ขอเชิญร่วมทำบุญสงเคราะห์พระภิกษุสงฆ์อาพาธ

ในห้อง 'ตลาด พระเครื่องเพื่อการกุศล' ตั้งกระทู้โดย พันวฤทธิ์, 29 พฤศจิกายน 2007.

  1. newcomer

    newcomer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 กันยายน 2007
    โพสต์:
    1,317
    ค่าพลัง:
    +3,934
    เรียน ท่านโสระ, ท่านพันวฤทธิ์
    ได้รับพระพิมพ์ที่จัดส่งให้แล้วครับ ขอบคุณมากครับ
    โมทนาบุญกับทุกท่านครับ
     
  2. punyawat

    punyawat เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    604
    ค่าพลัง:
    +183
    [​IMG]

    อนุโมทนาครับ

    สาธุ สาธุ สาธุ
    _________
    "...กรรมเก่าไม่มีใครลบล้างได้ กรรมปัจุบันจะช่วยเจ้าเอง..."

    -------------------หลวงปู่โต พรหมรังสี--------------------
     
  3. นายสติ

    นายสติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มีนาคม 2007
    โพสต์:
    911
    ค่าพลัง:
    +4,285
    อุปกิเลส 16


    [FONT=MS Sans Serif, CordiaUPC, BrowalliaUPC]กิเลส หรือเครื่องเศร้าหมองของจิต มีตัวหลักอยู่ 3 ตัว คือ[/FONT]​
    • [FONT=MS Sans Serif, CordiaUPC, BrowalliaUPC]โลภะ คือ ความโลภ ความอยากได้ ความเพลิดเพลินยินดี ความยึดเหนี่ยวทางใจ[/FONT]
    • [FONT=MS Sans Serif, CordiaUPC, BrowalliaUPC]โทสะ คือ ความโกรธ ความขัดเคืองใจ ความเศร้า ความเสียใจ ความกลัว ความทุกข์ทางใจทั้งหลาย[/FONT]
    • [FONT=MS Sans Serif, CordiaUPC, BrowalliaUPC]โมหะ คือ ความหลง ความไม่รู้ธรรมชาติของสิ่งต่างๆ ตามความเป็นจริง อวิชชา[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, CordiaUPC, BrowalliaUPC]กิเลส 3 ตัวนี้ เป็นเหตุที่ทำให้เกิดอกุศลทั้งมวล เปรียบเสมือนมารดาให้กำเนิดบุตร (เรียกว่าเป็นอกุศลเหตุ หรืออกุศลมูล) และได้แตกลูกแตกหลานออกมาอีก เรียกว่าเป็น อุปกิเลส 16 ดังนี้คือ[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, CordiaUPC, BrowalliaUPC]พระไตรปิฎก : พระสุตตันตปิฎก เล่ม 4 มัชฌิมนิกาย
    มูลปัณณาสก์ วัตถูปมสูตร
    [/FONT]​
    [FONT=MS Sans Serif, CordiaUPC, BrowalliaUPC][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, CordiaUPC, BrowalliaUPC]อุปกิเลส ๑๖

