า [/FONT][FONT=&quot]อัญญาสิวตโภ โกณฑัญโญ โกณฑัญญะได้รู้แล้วหนอ[/FONT]”<o></o>
    [FONT=&quot] การสร้างได้จำลองมาจากพระพุทธรูปปฏิมากรสลักหิน ที่สร้างขึ้นเมื่อเวลาประมาณ [/FONT]1,400[FONT=&quot] ปีมาแล้ว ขุดค้นพบได้ที่เมืองสารนารถ อินเดีย ขณะนี้ยังเก็บรักษาอยู่ที่พิพิธภัณฑ์เมืองพาราณสี เป็นรูปพระพุทธองค์ประทับขัดสมาธิเพชร ทรงกระทำวงที่นิ้วซึ่งเรียกกันว่า[/FONT][FONT=&quot] วรมุทระ ใต้ฐานสลักเป็นรูปปัญจวัคคีย์กับอุปัฏฐาก เบื้องหลังพระพาหามีวงกลมประภามณฑล เห็นเทพเจ้า [/FONT]2[FONT=&quot] องค์กำลังน้อมปัจจุคมนาการอยู่ [/FONT]2 [FONT=&quot]ข้าง [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot] พระพุทธรูปหินปางปฐมเทศนาองค์ที่สร้างขึ้น ณ เมืองสารนารถนี้ ถือกันว่าเป็นศิลปกรรมที่งดงามที่สุดของอินเดีย เป็นโบราณวัตถุที่ล้ำค่าหาราคามิได้ เพื่อให้ชาวพุทธ ณ เมืองไทยได้มีโอกาสสักการบูชา จึงได้จำลองแบบมาให้ กองกษาปณ์ กรมธนารักษ์ สร้างขึ้น[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot] โดยที่พระผงที่จะจัดสร้างนี้ ด้านหน้าเป็นรูปปางเทศนาโปรดปัญจวัคคีย์ ส่วนด้านหลังเป็นรูปเจดีย์ทั้งสาม แสดงถึงวาระแห่งการประสูติ ตรัสรู้ และนิพพานอยู่ด้วย คณะกรรมการจึงจัดสร้างพระชุดพิเศษให้แสดงถึงวาระอันสำคัญยิ่งให้ครบเป็น [/FONT]4[FONT=&quot] โอกาส โดยจัดทำเป็นสีพิเศษ [/FONT]4[FONT=&quot] สี ดังนี้[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot] ประสูติ [/FONT] - [FONT=&quot]สีเขียว หมายถึง ความรื่นเริงของโลกที่ทราบถึงการประสูติ[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot] ตรัสรู้ [/FONT]- [FONT=&quot]สีขาว [/FONT][FONT=&quot]หมายถึง ความสว่างเจิดจ้าแห่งการตรัสรู้[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot] ปฐมเทศนา [/FONT]- [FONT=&quot]สีชมพู หมายถึง สีอาทิตย์อุทัยที่แสดงถึงการอุบัติขึ้นของ[/FONT][FONT=&quot]พุทธศาสนา [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]นิพพาน [/FONT]- [FONT=&quot]สีเทาดำ หมายถึง ความโศกสลดของชาวโลกที่มีต่อวาระ[/FONT][FONT=&quot]ปรินิพพาน [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ซึ่งแต่ละสีนอกจากจะใช้วัตถุมงคลทั้งมวลที่มีอยู่แล้วเป็นสีพื้น จะเพิ่มมวลสารบางชนิดเน้นหนัก คือ[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot] สีเขียว เน้นด้วย กระเบื้องเขียวหลังคาวัดบวรนิเวศน์ วัดราชบพิธ จันทน์หอม [/FONT][FONT=&quot]และที่สำคัญคือ เตยหอมจากภูทอก ที่พระอาจารย์จวนได้
    อธิษฐาน[/FONT]
    [FONT=&quot]จิตให้ไว้ว่า[/FONT][FONT=&quot] จะแตกไปกี่กอ ทุกต้นทุกกอคือเราเสกไว้แล้ว [/FONT]
    [FONT=&quot] สีขาว เน้นด้วย เกสรดอกไม้ งาช้าง และกระเบื้องวัดบวรฯ วัดราชบพิธ[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot] สีชมพู เน้นด้วย ชานหมาก หินชมพูจากภูทอก โคตรเหล็กไหลและขี้เหล็กไหล [/FONT][FONT=&quot]ซึ่งเทพที่รักษาอยู่ได้มาขอให้ท่านอาจารย์นำออกจาก
    ถ้ำบูชาภูวัวไปแ[/FONT]
    [FONT=&quot]จกจ่ายแก่ประชรชนเพื่อที่เขาจะได้บุญด้วย[/FONT]
    [FONT=&quot] สีเทาดำ เน้นด้วย พระผงงิ้วดำ และเบ้าหล่อพระพุทธรูป ภปร. ข้าวสารดำสามพันปี[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot] สีพิเศษนี้จะจัดสร้างเพียงสีละ [/FONT]2,100[FONT=&quot] องค์เท่านั้น โดยจัดเป็นชุดเรียกว่า ชุดจตุรงค์ [/FONT]4[FONT=&quot] สี[/FONT][FONT=&quot] สำหรับมอบให้ผู้บริจาคตั้งแต่ [/FONT]100[FONT=&quot] บาทขึ้นไป[/FONT] <o></o>
    [FONT=&quot]ส่วนเนื้อธรรมดาที่มีสีแดงนั้นมีจำนวนจัดสร้างเท่าพระธรรมขันธ์ คือ [/FONT]84,000[FONT=&quot] องค์ โดยแบ่งส่วนหนึ่งจำนวน [/FONT]40,000 [FONT=&quot]องค์บรรจุกรุไว้ที่ใต้ฐานพระประธานที่ภูทอก<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]วัตถุมงคลที่นำมาสร้างพระ[/FONT]<o></o>
    1.[FONT=&quot]ดิน[/FONT][FONT=&quot]จากสังเวชนียสถานทั้ง [/FONT]4[FONT=&quot] แห่งของอินเดีย คือ ประสูติ ตรัสรู้ ปฐมเทศนา และปริ นิพพาน ดิน ณ ที่ทรงแสดงยมกปาฏิหาริย์ ดินเชตวันมหาวิหาร ดินที่สถูปพระสารีบุตร พระโมคคัลลาน์ พระอานนท์ พระมหากัสสปะ พระอนุรุทธะ พระราหุล พระกัจจายนะ พระองคุลีมาล ดินในถ้ำสุกรชาตาเขาคิชกูฎ ดินคันธกุฎีที่ประทับพระพุทธองค์บนยอดเขาคิชกูฎ[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot] มีเรื่องอัศจรรย์เกี่ยวกับดินที่พระคันธกุฎีนี้ กล่าวคือ ครั้งหนึ่งคุณสุรีพันธุ์เป็นหัวหน้าทีมนำคณะพระกรรมฐานอันประกอบด้วย หลวงปู่หลุย จันทสาโร หลวงปุ่ชอบ ฐานสโม หลวงปู่เหรียญ วรลาโภ หลวงปู่บัวพา ปัญญาภาโส ท่านพระอาจารย์วัน อุตตโม พระอาจารย์จวน กุลเชฏโฐ พระอาจารย์สิงห์ทอง ธัมมวโร และคณะศิษย์ไปกราบนมัสการสังเวชนียสถาน [/FONT]4[FONT=&quot] แห่ง ในอินเดีย[/FONT]<o></o>>
    [FONT=&quot] ขณะที่เดินขึ้นเขาคิชกูฏนั้น ครั้นใกล้ถึงพระคันธกุฎี ท่านพระอาจารย์วันกับท่านพระอาจารย์จวนก็ออกวิ่งเหยาะๆ นำไป คุณสุรีพันธุ์ประหลาดใจนักเพราะปกติพระจะไม่วิ่ง ยิ่งเป็นท่านอาจารย์ทั้งสองแล้ว นับแต่เป็นศิษย์อาจารย์กันมา ท่านเรียบร้อยที่สุด [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot] ลงถ้าท่านวิ่ง ถึงจะช้า แต่เหตุต้องไม่ใช่เรื่อง [/FONT][FONT=&quot]ธรรมดา [/FONT][FONT=&quot]คุณสุรีพันธุ์จึงตัดสินใจวิ่งตาม เมื่อถึงคันธกุฎีก็ทันเห็นปรากฏการณ์มหัศจรรย์พันลึก ด้วยตินใกล้ๆ กับที่ท่านอาจารย์ทั้งสองยืนอยู่ เกิดการเต้นกระโดดน้อยๆ ชวนขนลุกขนพอง[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot] ขณะที่ตะลึงพรึงเพริดอยู่นั่นเอง ท่านอาจารย์ทั้งสองก็ก้มลงเก็บดินเหล่านั้นขึ้นมาจำนวนหนึ่ง และเก็บอยู่กับท่านเป็นแรมปีจวบจนมีการสร้างพระธรรมจักร นอาจารย์ทั้งสองจึงได้มอบดินมหัศจรรย์นั้นมาให้ผสมเนื้อ[/FONT]<o></o>
    2. [FONT=&quot]ใบไม้มงคล[/FONT][FONT=&quot] ใบโพธิ์ ณ ที่ประสูติ ลุมพินีวัน ใบโพธิ์ ณ ที่ตรัสรู้ พุทธคยา ใบสาละ ณ ที่ปรินิพพาน กุสินารา ใบโพธิ์ที่หลังคันธกุฎี และใบโพธิ์พระอานนท์ ณ เชตวันมหาวิหาร[/FONT]
    [/FONT][/FONT]