    [๙๓] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ธรรมเหล่าไหนเป็นเครื่องเศร้าหมองของจิต [คือ]
    [/FONT]​
    • [FONT=MS Sans Serif, CordiaUPC, BrowalliaUPC]อภิชฌาวิสมโลภะ [ละโมบไม่สม่ำเสมอ คือความเพ่งเล็ง] (คืออยากได้ของๆ ผู้อื่นมาเป็นของตน โดยไม่ถูกทำนองคลองธรรม - ธัมมโชติ)[/FONT]
    • [FONT=MS Sans Serif, CordiaUPC, BrowalliaUPC]พยาบาท [ปองร้ายเขา][/FONT]
    • [FONT=MS Sans Serif, CordiaUPC, BrowalliaUPC]โกธะ [โกรธ][/FONT]
    • [FONT=MS Sans Serif, CordiaUPC, BrowalliaUPC]อุปนาหะ [ผูกโกรธไว้][/FONT]
    • [FONT=MS Sans Serif, CordiaUPC, BrowalliaUPC]มักขะ [ลบหลู่คุณท่าน][/FONT]
    • [FONT=MS Sans Serif, CordiaUPC, BrowalliaUPC]ปลาสะ [ยกตนเทียบเท่า] (คือการตีเสมอผู้อื่น คิดว่าเราก็แน่เหมือนกัน - ธัมมโชติ)[/FONT]
    • [FONT=MS Sans Serif, CordiaUPC, BrowalliaUPC]อิสสา [ริษยา][/FONT]
    • [FONT=MS Sans Serif, CordiaUPC, BrowalliaUPC]มัจฉริยะ [ตระหนี่][/FONT]
    • [FONT=MS Sans Serif, CordiaUPC, BrowalliaUPC]มายา [มารยา][/FONT]
    • [FONT=MS Sans Serif, CordiaUPC, BrowalliaUPC]สาเฐยยะ [โอ้อวด] (คือการพูดยกตนด้วยสิ่งที่ไม่เป็นจริง - ธัมมโชติ)[/FONT]
    • [FONT=MS Sans Serif, CordiaUPC, BrowalliaUPC]ถัมถะ [หัวดื้อ][/FONT]
    • [FONT=MS Sans Serif, CordiaUPC, BrowalliaUPC]สารัมภะ [แข่งดี][/FONT]
    • [FONT=MS Sans Serif, CordiaUPC, BrowalliaUPC]มานะ [ถือตัว][/FONT]
    • [FONT=MS Sans Serif, CordiaUPC, BrowalliaUPC]อติมานะ [ดูหมิ่นท่าน][/FONT]
    • [FONT=MS Sans Serif, CordiaUPC, BrowalliaUPC]มทะ [มัวเมา][/FONT]
    • [FONT=MS Sans Serif, CordiaUPC, BrowalliaUPC]ปมาทะ [เลินเล่อ] (ความประมาท ความเผลอ ความขาดสติ - ธัมมโชติ)[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, CordiaUPC, BrowalliaUPC]เหล่านี้เป็นธรรมเครื่องเศร้าหมองของจิต[/FONT]
     
  4. chaipat

    chaipat เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2007
    โพสต์:
    1,282
    ค่าพลัง:
    +11,099
    เมื่อวานนี้ผมโอนเข้า บช 700.01 บาทครับ

    พี่หมอน และน้อง เอครับ

    พี่หมอนนี้ทำหลายเดือน ผมออกเมลล์ก็ให้ปับ แต่ดันลืมครับ ส่งแล้วนาครับ

    สาธุครับ
     
  5. นายสติ

    นายสติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มีนาคม 2007
    โพสต์:
    911
    ค่าพลัง:
    +4,285

    <?XML:NAMESPACE PREFIX = O /><O:p></O:p>
    ตายจากความเป็นมนุษย์
    แล้วไปเกิดเป็นเปรต<O:p></O:p>

    เรื่องที่ ๑๕๒<O:p></O:p>

    พระสารีบุตรช่วยมารดาในอดีตที่ผ่านมาแล้ว ๑๐๐ ชาติได้ตายจากคนไปเกิดเป็นเปรต<O:p></O:p>