    </td></tr></tbody></table>

     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กรกฎาคม 2009
  8. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097
    <table border="0" width="800"><tbody><tr><td colspan="6">
    </td> </tr> <tr> <td colspan="6">
    [​IMG]
    </td> </tr> <tr bgcolor="#99cc00"> <td colspan="6">
    ก้านด้านในมีรูปร่างเหมือนพญานาค​
    </td> </tr> <tr> <td width="150">
    </td> <td width="150">
    </td> <td width="150">
    [​IMG]
    </td> <td width="150">
    [​IMG]
    </td> <td width="150">
    </td> <td width="0">
    </td> </tr> <tr> <td>
    </td> <td>
    </td> <td bgcolor="#ccff33">
    พระเทพโพธิวิเทศ​
    </td> <td bgcolor="#ccff33">
    กำลังอธิบายเรื่องดอกบัว​
    </td> <td>
    </td> <td>
    </td> </tr> <tr> <td>
    [​IMG]
    </td> <td>
    [​IMG]
    </td> <td>
    [​IMG]
    </td> <td>
    [​IMG]
    </td> <td>
    [​IMG]
    </td> <td>
    [​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td>
    อาจารย์นันทวัน พุกกเวศ​
    </td> <td>เป็นผู้ปลูก เมื่อ ๒๘ มิ.ย. ๒๕๔๙ </td> <td>
    สีมีความสวยงามมาก​
    </td> <td>
    มองให้ชัดๆ ว่า ดอกบัว ​
    </td> <td>
    ๑ ก้านนั้น มี ๓ ดอกอย่างไร​
    </td> <td>
    </td> </tr> <tr> <td>
    </td> <td>
    [​IMG]
    </td> <td>
    [​IMG]
    </td> <td>
    [​IMG]
    </td> <td>
    [​IMG]
    </td> <td>
    </td> </tr> <tr bgcolor="#66cc33"> <td colspan="6">
    มองให้ชัดๆ ว่า ดอกบัว ๑ ก้านนั้น มี ๓ ดอกอย่างไร​
    </td> </tr> <tr> <td colspan="6">
    [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td>
    </td> <td>
    </td> <td>
    </td> <td>
    </td> <td>
    </td> <td>
    </td> </tr> <tr> <td colspan="6"> เมื่อ เวลาเช้าของวันอาทิตย์ที่ ๓ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๙ ได้เกิดมหัศจรรย์อันเป็นประวัติศาสตร์ของโลกในยุคนี้ขึ้น คือ ดอกบัวหนึ่งก้าน แตกดอกออกเป็น ๓ ดอก มีใบ ๙ ใบ (ก้านแรกมี ๑ ดอก ก้านที่ ๒ มี ๓ ดอก และก้านที่ ๓ กำลังตูมๆ ซึ่งกำลังโผล่จากน้ำ ยังไม่ทราบว่าจะมีกี่ดอก/ ๕ กันยายน ๒๕๔๙) ในกระถางปลูกดอกบัว อยู่บริเวณด้านหน้าห้อง (กุฏิอาคาร ๑ ห้อง ๑๐๑) ของพระเดชพระคุณหลวงพ่อพระเทพโพธิวิเทศ (ทองยอด ภูริปาโล, ป.ธ.๙, Ph.D.) เจ้าอาวาสวัดไทยพุทธคยา-อินเดีย (รูปที่ ๓) หัวหน้าพระธรรมทูตสายต่างประเทศ ประเทศอินเดีย เป็นที่น่าอัศจรรย์ใจยิ่งนัก...!!!

    พระเดชพระคุณหลวงพ่อฯ เล่าว่า ตั้งแต่มาอยู่ประเทศอินเดีย ๔๖ ปี ทำหน้าที่เป็นผู้นำชาวพุทธบริษัทจาริกแสวงบุญ (ไกด์) กราบไหว้สักการะสังเวชนียสถาน ทั้ง ๔ ตำบล ณ ประเทศอินเดีย เป็นเวลากว่า ๔๐ ปี มีแต่เล่าเรื่องจากตำรา (พระไตรปิฎก) ว่า ภายใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ตรัสรู้ นั้น เมื่อครั้น อาภัสสรพรหม ลงมายังพื้นโลก และได้ชิมลิ้มรสง้วนดินภายใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ตรัสรู้ ได้เห็นดอกบัว ๑ ก้าน มี ๕ ดอก ซึ่งเป็นนิมิตรหมายว่า ในภัทรกัปป์นี้จะมีพระพุทธเจ้ามาอุบัติในโลกนี้ ๕ พระองค์ คือ (๑) พระกกุสันโธ (๒) พระโกนาคมโน (๓) พระกัสสโป (๔) พระโคตโม และ (๕) พระศรีอริยเมตตรัยโย

    มีแต่เล่าเรื่อง ดอกบัว ๑ ก้าน มี ๕ ดอก ให้ผู้จาริกแสวงบุญฟัง... แต่ก็ไม่เคยเห็นดอกบัวจริงๆ เลย บัดนี้...หมดคำถามและข้อสงสัยแล้วว่า...ไม่น่าเป็นไปได้ดังคำถามของผู้จาริก แสวงบุญบางท่านถาม ซึ่งหลวงพ่อฯ ก็ตอบได้แต่เพียงว่า...ตำรา...กล่าวไว้อย่างนี้

    วันนี้หลวงพ่อฯ และคณะสงฆ์วัดไทยพุทธคยา วัดไทยในเขตโพธิคยา พร้อมด้วยพุทธบริษัทผู้มาปฏิบัติธรรม ระหว่างพรรษา ๒๕๔๙ ได้เห็นดอกบัวของจริงแล้วว่าเป็นอย่างไร? ท่านใด...มีความสงสัย หรือ สนใจอย่างไร สามารถเดินทางไปดูได้ที่วัดไทยพุทธคยา-อินเดีย หรือจะพิจารณาดูภาพที่โพสท์ขึ้นบนเว็บไซด้นี้ เพื่อเป็นบุญตาที่เห็นและจิตที่เป็นมหากุศลก็ได้ (ภาพทั้งหลายเหล่านี้ไม่สงวนลิขสิทธิ์ ท่านสามารถดาวน์โหลดและนำไปอัดขยายบูชาได้ ... แต่ห้ามนำไปทำเป็นธุรกิจค้าขาย)
    </td> </tr> <tr> <td>
    </td> <td>
    </td> <td>
    </td> <td>
    </td> <td colspan="2">
    ภาพโดย...พระครูธรรมธร ดร.แอ๊ว สุธมฺมปาโล ​
    </td> </tr> <tr> <td>
    </td> <td>
    </td> <td>
    </td> <td>
    </td> <td>
    </td> <td>
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" width="900"> <tbody><tr> <td bgcolor="#ff6600">

    ประวัติศาสตร์เรื่องดอกบัวมหัศจรรย์
    </td> </tr> <tr> <td bgcolor="#ff6600">
    พระมหาประภาศ โรจนธมฺโม : พิมพ์/ตรวจทาน ​
    </td> </tr> <tr> <td bgcolor="#99cc99">
    (๑) แต่นี้ไปจักกล่าวด้วยเรื่องตั้งภัททกัลป์ เป็นกาลอันบังเกิดแห่งพระพุทธเจ้า ๕ พระองค์ มีพระกกุสนธ์เป็นต้น และมีพระศรีอริยเมตตไตย์เป็นที่สุด ในพระพุทธเจ้าทั้ง ๕ พระองค์นี้ นักปราชญ์ผู้ประกอบไปด้วยคัมภีรปัญญา จึงกดหมายว่า ตั้งแต่ไฟไหม้กัลป์ก่อนกัลป์นี้ไป ตั้งแต่ชั้นอาภัสสราลงมาภายต่ำว่างเปล่าเป็นอากาศอยู่หาที่สุดมิได้ แล้วก็มีมหาเมฆตั้งขึ้น ฝนก็ตกลงมาเพื่อจักให้บริบูรณ์นี้ไซร้ ตกลงมาทีแรกเป็นเม็ดละเอียดประดุจน้ำค้าง แล้วโตขึ้นๆ เท่าปลายข้าวเท่าเม็ดข้าวสาร และเม็ดถั่วเขียว เท่าลูกพุทราและมะขามป้อม และโตเท่าลูกน้ำเต้าและลูกฟักเขียว ทวีขึ้นไปทุกทีๆ โตถึงครึ่งโยชน์และสองโยชน์ ตลอดถึงพันโยชน์ ตกเต็มทั่วไปในแสนโกฏิจักรวาล ตามเขตที่ไฟไหม้นั้น น้ำก็ท่วมขึ้นไปถึงชั้นอาภัสสราโพ้น ฝนนั้นจึงหาย ส่วนใต้น้ำนั้นลมพัดดันไว้ทางด้านขวาง ครั้นลมหายแล้วน้ำก็เป็นแท่งประดุจดังเอาใบบัวห่อน้ำไว้ ฉะนั้น

    เมื่อลมกระทำให้เป็นก้อนเป็นแท่งแล้วก็แตกลงโดยลำดับกัน ถึงที่พรหมอยู่เมื่อก่อนก็บังเกิดเป็นภูมิขึ้น เพื่อให้เป็นที่เกิดแห่งพรหมทั้งหลายที่เกิดมาภายหลัง เป็นชั้นๆ ลงมาถึงชั้นกามาวจรภูมิ แต่ก่อนนั้นลมมีกำลังยิ่งนัก พัดน้ำให้แขวนอยู่เหมือนดังปิดปากธรรมกรกนั้นแล ผิว่าน้ำภายบนนั้นเกิดเป็นรสหวานแล้วก็แห้งเกิดเป็นแผ่นดินลอยอยู่ภายบนน้ำ ประดุจดังดอกบัวอันลอยอยู่เหนือผิวน้ำ จึงได้เรียกว่าแผ่นดินและแผ่นดินนั้นมีวรรณะและมีรสหอมยิ่งนัก เป็นแผ่นประดุจดังน้ำข้าวต้มอันอยู่ภายบนฉะนั้น ในที่ประดิษฐานแห่งไม้มหาโพธิแต่ก่อนนั้น ครั้นมาถึงกาลสมัยที่ไฟไหม้ล้างกัลป์นี้ ในที่นั้นก็ฉิบหายภายหลังที่สุด เมื่อจะตั้งกัลป์ก็ตั้งขึ้น ณ ที่นั้นก่อนไซร้

    ในที่นี่จักกล่าวด้วยนิมิตอันพระพุทธเจ้าทั้งหลาย จักมาบังเกิดและบ่มิได้มาบังเกิดในกัลป์ทั้งหลาย ให้พึงรู้ดังนี้ว่า ยังมีกอบัวกอหนึ่งบังเกิดขึ้นในที่โพธิบัลลังก์ แห่งพระพุทธเจ้าทั้งหลายมีเที่ยงแท้ ผิว่าพระพุทธเจ้าบ่มิได้มาบังเกิดในกัลป์ในกัลป์นั้น กอบัวกอนั้นก็หาดอกบ่มิได้ ผิว่าพระพุทธเจ้าจักมาบังเกิดในกัลป์นั้น พระองค์หนึ่งหรือสอง สาม สี่ ห้า พระองค์ก็ดี บัวกอนั้น ก็มีดอกๆ หนึ่งหรือสอง สาม สี่ ห้า ดอกตามพระพุทธเจ้า ที่จะลงมาบังเกิดน้อยและมาก อันนี้เป็นธรรมดา และในกัลป์หนึ่งจะมากกว่า ๕ พระองค์ไป ก็ยังไม่ปรากฏ ดอกบัวนั้นแม้ว่าจะมีดอกหนึ่ง หรือสอง สาม สี่ ห้า ดอกก็ตาม ย่อมมีก้านๆ เดียวเท่านั้น จะมีหลายก้านอย่างดอกบัวธรรมดานี้หามิได้แล เหตุว่าพรหมทั้งหลายที่อยู่ในชั้นสุทธาวาสโน้น เขาเจรจากันว่า ดูราชาวเราทั้งหลาย ในกัลป์นี้จะมีพระพุทธเจ้ามาบังเกิดกี่พระองค์ หรือว่าไม่มีมาบังเกิด แม้แต่พระองค์เดียวประการใด มาเราทั้งหลายจงพากันลงไปดูนิมิตแห่งดอกปทุมนั้นก่อน ว่าแล้วก็พากันลงมาสู่ที่อันพระพุทธเจ้าทั้งหลายจักได้มาตรัสรู้พระสัพพัญ ญุตญาณ ถ้าในกัลป์ใดไม่มีพระพุทธเจ้าลงมาบังเกิด ก็เห็นแต่กอบัวเปล่ามิได้เห็นดอกบัว เมื่อเป็นเช่นนั้นพรหมทั้งหลายก็บังเกิดความน้อยเนื้อต่ำใจยิ่งนัก จึงเจรจากันว่า ดูราชาวเราทั้งหลาย มนุษยโลกทั้งหลายอันมาเกิดในกัลป์นี้ จักมืดมัวหลงจากการทำบุญให้ทาน อันเป็นคลองแหงพระนิพพาน ครั้นว่าจุติจากชาติอันเป็นมนุษย์นี้แล้ว ก็จักไปจมอยู่ในจตุราบาย ส่วนพรหมโลกนั้นเล่า ก็จักเปล่าเสียจากพรหมทั้งหลาย

    เมื่อพรหมทั้งหลายมีความน้อยเนื้อต่ำใจฉะนี้ แล้วก็ชวนกันไปสู่ที่อยู่แห่งตนๆ ถ้าในกัลป์ใดเขาเห็นบัวกอนั้นมีดอกหนึ่ง หรือสองดอก พรหมทั้งหลายก็บังเกิดความโสมนัสยิ่งนัก จึงกล่าวด้วยความยินดีซึ่งกันและกันว่า ดูราชาวเราทั้งหลาย ในกัลป์นี้มีพระพุทธเจ้ามาบังเกิดชาวเราทั้งหลายจักได้เห็นพระปาฏิหาริย์ของ พระพุทธเจ้า ในขณะเมื่อพระองค์มาถือเอาปฏิสนธิ ๑ เมื่อประสูติ ๑ เมื่อออกบวช ๑ เมื่อตรัสรู้พระสัพพัญญุตญาณ ๑ เมื่อเทศนาธรรมจักร ๑ เมื่อทรงกระทำยมกปาฏิหาริย์ ๑ เมื่อเสด็จลงจากดาวดึงส์ ๑ ปลงสังขารเมื่อจะสิ้นพระชนมายุ ๑ และในขณะเมื่อปรินิพพาน ๑ อบายทั้ง ๔ จักเปล่าเสีย ฉกามาพจรและพรหมโลกก็จักเต็มไปด้วยหมู่เทวดาทั้งหลายเป็นเที่ยงแท้ พรหมทั้งหลายมีความยินดีด้วยประการฉะนี้ แล้วก็ชวนกันไปสู่ที่อยู่แห่งตนๆ ทุกๆ กัลป์ที่บังเกิดขึ้นใหม่พรหมทั้งหลายย่อมลงมาดูนิมิตอันจักลงมาบังเกิดและ ไม่ลงมาบังเกิดแห่งพระพุทธเจ้าทั้งหลาย อันนี้หากเป็นธรรมดา ครั้นมาในภัททกัลป์แห่งเรานี้ พรหมทั้งหลายก็ลงมาดูเห็นดอกบัวมีอยู่ในก้านเดียวกันถึง ๕ ดอก ก็รู้ได้ว่าพระพุทธเจ้าจะลงมาบังเกิดถึง ๕ พระองค์แท้ไซร้ พรหมทั้งหลายที่อยู่ในชั้นอาภัสสราแต่ก่อนนั้น ครั้นจุติด้วยสามารถสิ้นบุญ ก็ได้ลงมาถือเอาปฏิสนธิเป็นอุปปาติก มีร่างกายอันสูงใหญ่ได้ ๑๐๐ โยชน์ และมีรัศมีรุ่งเรืองเช่นเดียวกับเมื่ออยู่ในชั้นอาภัสสรานั้น เมื่อมาได้ลิ้มรสแห่งดินแล้ว แสงสว่างแห่งรัศมีและฌานที่มีอยู่นั้นก็เสื่อมหายไปทั้งสิ้น ภัยแห่งความมืดก็บังเกิดมีขึ้นเป็นที่น่ากลัวยิ่งนัก ครั้งนั้นพระอาทิตย์มีปริมณฑลอันกว้างใหญ่ถึง ๕๐ โยชน์ก็บังเกิดขึ้น กำจัดอากาศอันน่ากลัวไปเสียให้พ้นแล้ว ก็บังเกิดอากาศอันกล้าหาญปรากฏออกมา เมื่อพรหมทั้งหลายเห็นปริมณฑลแห่งพระอาทิตย์ปรากฏออกมาดังนั้นก็มีความยินดี ยิ่งนัก จึงกล่าวว่าเราทั้งหลายได้เห็นรัศมีอันแจ้งคราวนี้ ท่านผู้นี้มากำจขัดภัยอันน่ากลัวไปเสียแล้ว ให้บังเกิดความกล้าหาญแก่เราฉะนี้ เหตุนี้ท่านผู้นี้จงมีชื่อว่าสุริโยนั้นเถิด พรหมทั้งหลายจึงให้ชื่อพระอาทิตย์ว่าสุริยะนั้นแล

    ครั้นพระรัศมีแห่งพระสุริยอาทิตย์ลับลงไปในทางทิศตะวันตกดังนั้น พรหมทั้งหลายก็บังเกิดความกลัวขึ้น จึงกล่าวแก่กันว่า รัศมีอันเราได้เห็นนี้หายไปเสียจากเราแล้ว ถ้าหากว่ามีรัศมีอันอื่นบังเกิดแก่เราไซร้ เราทั้งหลายจักมีความยินดียิ่งนัก ในขณะเมื่อพรหมเจรจากันอยู่นั้น พระจันทร์มีปริมณฑลอันกว้างใหญ่ถึง ๔๙ โยชน์ ก็ปรากฏออกมา พรหมทั้งหลายเมื่อได้เห็นปริมณฑลแห่งพระจันทร์ก็มีความยินดียิ่งนัก จึงกล่าวว่าท่านผู้นี้จงมีชื่อว่าจันทร์นั้นเถิด โวหารคำว่าจันทร์นั้นจึงเรียกกันต่อมาเท่ากาลบัดนี้แล

    ในกาลเมื่อพระอาทิตย์และพระจันทร์บังเกิดมาครั้งนั้น หมู่ดาวทั้งหลายก็บังเกิดมาพร้อมกับด้วยพระจันทร์ ส่วนกลางวันและกลางคืนและฤดูทั้ง ๓ ก็บังเกิดแต่กาลนั้นนั้นมา เขาสิเนรุและเขาสัตตภัณฑ์ จักรวาล น้ำในมหาสมุทร ทวีปใหญ่ทั้ง ๔ และทวีปน้อย ๒,๐๐๐ ทวีป ป่าหิมพานต์ สิ่งทั้งหลายเหล่านี้ก็บังเกิดขึ้นพร้อมกัน ไม่มีก่อนมีหลังในวันเดือน ๖ เพ็ญนั้นแล
    แผ่นดินนี้มีสัณฐานประดุจข้าวต้มอันข้น เดือดอยู่ในเวลาที่ยกลงมาไว้ให้เย็นนั้น บางแห่งก็สูงกว่าเพื่อน บางแห่งก็ต่ำๆ สูงๆ บางแห่งก็เป็นบ่อลึกลงไป อันนี้มีฉันใด พื้นแห่งแผ่นดินก็มีสัณฐานฉันนั้น ที่สูงกว่าเพื่อนเปรียบเหมือนเขาพระสุเมรุ ที่ต่ำๆ สูงๆ นั้นเปรียบเหมือนภูเขาน้อยใหญ่ทั้งหลาย ที่ลึกเป็นร่องลงไปนั้นเปรียบเหมือนน้ำมหาสมุทร ที่ราบเสมอนั้นเปรียบเหมือนพื้นแผ่นดินธรรมดาฉะนี้แล

    ฝ่ายพรหมทั้งหลายที่ได้บริโภครสแห่งแผ่นดินนั้น ก็บังเกิดราคะตัณหาเสื่อมเสื่อมจากฌานและรัศมีแสงสว่างอันนั้น ก็ได้ชื่อว่าคน คำที่ว่าพรหมๆ นั้น ก็หายไปจากเขาเหล่านั้นตั้งแต่กาลนั้นมาแล
    คนทั้งหลายที่ได้กินรสแห่งแผ่นดินนั้น บ้างก็มีวรรณผุดผ่องสวยงาม บ้างก็มีวรรณอันไม่สวยงามเป็นธรรมดา หมู่ที่มีวรรณอันสวยงามนั้น ก็ดูหมิ่นดูแคลนหมู่ที่มีวรรณอันไม่สวยไม่งามนั้น ด้วยเหตุอันดูหมิ่นดูแคลนกันนั้นแล ทำให้รสแห่งแผ่นดินนั้นกลับหายไปเสียจากเขาเหล่านั้น รสแห่งแผ่นดินที่เหลืออยู่นั้นเสมอแต่เพียงเป็นเกล็ดๆติดอยู่กับแผ่นดินเท่า นั้น คนทั้งหลายเหล่านั้นก็บริโภคเกล็ดแห่งแผ่นดินเท่านั้น