    "..เรื่องพระสารีบุตร จากพระไตรปิฎกเล่ม ๒๖ <O:p></O:p>
    หน้า ๑๖๑ เมื่อพระสารีบุตรท่านเจริญพระกรรมฐานเป็น<O:p></O:p>
    ที่สบายอารมณ์แล้ว ท่านไปแดนเปรตพบหญิงเปรตคน<O:p></O:p>
    หนึ่งผอมมีแต่ซี่โครง เปลือยกายมีเส้นเอ็นสะพรั่ง ท่านจึง<O:p></O:p>
    ถามว่า "เธอเป็นใคร" การถามแบบนี้แสดงว่าท่าน<O:p></O:p>
    ทราบว่าเปรตนั้นเป็นใคร แต่ระเบียบของพระรู้แล้วต้อง<O:p></O:p>
    ทำเป็นไม่รู้ ระเบียบนี้พระพุทธเจ้าทรงใช้เป็นปกติ เปรต<O:p></O:p>
    ตอบว่า "เมื่อก่อนในชาติที่ผ่านมาแล้ว ๑๐๐ ชาติ ฉัน<O:p></O:p>
    เป็นมารดาของท่าน เวลานี้ฉันหิวมาก มีความกระหายใน<O:p></O:p>
    อาหาร เมื่อความหิวเกิดขึ้นก็กินนํ้าลาย เสมหะ นํ้ามูก ที่<O:p></O:p>
    เขาถ่มทิ้ง กินไขมันเหลวจากซากศพที่เขาเผา กินโลหิต<O:p></O:p>
    ของหญิงทั้งหลายที่คลอดบุตร เป็นต้น ลูกเอ๋ย ลูกจงให้<O:p></O:p>
    ทานอุทิศส่วนกุศลให้แม่บ้าง แม่จะได้เลิกหิวเสียที"<O:p></O:p>
    พระสารีบุตรท่านตั้งใจจะช่วยมารดา เมื่อท่าน<O:p></O:p>
    รับรองว่าจะช่วยแล้วท่านก็มาปรึกษากับ พระโมคคัลลาน์ <O:p></O:p>
    พระอนุรุทธ พระกับปินะ หรือที่ชาวบ้านหรือพระนักเทศน์<O:p></O:p>
    เรียกว่า "พระกบิน" ท่านทั้งหมดช่วยกันสร้างกุฏิ ๔ หลัง<O:p></O:p>
    ใน ๔ ทิศ (สร้างกุฏิเพิงหมาแหงน) และถวายข้าวหยิบมือ<O:p></O:p>
    หนึ่ง กับข้าวหยิบมือหนึ่ง ใส่ใบไม้ และนํ้าหนึ่งฝาบาตร <O:p></O:p>
    ผ้ากว้างคืบ ยาวคืบ หนึ่งผืน ถวายพระสงฆ์เป็นสังฆทาน<O:p></O:p>
    และวิหารทาน แล้วร่วมกันอุทิศส่วนกุศลให้มารดาพระสา<O:p></O:p>
    รีบุตร (มารดาคนนี้เคยเป็นมารดาพระสารีบุตรเมื่อ ๑๐๐ <O:p></O:p>
    ชาติที่แล้วมา ไม่ใช่มารดาในชาติปัจจุบันของท่านซึ่งก่อน<O:p></O:p>
    ตายท่านเป็นพระโสดาบัน) เมื่ออุทิศส่วนกุศลให้แล้ว อานิสงส์บังเกิดดังนี้ถวายข้าวและนํ้า ทำให้เธอได้ร่างกายที่เป็นทิพย์
    ถวายผ้าคืบยาวคืบ เป็นเหตุให้เธอได้เครื่องประดับที่เป็นทิพย์<O:p></O:p>
    ถวายกุฏิเพิงหมาแหงน เป็นเหตุให้เธอได้วิมานที่สวยงามมาก<O:p></O:p>
    ถวายนํ้า ๑ ฝาบาตร เป็นเหตุให้เธอได้สระโบกขรณี<O:p></O:p>
    เมื่อยามราตรีเธอก็ปรากฏกายพร้อมทั้งวิมานและ<O:p></O:p>
    สระโบกขรณีให้พระโมคคัลลาน์เห็น <O:p></O:p>
    ท่านก็ถามว่า "เป็นใคร" <O:p></O:p>
    เธอตอบว่า "ฉันคือมารดาพระสารีบุตรที่เป็นเปรต <O:p></O:p>
    ที่พระสารีบุตรถวายสังฆทานและพระคุณเจ้าช่วยกันสร้าง<O:p></O:p>
    กุฏิถวายสงฆ์แล้วอุทิศส่วนกุศลให้"<O:p></O:p>
    แสดงว่าคนฉลาดรู้จักทำบุญไม่ต้องสิ้นเปลืองมาก <O:p></O:p>
    ก็ได้รับอานิสงส์สูง เมื่อให้เขา เขาได้รับ เราผู้ทำก็มีผล<O:p></O:p>
    เต็มร้อยเปอร์เซ็นต์ เมื่อให้ใครก็ตามผู้รับก็มีผลไม่บกพร่อง.."

    ขอขอบคุณข้อมูลจากhttp://www.oknation.net/blog/Nirvana-Thailand
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 10 ตุลาคม 2008
  6. นายสติ

    นายสติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มีนาคม 2007
    โพสต์:
    911
    ค่าพลัง:
    +4,285
    พระคาถาพาหุง


    <TABLE class=blog_center_data><TBODY><TR><TD><TABLE class=wikitable style="WIDTH: 505px; HEIGHT: 3326px" border=1><TBODY><TR><TH>[FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]บทสวด[/FONT]</TH><TH>[FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]คำแปล[/FONT]</TH><TH>[FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]อรรถาธิบายอย่างย่อ[/FONT]</TH></TR><TR><TD>[FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]บทที่ ๑ [/FONT][FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลังอุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมาะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ[/FONT]