    ตั้งแต่นั้นมา ผู้ที่มีวรรณผุดผ่องสวยงามก็กลายเป็นคนไม่ดีไม่งาม ผู้ที่มีวรรณอันไม่ดีไม่งามอยู่แล้วก็ซ้ำร้ายหนักยิ่งเข้า คนทั้งหลายเหล่านั้นเขาก็ยิ่งดูหมิ่นดูแคลนกันทวียิ่งขึ้นไป จนเป็นเหตุให้เกล็ดแห่งแผ่นดินนั้นกลับหายไปเสียจากเขาเหล่านั้นเป็นครั้ง ที่ ๒ ต่อจากนั้นมา ยังมีเครือเขาอันหนึ่งชื่อว่าพทาวลตา เครือเขาอันนั้นเป็นปล้องๆ เหมือนดังเถาผักบุ้งก็บังเกิดขึ้นมาอีกเล่า คนทั้งหลายก็บริโภคเครือเขาอันนั้นเป็นอาหารต่อมาจนสิ้นกาลนาน คนทั้งหลายเหล่านั้นก็ยิ่งขี้ริ้วขี้เหร่ไปกว่าแต่ก่อนเป็นอันมาก มันก็ยิ่งซ้ำดูหมิ่นดูแคลนกันยิ่งไปกว่าแต่ก่อนเป็นหลายเท่า ทำให้เครือเขาอันนั้นกลับหายไปเสียอีกเป็นครั้งที่ ๓ ต่อจากนั้นมาข้าวสาลีอันบริสุทธิ์ยิ่งนัก มีเม็ดอันบ่มิได้หักและหาเปลือกมิได้ เป็นข้าวสารสวยงามบริสุทธิ์ยิ่งนัก มิได้ต้มมิได้หุงด้วยหลัวและฟืนแม้แต่อย่างใด บังเกิดขึ้นสำหรับเป็นอาหารของมนุษย์

    เมื่อเขาเอาข้าวใส่ในภาชนะแล้วยกขึ้นตั้งเหนือก้อนเส้าแล้วเปลวไฟหาก บังเกิดขึ้นเอง ทำให้ข้าวในภาชนะนั้นสุกเป็นอันดียิ่งทีเดียว ข้าวอันนั้นก็สวยบริสุทธิ์งามยิ่งนัก ประดุจดังดอกทายหานกำลังตูมฉะนั้น แม้กิจอันจักควรหาเป็นต้นว่าแกงน้ำพริกและกับสิ่งอื่นๆ นั้น เป็นอันไม่มีเหมือนคนเราทุกวันนี้ ผู้ใดจักใคร่กินรสอันใด ก็หากสำเร็จตามความปรารถนาของผู้นั้นๆ แล เหตุจะบังเกิดมีอาจมขึ้นในสรีระแห่งคนทั้งหลายนี้ ก็เนื่องจากเหตุที่ได้บริโภคอาหารอันหยาบแต่นั้นมา จนเท่าถึงกาลทุกวันนี้
    คนทั้งหลายในสมัยปฐมกัลป์โพ้น เขาบริโภคแต่รสแห่งแผ่นดินและเกล็ดแผ่นดิน กับเครือเขาพทาวลตา ทั้ง ๓ สิ่งนี้เหมือนอาหารของเทวดาทีเดียวและวัตถุของอาหารนั้นสุขุมและละเอียดยิ่ง นัก มิได้มีเป็นอาจมเลยแม้แต่อย่างเดียว ต่อมาบริโภคข้าวสาลีนี้รสก็เจริญวัตถุก็หยาบ จึงบังเกิดเป็นอาจมไปหนักไปเบา เมื่ออาจมจักออกมาคราวแรกนั้น จึงแตกแยกเป็นทวารออกมาทีเดียว และพรหมทั้งหลายเมื่อเขาอยู่ในพรหมโลกนั้น มีรูปร่างสัณฐานเป็นผู้ชายทุกคน

    เมื่อพรหมทั้งหลายลงมาถือเอาอุปปาติกะในมนุษยภูมิ ตลอดมาถึงสมัยบริโภคข้าวสาลีนี้ ก็ยังมีลักษณะและสัณฐานเป็นผู้ชายอยู่ทุกคน แต่ก่อนกิจอันจักไปหนักไปเบานั้นก็ไม่มี ทวารก็ไม่มี มีแต่ปุริสลักษณะสัณฐานอย่างเดียว ต่อได้บริโภคข้าวสาลีนี้ กิจอันไปหนักไปเบาและทวารจึงเกิดมีขึ้น เมื่อจะบังเกิดมีทวารนี้ก็อาศัยเหตุแต่ชาติก่อนเป็นเดิมมา ถ้าผู้ใดเคยเป็นชายมาแต่ชาตินั้น องค์แห่งชายจึงบังเกิดมีแก่ผู้นั้น ถ้าผู้ใดเคยเป็นผู้หญิงมาแต่ชาติก่อนแล้ว องค์แห่งหญิงจึงบังเกิดแก่ผู้นั้น
    ตลอดมาตราบเท่ากาลบัดนี้แล ฯ


    ดอกบัวมหัศจรรย์ที่วัดไทยพุทธคยา-อินเ&#36
    </td></tr></tbody></table>
     
  9. รักษ์พระ

    รักษ์พระ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 มกราคม 2007
    โพสต์:
    440
    ค่าพลัง:
    +3,128
    คุณพันวฤทธิ์ลองติดต่อที่บ้านเรือนไทยสำหรับพระธรรมจักรดูนะครับ เมื่อสองสามเดือนก่อนเห็นมีเหลืออยู่เล็กน้อยมากๆ ทำบุญองค์ละ 500 -1,000บาท (จำไม่ได้แน่นอน) ตอนนี้ไม่รู้หมดแล้วยัง สอบถามกับคุณลุงคำปันผู้ดูแลบ้านเรือนไทย โทร.02 514 1797 ขออนุโมทนากับบทความธรรมะดีๆที่นำมาลงเสมอมาครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กรกฎาคม 2009
  10. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097
    ขออนุโมทนาในสิ่งที่น้องได้ทำไว้ดีแล้ว และขอสาธุในบุญและกุศลที่เกิดขึ้นอีกครั้งด้วยเช่นกัน...


    [​IMG]




     
  11. jirautes

    jirautes เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    195
    ค่าพลัง:
    +575
    สวัสดีครับทุกๆท่านวันนี้ครอบครัวผมได้ส่งค่าเงินทำบุญสงฆ์อาพาธประจำเดือนกรกฏาคม
    พ.ศ.2552 จำนวน 500 บาทวันที่ 19/07/09 เวลา 10.09 น.
     
  12. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097
    วันก่อนได้ไปกราบพระอยู่รูปหนึ่งเพราะน้องขยั้นขยออยู่นานแล้วว่าให้ไปเหอะพี่ เดิมท่านเป็นนักเลงหัวไม้ เกเรมาก ครั้นได้บวชที่วัดหนองป่าพง ได้ทันให้หลวงพ่อชาขัดเกลากิเลส หลบมุมอยู่ในป่ามาก็นาน อายุพรรษาในขณะนี้ก็ได้ 28 พรรษาแล้ว ตอนไปหาท่านๆ นั่งดูทีวีอยู่ที่ศาลาด้านล่าง ท่านถามเรามาหาใคร เราบอกว่าน้องให้มาหาท่านเจ้าอาวาส ท่านบอกอ้อ..แล้วท่านก็ทำโน่นทำนี่ไม่สนใจเรา สักประเดี๋ยว น้อง (ลูกน้อง) เราตามมาพอเจอท่านลูกน้องเราก้มกราบท่าน นึกในใจเสร็จเลยเราคราวนี้ เลยกราบขอโทษท่าน พอสบโอกาสได้ขึ้่นไปสนทนาต่อที่ศาลากับท่านแบบตัวต่อตัว ความโง่ครั้งที่สองก็เกิดขึ้น เราถามท่านว่า หลวงพ่อครับหลวงพ่อภาวนาอะไรกำกับครับ ท่านบอก อาตมาลืมไปแล้วล่ะ เพราะอยากรู้อะไรก็รู้มานานแล้วไม่ต้องภาวนาอะไรมันก็รู้ เลยต้องก้มกราบขอขมาท่านในความบัดซบของตนเองในครั้งที่สอง เพราะไม่อยากไปนั่งกราบใช้ท่านและผู้มีบุญอื่นๆ นับชาติไม่ถ้วนในข้อหาปรมาสท่านผู้ทรงศีลและทรงอภิญญา สนทนากับท่านเพียงยี่สิบนาทีก็อยากจะกลับแล้ว เพราะข้อธรรมท่านเหมือนที่พี่ใหญ่สอนไว้ไม่ผิดฟังไปกำหนดตามไป ท่านมองหน้า "รู้แล้วใช่มั๊ย" เราตอบครับท่าน ผมทราบแล้ว สุดท้ายท่านบอก โยมไม่ต้องรู้ว่าภาวนาได้ชั้นไหนหรอก เพราะลมหายใจมันเป็นของกลางๆ เป็นความสุข คิดถึงลมหายใจมากๆ เอาสติไปแตะที่ลมหายใจมากๆ ทุกๆ นาที ทุกๆ วัน โยมก็เป็นปีติ เป็นสุขใจ นั่นแหละฌาณสองหรือสาม ทรงให้มากเข้าหัดละมันให้ได้อย่าไปยึดกับมัน จิตก็จะพัฒนาเป็นอุเบกขา นั่นแหละฌาณสี่ จิตมันพัฒนาของมันเอง ไม่ต้องไปเร่ง ไปอยาก เพราะจะเสียเวลาเปล่า ลองไปทำดู เมื่อได้แล้ว ก็ไม่ต้องมาถามอาตมาอีก เพราะโยมรู้แก่ใจดีแล้วว่าโยมถึงไหน... ท่านบอกท่านปิดขังตัวเอง ไม่สอนใคร คนมาวัดมากเรื่องมาก ไม่เป็นสุข ใครถามอยากรู้ก็ตอบให้เท่าที่จะรู้ได้ พูดมากไปก็ไม่เข้าใจกัน ถามกันไปยังงั้น บางคนถามตามที่อ่านมาจากตำรา ถามไปไม่ได้ปฏิบัติ แล้วจะมาถามกันทำไมให้เสียเวลา สู้ทำมาแล้วติดปัญหา แล้วมาคุยกัน พอสอนกันได้ก็จะสอนให้ แค่ห้านาทีสิบนาทีก็จบ ไม่ต้องมาคุยต่อ สุดท้ายท่านบอกเคยเรียนวิชากับหลวงพ่อฤาษีลิงดำมา เรื่องกสิณต่างๆ ท่านบอกท่านผ่านมาเยอะ ของขลังของท่านจึงชอบทำเป็นรูปหนุมานไม่ว่าจะเป็นผ้ายันต์ รูปหล่อหนุมาน หัวหนุมานฯลฯ ก่อนกลับท่านให้ลูกศิษย์หยิบมาให้ 1 ตัว ทั้งๆ ที่ในวัดให้เช่าตัวละ 999 บาท แอบกำหนดดู ไม่เบาเหมือนกันแฮะ จี๊ดจ๊าดมือชาดีแบบค่อยๆ มา พอมาแล้วก็ขึ้นมือทีเดียว เลยขอโอกาสถามเรื่องการอธิษฐานของท่าน ๆ บอกชั้นก็เอาแคล้วคลาดนำ ตามด้วยเดช แล้วก็อธิษฐานแบบกว้างๆ ให้แผ่ขยายออกไป (เมตตา) วัดท่านอยู่ที่ระยองครับ อยากรู้ก็ pm มา ไปกราบได้ไม่มีใครกัน ช่วยท่านสร้างถาวรวัตถุในวัดด้วย วันนี้ก่อนจบจึงต้องนำบทความหนึ่งซึ่งคล้ายกับที่ท่านสอนไว้เรื่องการสะสมกิเลสโดยให้ละความยึดมั่นถือมั่นในสิ่งภายนอกต่างๆ มาให้อ่านกัน

    เท่านี้ก็พอ....


    ยิ่งสะสม ยิ่งมีกิเลสมาก ทุกข์ที่ตามมาก็จะมากตามลำดับ
    พอกลับ มาจากการปฏิบัติที่วัดทำให้รู้ตัวมากขึ้นว่า สะสมอะไรหลายๆ อย่างมากเกินไป ทั้งเสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่ม อาหาร สิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ แก้วแหวนเงินทอง เครื่องรางของขลัง หรือพระเครื่อง ทั้งๆ ที่ไม่ค่อยได้ใช้สักเท่าไหร่ จนบางครั้งก็ต้องทิ้งหรือวางไว้เฉยการไปอยู่วัดทำให้เห็นคุณค่าของที่อยู่อาศัย อาหาร เสื้อผ้า และยารักษาโรคที่เป็นปัจจัย ๔ ของมนุษย์ แต่ไม่ใช่การเห็นคุณค่าแบบอยากสะสมของเหล่านี้ เป็นการเห็นคุณค่าว่ามีเพียงเท่าที่ต้องการใช้ก็พอแล้ว ไม่มีการสะสม ไม่ต้องสะดวกสะบายยิ่งขึ้นไป แค่เพียงพอต่อการดำรงชีวิตเท่านั้น


    [​IMG]


    การไม่สะสมเป็นการขจัดกิเลสที่ซ่อนอยู่ในตัวเป็นอย่างดี บางครั้งเวลาไปซื้อของ เรามักจะคิดว่า ซื้อเผื่อสักหน่อยน่า หรือตอนนี้ลดราคา ซื้อไปก่อนดีกว่า ฯลฯ ทำไปทำมาทั้งชีวิต ก็จะเกิด surplus ที่เป็นขยะในบ้านเป็นจำนวนมาก เปลืองทั้งที่เก็บ ทั้งสกปรก รกรุงรังอีกด้วย


    การไม่สะสมยังเป็นการสร้างความอดทน ให้รู้จักกับความไม่สบายกายที่เกิดขึ้นตามความเป็นจริง ตามสภาพสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ ไม่ใช่สภาพความเป็นอยู่ที่ปรุงแต่งปรับขึ้นมาแล้ว นับเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับชีวิตเป็นอย่างดี
    ในอีกนัยหนึ่งสิ่งที่เราสะสมรกรุงรัง ก็เหมือนกับกิเลสที่ยังค้างรกรุงรังใจเราอยู่ด้วยนั่นเอง

    ยิ่งสะสม ยิ่งมีกิเลสมาก ทุกข์ที่ตามมาก็จะมากตามลำดับ

    เกิดทุกข์ตามมา ทั้งอาจจะเสียดายที่ของเสื่อม อาจจะเสียดายที่ของหาย หรือเป็นความทุกข์ที่ต้องคอยดูแลรักษาของเหล่านั้น จิตแทนที่จะสงบได้ กลับกลายเป็นมีแต่ความกังวลในเรื่องของการสะสมไป


    การรู้จักประมาณ รู้จักความพอเพียง รู้ว่าอะไรคือสิ่งจำเป็นในการดำรงชีวิต เป็นการช่วยเหลือตัวเอง ลดกิเลส สร้างภูิมิคุ้มกัน แล้วยังเป็นการช่วยสังคม ไม่สร้างขยะโดยไม่จำเป็น ไม่รบกวนสิ่งแวดล้อม รักษ์สิ่งแวดล้อม ที่สำคัญเป็นการรักษาภูมิจิตภูมิธรรมให้เขยิบขึ้นสูงไปในตัวด้วย



     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 19 กรกฎาคม 2009
  13. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097

    ขออนุโมทนาและสาธุบุญกับน้อง jirautes ด้วยครับ บุญกุศลอันใดที่น้องอธิษฐานไว้เมื่อได้บริจาคทานในครั้งนี้ พี่ขออาราธนาพระเมตตาบารมี แห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่ดูแลทุนนิธิฯ อยู่นี้ ขอให้คำอธิษฐานของน้องเป็นจริงด้วยครับ พี่ขอโมทนา..

    [​IMG]

    เงินที่น้องบริจาคมา พวกพี่ๆ คณะกรรมการทุนนิธิฯ จะนำไปบริจาคเพื่อรักษาพระภิกษุสงฆ์ที่อาพาธตามโรงพยาบาลทั้ง 7 แห่ง ไม่ให้ตกหล่นแม้แต่สตางค์แดงเดียว พวกพี่ๆ ให้สัญญา







     
  14. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097
    เรื่องของลมที่เป็นของกลาง อยากมีความสุขมั๊ย ฝึกจับลมอย่างท่านพ่อลีดูก็แล้วกัน

    ลม

    <ABBR class=published title=2008-01-29T08:20:27+07:00>

    เคยมีชาวต่างประเทศมาขอฝึกภาวนากับท่าน แต่ก่อนที่จะลงมือฝึก เขาก็ถามท่านพ่อว่า ที่เขานับถือศาสนาคริสต์นั้นจะเป็นอุปสรรคไหม ท่านก็ตอบว่า "ไม่หรอก เราจะดูลม ลมนี้ไม่ใช่ของพุทธ ของคริสต์ หรือของใครทั้งนั้น แต่เป็นของกลางในโลกที่ใครๆ ก็ดูได้ ลองภาวนาดูลมจนเห็นจิต รู้จิตตัวเอง แล้วเรื่องที่จะนับถือศาสนาอะไรจะไม่เป็นปัญหา เพราะเราเอาเรื่องจิตมาพูดกัน ไม่ได้เอาเรื่องศาสนามาว่ากัน อย่างนี้ก็เรียกว่า พูดกันรู้เรื่อง"ฯ




    • "การที่จับใจให้อยู่นั้น ก็เหมือนเราจับปลาไหล จะโดดลงไปในขี้เลน จับเอาเฉยๆ มันก็ดิ้นหนี ต้องหาอะไรที่มันชอบ อย่างที่เขาเอาหมาเน่าใส่ไห แล้วฝังในขี้เลน ปลาไหลมันชอบมันก็มาเอง ใจเราก็เหมือนกัน ต้องหาอะไรที่มันชอบ เช่น ทำลมให้สบายๆจนมันสบายไปทั่วตัว ที่นี้ใจก็ชอบ ความสบายมันก็มาเอง แล้วเราก็จับมันได้ง่ายๆ"ฯ
    • "ต้องรู้ลมอยู่เสมอ มันก็ครองสุขได้ จะเอามนุษย์สมบัติ สวรรค์สมบัติ นิพพานสมบัติ มันก็อยู่ที่ลมนี้แหละ ถ้ามัวแต่สนุกเพลิดเพลินจนลืมลมก็จะหมดสุขได้ ฉะนั้นต้องรู้จักสังเกตลมเข้า-ออก อยู่ตลอดเวลา ต้องสนใจเขาบ้างว่า เขาอยู่อย่างไร อย่าปล่อยให้เขาอยู่คนเดียว เมื่อรู้จักความเป็นอยู่ของเขาแล้วทั้งยืน เดิน นั่ง นอน รู้หมด ว่าเขาอยู่อย่างไร ทีนี้แหละจะเอาอะไรก็ได้ทุกอย่าง กายก็เบา ใจก็เบา จะสุขอยู่ตลอดเวลา"ฯ
    • "ลมสามารถพาไปถึงนิพพานได้นะ"ฯ
    • "เริ่มแรกให้ดูลมที่มีอยู่ ไม่ต้องไปปรุงไปแต่งอะไรมากมาย"ฯ
    • "เวลาจิตอยู่กับลมแล้ว ไม่ต้องว่าพุทโธก็ได้ เหมือนเราเรียกควายของเรา พอควายมาแล้วจะเรียกชื่อมันอีกทำไม"ฯ
    • "ให้ลมกับจิตเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน เอาให้เป็นหนึ่ง อย่าให้มีสอง"ฯ
    • "ให้เกาะลมไว้ เหมือนอย่างมดแดงเวลามันกัด มันก็ไม่ยอมปล่อย"ฯ
    • ศิษย์คนหนึ่ง เมื่อฟังท่านพ่อสอนให้จับลมไว้แล้ว ก็ไม่เข้าใจความหมายของท่าน กลับนั่งภาวนาเกร็งเนื้อเกร็งตัว อยู่เพื่อกักขังลมไว้ แต่ทำให้รู้สึกเหนื่อยไม่สบาย ต่อมาวันหนึ่งในขณะนั่งรถเมล์ไปวัดมกุฏฯ เขาก็สมาธิอยู่ สังเกตได้ว่า ถ้าปล่อยลมตามธรรมชาติ ก็รู้สึกสบายขึ้น ทั้งใจก็ไม่หนีจากลมด้วย พอถึงวัดมกุฏฯ เขาก็บ่นกับท่านพ่อ "ทำไมท่านพ่อสอนให้จับลมไว้ ยิ่งจับก็ยิ่งไม่สบาย ต้องปล่อยตามธรรมชาติจึงจะดี" ท่าพ่อก็หัวเราะ ตอบว่า "ก็ไม่ได้หมายความว่าอย่างนั้น "จับ" หมายความว่า เกาะ ติดตามเขาอยู่ ไม่หนีจากเขา เราไม่ต้องไปบีบบังคับ สะกดเขาไว้ เขาจะเป็นยังไงก็ดูเขาไปเรื่อย"ฯ
    • "การที่เราสังเกตลมนั้นเป็นตัวเหตุ ส่วนความสุขที่เกิดขึ้นเป็นตัวผล ต้องสนใจกับตัวเหตุมากๆ ถ้าเราทิ้งเหตุไปเพลินกับตัวผล เดี๋ยวมันจะหมด แล้วเราจะไม่ได้อะไรเลย"ฯ
    • "เมื่อรู้ลมแล้ว ก็ต้องให้รู้จริงๆ ไม่ใช่สักแต่ว่ารู้เฉยๆ"ฯ
    • "การดูลมต้องเอาความสบายเป็นหลัก ถ้าลมสบาย-ใจสบาย นั่นแหละใช้ได้ ถ้าลมไม่สบาย-ใจไม่สบาย อันนั้นต้องแก้ไข"ฯ
    • "เวลาภาวนาต้องใช้ความสังเกตเป็นข้อใหญ่ ถ้ารู้สึกไม่สบายให้แก้ไขปรับปรุง แก้ไขลมให้สบายขึ้น ถ้ารู้สึกหนักก็นึกแผ่ลมให้มันเบา ให้นึกว่าลมเข้า-ออก ได้ทุกขุมขน"ฯ
    • "ที่ท่านบอกว่าให้กำหนดลมในส่วนต่างๆของร่างกาย หมายความว่า ให้กำหนดความรู้สึกที่มีอยู่ในตัว"ฯ
    • "ลม เราจะเอาเป็นที่พักของใจก็ได้ เป็นที่พิจารณาก็ได้ เวลาจิตไม่ยอมลง ก็แสดงว่ามันอยากทำงาน เราก็หางานให้มันทำ คือให้มันไปพิจารณาลมในส่วนต่างๆของร่างกาย ว่าตรงไหนลมเดินสะดวกดี ตรงไหนลมเดินไม่สะดวก แต่อย่าให้ใจหนีออกจากกายนะ ให้มันวนเวียนอยู่ในนั้น จนมันเหนื่อย พอเหนื่อย แล้วมันจะหาที่พักหยุดกับที่ โดยเราไม่ต้องไปกดไปบังคับมัน"ฯ
    • "ทำลมให้มันเหนียว แล้วนึกให้ระเบิดออกทุกส่วนของร่างกาย"ฯ
    • ศิษย์คนหนึ่งชอบบริหารร่างกาย เล่นโยคะ ออกกำลังเป็นประจำ จนท่านพ่ออาจจะเห็นว่าเกินพอดี ท่านก็แนะนำว่า "จะบริหารร่างกายก็ใช้ลมบริหาร นั่งภาวนาก็แผ่ลมให้ทั่งตัว อวัยวะน้อยใหญ่ทุกอย่าง จิตก็ฝึกไปด้วย ร่างกายก็แข็งแรงไปด้วย ไม่ต้องไปออกท่าออกทางอะไรมากมาย"ฯ
    • แล้วมีศิษย์คนหนึ่งเป็นคนขี้โรค เดี๋ยวเป็นนั่น เดี๋ยวเป็นนี่ เจ็บไข้ได้ป่วยสารพัดอย่าง ท่านพ่อจึงสอนเขาว่า "เช้าขึ้นมาทุกวัน ให้นั่งภาวนาตรวจโรคของตัวเองว่ามันเจ็บตรงไหน มันปวดตรงไหน แล้วก็ใช้ลมรักษา ที่หนักก็จะเบา ที่เบาก็จะหาย แต่จะหายไม่หายไม่ต้องเอาเป็นอารมณ์ เราก็ตรวจของเราให้อยู่กับเนื้อกับตัว ให้มีพลังจนมันอยู่เหนือความเจ็บป่วยไปได้"ฯ
    • "การภาวนาของเราจะต้องมีปีติเป็นเครี่องหล่อเลี้ยง ไม่อย่างนั้นทำไปๆมันจะเหี่ยวแห้งเกินไป"ฯ
    • "คนปฏิบัติพอปฏิบัติได้ก็เปรียบเหมือนว่าวติดลมแล้ว มันไม่อยากจะลง"ฯ
    • "เข้าธาตุถึงลมที่สม่ำเสมอ เมื่อเห็นแสงนวลขาวให้น้อมเข้ามาในตัว จิตก็จะนิ่ง กายก็เบา กายจะขาวสะอาดหมดไปทั้งตัว ใจก็จะเป็นสุข"ฯ
    • "พอลมเต็มอิ่มก็เหมือนน้ำเต็มโอ่ง ถึงจะเทเข้าไปอีกสักเท่าไร มันก็เก็บได้อยู่แค่นั้น มันก็พอดีของมันเอง"ฯ
    • "การภาวนาต้องทิ้งเป็นขั้นๆ เหมือนเขายิงจรวดในอวกาศ พอพ้นจากโลก แล้วกระสวยอวกาศก็ต้องทิ้งยานแม่ จึงจะไปถึงโลกพระจันทร์ได้"ฯ
    • "เวลาจิตอยู่ตัวแล้ว ถึงจะทิ้งลมมันก็ไม่วอกแวกไปไหน เหมือนเราเทปูน ถ้าปูนยังไม่แข็งตัว เรายังทิ้งแบบไม่ได้ แต่เมื่อปูนแข็งตัวดีแล้ว มันก็อยู่ได้โดยไม่ต้องอาศัยแบบ"ฯ
    • "กระจายลมแล้ว จนกายเบา ไม่มีตัว เหลือแต่ตัวรู้ จิตก็จะใสเหมือนน้ำที่ใส เราชะโงกลงไปในน้ำก็เห็นหน้าตัวเอง จะได้เห็นจิตตัวเองว่าเป็นยังไง"
    • "พอลมเต็มเราก็วางซะ แล้วนึกถึงธาตุไป ธาตุน้ำ ธาตุดินที่ละอย่างๆ พอกำหนดธาตุได้ชัดเจน เราก็ผสมธาตุ คือรวมให้พอดีทุกอย่าง ไม่ร้อนเกินไป ไม่หนาวเกินไป ไม่หนักเกินไป ไม่เบาเกินไป พอดีทุกส่วน แล้วก็วางอีก ให้อยู่กับธาตุความว่าง เมื่ออยู่กับความว่างจนชำนาญพอแล้ว เราก็ดูว่า อะไรที่ว่า"ว่าง" แล้วก็กลับมาหาตัวผู้รู้ เมื่อใจเป็นหนึ่งอย่างนี้แล้ว เราก็วางอาการของความเป็นหนึ่ง แล้วดูซิว่า อะไรที่มันยังเหลืออยู่ในที่นั้น"

      "พอเราทำอย่างนี้ได้ เราก็ฝึกเข้า-ฝึกออกจนชำนาญ แล้วพิจารณาดูอาการของใจ ตอนที่มันเข้า-ออกอยู่นั้น ปัญญาก็เริ่มปรากฏในที่นั่น"ฯ
    • "การพิจารณาตัวเอง เรื่องธาตุจะต้องมาเป็นอันดับแรก เราแยกธาตุ รวมธาตุ เหมือนเราเรียนแม่กบ แม่เกย ต่อไปเราจะสร้างผสมอะไรก็ได้"ฯ
    • "ฐานอันนี้ เอาให้มั่นคงก็แล้วกัน แล้วต่อจากนั้นจะสร้างกี่ชั้นๆ มันก็เร็ว"ฯ
    • "จะว่าง่ายก็ง่าย จะว่ายากมันก็ยาก มันอยู่ที่ตัวเรา"ฯ
    • "หลักอานาปาน์ที่ท่านพ่อใหญ่เขียนไว้ในตำราเป็นแต่หลักใหญ่ๆเท่านั้น ส่วนปลีกย่อยนั้นเราต้องปฏิภาณของเราเอง เอาหลักวิชาของท่านดัดแปลงพลิกแพลง ให้เข้ากับจริตของเรา เราจึงจะได้ผล"ฯ
    • "ที่หนังสือเขาว่า อาปานสติเป็นกรรมฐานที่ถูกกับจริตของทุกคนนั้นที่จริงไม่ใช่ เพราะคนที่จะกำหนดลมได้ผล ต้องเป็นผู้ที่มีความละเอียด"ฯ
    • "เคยมีครูบาอาจารย์มาว่าท่านพ่อใหญ่ "ทำไมสอนคนให้ดูลม มันจะมีอะไรให้ดู มีแต่สูดเข้า-สูดออก แล้วดูแค่นี้จะเกิดปัญญาได้อย่างไร" ท่านพ่อใหญ่ก็ตอบว่า "ถ้าดูแค่นั้น ก็ได้อยู่แค่นั้น"ฯ

      นี่เป็นปัญหาของคนดูไม่เป็นฯ
    • มีลูกศิษย์คนหนึ่งเล่าถวายท่านพ่อฟัง ว่า แต่ก่อนเขานึกว่าที่ท่านพ่อให้ไล่ลม ขยายลม กำหนดธาตุ เล่นธาตุ ลฯ เหล่านี้ เป็นแค่อุบายให้ใจสงบสบายๆ เท่านั้น แต่ภายหลังจึงรู้ว่าเป็นอุบายวิปัสสนาสำหรับเกิดปัญญาด้วย ท่านพ่อก็ย้อนถามว่า "เพิ่งจะรู้หรือ" ๒-๓ วันต่อมา ท่านก็เล่าเหตุการณ์นี้ให้ศิษย์อีกคนฟัง แล้วพูดตอนท้ายว่า "ดูซิ ขนาดคำสอนของพระพุทธเจ้าเขายังประมาทอยู่ได้"ฯ
    • "ผู้มีปัญญาย่อมใช้อะไรๆ ให้เป็นประโยชน์ได้ทั้งนั้น"ฯ
    อยากรู้เรื่องลมทั้งหมดของท่านพ่อลี เชิญตรงนี้ครับ

    ลม - ยาใจ

    ขอให้ทุกท่านมีความสุขกับลมในตัวเองเอกสารเรื่องลมของท่านพ่อลี ผมเคยรวมไว้เป็นเล่มราว 32 หน้า A-4 ต้นทุนในการทำแค่ 35.- แต่ใช้ได้ตลอดชีวิต โหลดจาก ยาใจนี่ล่ะ ลองทำดูครับใช้เป็นคู่มือฝึกตามมาตรฐานของท่านได้สบายมาก

    สารบัญหนังสือเรื่องของลม

    <ABBR class=published title=2008-08-10T09:56:38+07:00></ABBR>
    <ABBR class=published title=2008-08-10T09:56:38+07:00>

    1. หนังสือธรรม เรื่องของลม<LI class=widget-list-item>ลมกับจิต <LI class=widget-list-item>โลกกับกรรมฐาน <LI class=widget-list-item>การทำสมาธิภาวนา <LI class=widget-list-item>เจริญอิทธิบาท ๔ ในการดูลม <LI class=widget-list-item>ฉลาดปรับแต่งลม <LI class=widget-list-item>สมบัติสาม
    2. ผนวก
    หมายเหตุ หนังสือเรื่องของลม เป็นหนังสือของวัดอโศการาม


    </ABBR></ABBR>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 20 กรกฎาคม 2009
  15. supachaipnu

    supachaipnu ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 ธันวาคม 2008
    โพสต์:
    2,370
    ค่าพลัง:
    +7,301
    Pdf file krub.
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • Air.pdf
      ขนาดไฟล์:
      272 KB
      เปิดดู:
      86
  16. narongwate

    narongwate เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2007
    โพสต์:
    885
    ค่าพลัง:
    +3,840
    ศีล ๕ คือรัฐธรรมนูญปกครองประเทศไทย

    ศีล ๕ คือรัฐธรรมนูญปกครองประเทศไทย

    ถ้าหากเราจะเอาคำสอนในศาสนามาประยุกต์กับกฎหมายของบ้านเมือง คือ เอาศีล ๕ มาประยุกต์กับกฎหมายของเรานั่นเอง เราพิจารณาให้ซึ่งลงไป เราจะได้ความว่า ศีล ๕ ข้อนั่นแหละ คือรัฐธรรมนูญปกครองของประเทศไทย ทำไมจึงว่าอย่างนั้น ท่านเป็นนักกฎหมาย ศึกษาธรรมศาสตร์ นิติศาสตร์ ย่อมเข้าใจดีว่าหัวใจของประชาธิปไตย มันอยู่กันที่ตรงไหน หัวใจของประชาธิปไตยอยู่ที่การเคารพสิทธิมนุษยชน เอานึกทบทวนพิจารณาซิ ถ้าผู้มีศีล ๕ ข้อแล้ว เคารพอะไร เคารพสิทธิในการดำรงชีพอยู่ของคนอื่น เคารพสิทธิในคู่ครองและหมู่คนรอบข้าง เคารพในสิทธิครอบครองทรัพย์สมบัติและสิทธิอื่นๆ ครอบจักรวาลนี้ เพราะฉะนั้นเราจะใช้คำพูดว่า ศีล ๕ คือหัวใจระบอบการปกครองบ้านเมืองแบบประชาธิปไตย มันก็ไม่ผิด เพราะว่ากฏของศีล ๕ มันครอบจักรวาลนะ เราจะให้ กาย วาจา ใจ ของเราสงบ หรือปราศจากโทษบาปกรรมก็คือ ศีล ๕

    ขอขอบคุณ Welcome to Thaniyo.com
     
  17. narongwate

    narongwate เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2007
    โพสต์:
    885
    ค่าพลัง:
    +3,840
    โลกกับธรรมต้องหันหลังให้กันจริงหรือ

    โลกกับธรรมต้องหันหลังให้กันจริงหรือ


    เราจะปรับพื้นฐานความเป็นมนุษย์ให้ตรงก็ต้องอาศัยศีล ๕ เพราะฉะนั้นศีล ๕ นี้ จึงเป็นคุณธรรมให้คุณประโยชน์ทั้งทางศาสนาทั้งทางการปกครองบ้านเมือง แต่แท้ที่จริงแล้วหลักการปกครองบ้านเมืองกับหลักศาสนา ก็คืออันเดียวกันนั่นแหละ แต่เราไปแบ่งแยกจนถึงกับพุทธบริษัทเห็นว่าโลกกับธรรมต้องหันหลังให้กัน เพราะฉะนั้นในปัจจุบันหรือในอดีตก็ตาม พวกที่แสวงหาธรรมะหรือปฏิบัติธรรมทั้งหลายนี้ชอบละทิ้งครอบครัว ละทิ้งทรัพย์สมบัติ ละทิ้งหน้าที่การงาน ไปเที่ยวแสวงหาที่สงบวิเวกหรือครูบาอาจารย์ที่เก่งในการแสดงธรรม ในที่สุดก็เร่ร่อนไปมา ไปมานั่นแหละเพราะเราเข้าใจว่า โลกกับธรรมมันเข้ากันไม่ได้ แต่ความจริงโลกนี่ โลกที่เราว่าโลกเนี่ย มันเป็นอารมณ์จิตของผู้ปฏิบัติธรรม ผู้ปฏิบัติธรรมต้องฝึกจิตให้มีสมาธิคือ ความมั่นคง มีสติสัมปชัญญะไม่เว้น เพื่อเราจะได้ใช้อำนาจจิตที่มีความมั่นคง อำนาจของสติสัมปชัญญะ มองดูโลกหรือสิ่งที่เป็นไปตามโลกทั้งหลายนี้

    ขอขอบคุณ Welcome to Thaniyo.com
     
  18. narongwate

    narongwate เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2007
    โพสต์:
    885
    ค่าพลัง:
    +3,840
    [​IMG]

    แก้กรรม


    วิถี ชีวิตของคนเราจะผิดหวังสมหวังมีสุขมีทุกข์มั่งมียากดีมีจนอย่างไร มันขึ้นอยู่กับกฎของกรรม แต่ถ้าไปหาหมอโหรเขาว่าดวงชะตามันตก แต่แท้ที่จริงกฎของกรรมอันเป็นบาปซึ่งเราอาจจะทำแต่ชาติก่อนภพก่อนมันให้ผล แล้วทีนี้เราจะไปแก้กรรม แก้ผลของกรรมนี่มันแก้ไม่ได้ ใครทำกรรมใดไว้ก็ต้องได้รับผลของกรรมนั้น จะดีก็ตามชั่วก็ตาม แต่พิธีกรรมที่เขาให้ทำนั้น บางอย่างถ้ามันถูกต้องเป็นแนวทางแห่งบุญกุศล พอเราทำแล้วมันได้บุญ บุญนี้ก็ต่อวิถีชีวิตของเราให้ยืนยาวไปอีกพักหนึ่ง เมื่อหมดบุญแล้วกรรมเก่าที่มันวิ่งตามอยู่เหมือนกับหมาไล่เนื้อ มันทันเมื่อไรมันก็กระโดดกัดเมื่อนั้น
    เพราะฉะนั้น การสะเดาะเคราะห์ การแก้กรรมแก้เวร เราจะตัดกรรมตัดเวรก็รักษาศีล ๕ ให้บริสุทธิ์ ทีนี้กรรมที่เราทำนั้น ผลของมันไม่มีใครตัดได้ แต่เวรคือความผูกพยาบาทอาฆาต อันนี้ เราสามารถตัดได้ถ้าหากว่าเราพูดจาตกลงกันได้ เช่นอย่างคนข้างบ้านเคยด่ากันอยู่ทุกวันๆ ๆ ต่างคนต่างก็อาฆาตพยาบาทจองเวรซึ่ง กันและกัน ถ้าหากว่าเราคุยกันรู้เรื่องแล้วเรายกโทษให้กัน อันนี้เรียกว่า ตัดเวร คือตัดความผูกพยาบาทอาฆาต แต่ว่าผลกรรมที่เราด่าเขา เขาด่าเรา นั่นมันตัดไม่ได้



    ขอขอบคุณ Welcome to Thaniyo.com
     
  19. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097
    เมื่อวันอาทิตย์และวันจันทร์ที่ผ่านมาทุนนิธิฯ ได้ดำเนินการโอนเงินบริจาคจากบัญชีบริจาคไปยัง รพ.ภูมิภาคแล้ว 4 แห่งคือ

    1. รพ.มหาราช จ.เชียงใหม่ 5,000.-
    2. รพ.ศรีนครินทร์ จ.ขอนแก่น 5,000.- (ผ่านกองทุนหลวงปู่เทสก์)
    3. รพ.สงขลา จ.สงขลา 8,000.-
    4. รพ.แม่สอด จ.ตาก 6,000.-

    ขาดแต่เพียง รพ. 50 พรรษาฯ จ.อุบล และ รพ.สมเด็จพระยุพราช(ปัว) จ.น่านที่ต้องส่งทางไปรษณีย์ธนาณัติให้ โดยจะดำเนินการให้แล้วเสร็จในวันศุกร์นี้ สำหรับหลักฐานการโอนเงินข้างต้นทั้ง 4 รพ.ได้ลงมาดูแล้วพร้อมนี้

    ในขณะเดียวกัน เพื่อให้ทราบถึงข้อมูลเรื่องความเจ็บป่วยของพระสงฆ์ในแต่ละ รพ. ว่าเป็นอย่างไรบ้าง ผมจึงโทร.ไปสอบถามผู้ประสานงานตาม รพ.ต่างๆ ที่จะส่งปัจจัยไป ปรากฏว่าดีมาก คือมีพระสงฆ์เจ็บป่วยค่อนข้างน้อย ไม่มี case ร้ายแรง ส่วนใหญ่เป็นโรคชราภาพ และโรคที่รักษาอย่างต่อเนื่องเช่นเบาหวาน หรือปอดที่เกิดจากการสูบบุหรี่จัด ส่วนไข้หวัดสายพันธุ์ใหม่ ทุก รพ.ยืนยันว่า ไม่มีตัวเลขของพระสงฆ์เจ็บป่วยในช่วงก่อนหน้าในวันที่ถามคือวันที่ 21/7 ครับ ก็ค่อยโล่งใจไปที

    สำหรับงานกิจกรรมในวันอาทิตย์นี้ (26/7) ที่ รพ.สงฆ์ ก็อย่าลืมก็แล้วกัน ใครไปก็จะได้รับพระ 1 องค์ อย่างที่บอก ไม่ต้องคิดอะไรมากรับท่านมาเก็บไว้เป็นอุทาหรณ์ในการเตือนใจว่าเราเคยมาทำบุญร่วมกันแค่นี้ก็พอใจแล้วครับ ผมมีน้อยก็แจกน้อย แต่ได้ตรวจเช็คแล้วว่าหลวงปู่บรมครูพระธรรมฑูตเทพโลกอุดร ท่านเมตตาทำให้ ตรวจทั้ง พี่ใหญ่ และ อ.ประถม ยืนยันว่าใช้ได้ คุ้มตัวได้ ขอได้ ก็โอเคแล้วครับสำหรับพระผงที่มีอายุนับร้อยปี สำหรับจำนวนพระสงฆ์ที่อาพาธที่ตึกกัลญานิวัฒนา รอยืนยันคุณวรรณที่ร้านค้าไม่เกินวันเสาร์อีกทีนึง ว่ามีจำนวนประมาณกี่รูปที่เราจะไปถวายสังฆทานกันครับ ส่วนคณะทัวร์ "ตามกราบพระดี" ตอนนี้ได้ทั้งรถตู้ และรถติดตามแล้ว รอนัดหมายจากท่าน อ.อุทัย อีกที ก็จบครับ เราจะได้ไปกราบพระดีที่หลวงตาฯ ท่านการันตีว่า นี่ละได้ "อรหัตผล" แล้ว อีก 1 องค์ ไปฟังเทศน์จากท่าน ไปกราบท่าน อย่างน้อยก็เป็นการเพิ่มวาสนาและบารมีให้แก่ตนเองอีกทางหนึ่ง นอกเหนือจากการทำบุญกุศล และทานมัย ในวันอาทิตย์นี้อีกทางหนึ่งละครับ และหากมีข้อมูลเพิ่มเติมใดๆ จะได้นำมาแจ้งให้ทราบต่อไป

    พันวฤทธิ์
    22/7/52






    [​IMG]

    [​IMG]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 23 กรกฎาคม 2009
  20. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097
    วิธีการดูแลรักษาจิตใจที่ถูกต้อง

    <TABLE class=tablebg cellSpacing=1 width="100%"><TBODY><TR></TR><TR><TD align=middle>[​IMG]


    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    เศรษฐีผู้หนึ่ง ซึ่งมีภรรยาถึง 4 คน เขาจะรักคนไหนที่สุด???
    ...กาลครั้งหนึ่ง มีเศรษฐีผู้หนึ่ง ซึ่งมีภรรยา 4 คน
    เขารักภรรยาคนที่ 4 มากที่สุด
    รองลงมา คือคนที่ 3, 2 และ 1 ตามลำดับ
    ดั้งนั้นภรรยาคนที่ 4 ซึ่งเป็นคนล่าสุด สาวที่สุด จึงได้รับความเอาใจใส่ และให้ความสำคัญมากกว่าคนอื่นๆ

    ต่อมา เมื่อเศรษฐีแก่ชราลง เขาอยากจะรู้ว่า ในบรรดาภรรยาทั้ง 4 คนนี้ ใครบ้างที่รักเขาจริง เศรษฐีเรียกภรรยาคนที่ 4 มาถามว่า
    "นี่น้องพี่ อีกไม่นานพี่คงต้องตายจากไป หากพี่ตายไป พี่อยากจะชวนน้องไปอยู่อยู่ด้วย เพราะพี่รักน้องมากที่สุด น้องจะไปด้วยได้ไหม"

    ภรรยาคนที่ 4 ก็ตอบว่า
    "จะบ้าหรือพี่ มีใครที่ไหน ที่จะตามคนตายไป พี่ไปของพี่ก่อนเถอะนะ น้องไม่ไปด้วยหรอก"

    เศรษฐผิดหวังอย่างหนัก เสียใจอย่างมากเมื่อได้รับคำตอบเช่นนั้น จึงหันไปถามภรรยาคนที่ 3 ด้วยคำถามเดียวกัน

    ภรรยาคนที่ 3 ก็ตอบว่า
    "พี่เป็นอะไรไป ถึงคนรักกันปานใด ก็ไม่มีใครยอมตายตามไปด้วยหรอก เชิญพี่ตายไปก่อนเถิดนะ"

    เศรษฐีต้องเสียใจซ้ำสอง คิดว่าคนที่รักรองลงมาจะตายตามไปด้วย ก็ผิดหวังอีก จึงหันไปถามภรรยาคนที่ 2 ภรรยาคนที่ 2 ก็ตอบปฏิเสธในทำนองเดียวกัน ทำให้เศรษฐีผิดหวังมากยิ่งขึ้น
    เขาจึงหันไปถามคนสุดท้าย ซึ่งเป็นภรรยาคนแรก ซึ่งเขาไม่ค่อยเอาใจใส่ดูแลนัก ทั้งไม่ได้ให้ความสำคัญเท่าไหร่ จึงถามไปอย่างไม่คาดหวังอะไร

    แต่ภรรยาคนที่ 1 กลับตอบว่า
    "เราอยู่ด้วยกันมาตั้งแต่ต้น ยามสุขก็สุขด้วยกัน ยามทุกข์ก็ทุกข์ด้วยกัน จะทอดทิ้งกันได้อย่างไร ถ้าพี่ตายไป น้องก็จะขอตามไปด้วย"

    ในที่สุด เศรษฐีจึงได้รู้ว่า ภรรยาคนแรก ซึ่งเขาไม่เคยให้ความสำคัญเลยนั้น กลับเป็นผู้ที่รักเขาอย่างจริงใจ และมีน้ำใจจะติดตามปรนนิบัติเขาไปทุกหนทุกแห่ง
    ส่วนภรรยาผู้ที่เขาทุ่มเทความรักให้อย่างมากมาย กลับมิได้สนใจใยดีในตัวเขาเลย

    .

    .

    .

    .

    .

    ถึงตอนนี้แล้วลองคิดดูให้ดีสิว่า เศรษฐีผู้นี้คือใคร?

    .

    .

    .

    .

    .
    ...แท้ที่จริงแล้ว เขามิใช่คนอื่นคนไกลเลย เขาคือ....ตัวเรานั่นเอง

    เราทุกคน ต่างเปรียบได้กับเศรษฐีที่มีภรรยา 4 คน โดยที่...

    ภรรยาคนที่ 1 คือ จิตใจ

    ภรรยาคนที่ 2 คือ ร่างกาย

    ภรรยาคนที่ 3 คือ บ้านเรือน สมบัติพัสถาน

    ภรรยาคนที่ 4 คือ เสื้อผ้า เครื่องประดับ

    เพราะฉะนั้น เลือกเอาเถิดว่าเราจะรักและเอาใจใส่ภรรยาคนไหนให้มากที่สุด
    บางคนอาจจะเป็นเศรษฐี ผู้ซึ่งไม่รู้ว่าควรจะรักใคร ดังจะเห็นได้จาก...
    บางคนมัวแต่เอาใจใส่ให้เวลากับเรื่องเสื้อผ้า เครื่องประดับ
    บ้างก็มัวแต่เฝ้าหวงแหนทรัพย์ ดูแลบ้านเรือน สมบัติพัสถาน
    บ้างก็มัวเฝ้าทะนุถนอมบำรุงรักษา แต่เพียงร่างกาย

    โดยหารู้ไม่ว่า ตราบใดที่ยังไม่รู้จักวิธีการดูแลรักษาจิตใจที่ถูกต้อง ย่อมเปรียบได้กับเศรษฐีผู้มองข้ามภรรยาคนที่ควรจะรักมากที่สุดไป
    แต่สำหรับผู้ที่หมั่นรักษาจิตใจนั้น
    -จะทำให้รู้จักวิธีการใช้โลกียทรัพย์ เปลี่ยนเป็นอริยทรัพย์ ตัดความตระหนี่ด้วยการทำทาน
    -นำร่างกายที่เกิดเป็นมนุษย์ รักษาศีลให้สมบูรณ์ เพื่อนำความไม่มีโรค ติดตัวไป
    -และนำดวงปัญญาที่สว่างไสวไปด้วยการทำสมาธิ ทำใจหยุดใจนิ่ง สู่หนทางพ้นทุกข์
    ย่อมจะเป็นทุน เป็นเสบียงที่จะนำความสุข ความสำเร็จให้บังเกิดขึ้นในอนาคตที่ยาวไกลได้

    นี่คือชีวิตที่เราเลือกได้ ว่าจะทุ่มเทความรักให้กับสิ่งใด
    ระหว่างของชั่วคราวอันน่าหลงใหล กับจิตใจซึ่งจะติดตามเราไปตลอดกาล
    .

    .

    เรามาเริ่มต้นรักษาจิตใจของเรากันเถอะ ด้วยการทำหยุดทำนิ่งให้แก่ใจ โดยการนั่งสมาธิ
    ใจของเราจะแข็งแกร่งขึ้นได้ด้วยการหยุดใจนิ่งเฉย ยิ่งใจว่างเปล่าปราศจากความคิดใดๆ ได้มากที่สุด(ขณะมีสติ) จะเป็นช่วงที่เราสามารถพิจารณาตัวเองได้มากขึ้นเท่านั้น ปล่อยใจสบายๆ ขณะทำสมาธิ ไม่ต้องไปคิดกังวลถึงเรื่องใด ๆ ขณะทำจิตให้สงบก็ตัดทุกสิ่งทุกอย่าง ความกังวลเรื่องการเรียน การงาน งานบ้าน ต่างๆ ให้สิ้นเสีย
    ซึ่งต่างกับการดูแลร่างกาย ซึ่งยิ่งออกกำลังกายมากเท่าไหร่ร่างกายจะยิ่งแข็งแรง แข็งแกร่งขึ้น
    ดังนั้น หากเรายิ่งหยุดนิ่งใจได้มาก ใจแข็งแรง นำมาสู่การสนทนาในเรื่องดีๆ ประพฤติดี พูดดี ทำดี หากทุกคนรอบข้างทำได้เช่นนี้ สังคมเราก็จะสงบสุขขึ้น เพราะเราจะได้ปัญญา อันเกิดจากสมาธิ สามารถสอนสั่งตนเองได้ ให้กระทำในสิ่งที่ถูกต้อง ดีงาม สั่งสมบุญกุศลให้เกิดขึ้นแก่ตนเอง


    .....................................................

    ขอขอบคุณ

    ลานธรรมจักร &bull; แสดงกระทู้ - วิธีการดูแลรักษาจิตใจที่ถูกต้อง
     

แชร์หน้านี้

Loading...