    </TD><TD>[FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]พญามารเนรมิตแขนตั้งพัน ถืออาวุธ ครบมือ ขี่ช้าง ครีเมขละ พร้อมด้วยเสนามาร โห่ร้องก้องกึก พระจอมมุนีทรงเอาชนะได้ ด้วยธรรมวิธี มีทานบารมี เป็นต้น ด้วยเดช แห่งชัยชนะนั้น ขอชัยมงคลจงมีแก่ท่าน[/FONT]


    </TD><TD>[FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]ปราบมาร ด้วยทานบารมี[/FONT]
    [FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]พระพุทธเจ้าทรงประทับอยู่ใต้ต้นโพธิ์ พระยาวัสสวดีมาราธิราช ได้ขี่ช้างคิรีเมขล์ ยกทัพมารที่ดุร้ายมุ่งผจญข่มขู่พระโพธิสัตว์ แต่ด้วยบุญบารมีของพระโพธิสัตว์ทำให้ พระแม่ธรณีปรากฏกายขึ้นบิดมวยผม เกิดน้ำท่วมใหญ่พัดพากองทัพมารแตกพ่ายไป[/FONT]


    </TD></TR><TR><TD>[FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]บทที่ ๒ [/FONT][FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]มาราติเรกะมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันตีสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ[/FONT]


    </TD><TD>[FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]อาฬวกยักษ์ผู้กระด้าง ปราศจาก ความอดทน ดุร้าย สู้รบกับพระพุทธเจ้าอย่าง ทรหดยิ่งกว่ามารตลอดราตรี พระจอมมุนีทรง เอาชนะได้ด้วยขันติวิธีที่ทรงฝึกฝนมาดี ด้วย เดชแห่งชัยชนะนั้น ขอชัยมงคลจงมีแก่ท่าน[/FONT]


    </TD><TD>[FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]ปราบยักษ์ ด้วยขันติธรรม[/FONT]
    [FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]พระพุทธเจ้าเสด็จไปปราบอาฬวกยักษ์ ซึ่งสำแดงฤทธิ์ ถีบยอดเขาไกรลาศ แล้วร้องเรียกยักษ์บริวารมาล้อมวิมาน ยิงศาสตราวุธ ๗ ประการใส่พระพุทธเจ้า อาวุธนั้นกลับกลายเป็นดอกไม้บูชาพระพุทธองค์ อาฬวกยักษ์แพ้ฤทธิ์แล้ว พระองค์จึงเทศนาโปรด จนยักษ์ถึงแก่พระโสดา[/FONT]


    </TD></TR><TR><TD>[FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]บทที่ ๓ [/FONT][FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุเต ชะยะมังคะลานิ[/FONT]


    </TD><TD>[FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]พญาช้างชื่อ นาฬาคิรี ตกมัน ดุร้ายยิ่งนัก ประดุจไฟป่า จักราวุธ และสายฟ้า พระจอมมุนีทรงเอาชนะได้ด้วยวิธีรดด้วยน้ำ คือเมตตา ด้วยเดชแห่งชัยชนะนั้น ขอชัยมงคลจงมีแก่ท่าน[/FONT]


    </TD><TD>[FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]ปราบช้าง ด้วยเมตตาธรรม[/FONT]
    [FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]พระพุทธองค์ทรงทรมานช้างนาฬาคีรี ครั้งนั้นพระเทวทัตคิดฆ่าพระพุทธเจ้า จึงเข้าเฝ้าพระเจ้าอชาตศัตรู ขอให้เอาเหล้ากรอกช้างนาฬาคีรี แล้วปล่อยไปตามถนน ที่พระพุทธองค์เสด็จออกบิณฑบาต พระพุทธเจ้าทรงทรมานช้างนาฬาคีรีให้หายเมาเหล้า แล้วตั้งอยู่ในพระไตรสรณคมณ์[/FONT]


    </TD></TR><TR><TD>[FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]บทที่ ๔ [/FONT][FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุเต ชะยะมังคะลานิ[/FONT]


    </TD><TD>[FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]โจรองคุลิมาล (โจรฆ่าคนเอานิ้ว ทำพวงมาลัยแสนดุร้าย) ถือดาบเงื้อง่าวิ่งไล่ฆ่า พระพุทธองค์สิ้นระยะทาง ๓ โยชน์ พระจอมมุณี ทรงบันดาลอิทธิฤทธิ์ทางใจเอาชนะได้ราบคาบ ด้วยเดชแห่งชัยชนะนั้น ขอชัยมงคลจงมีแก่ท่าน[/FONT]


    </TD><TD>[FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]ปราบมหาโจร ด้วยอิทธิฤทธิ์[/FONT]
    [FONT=tahoma,arial,helvetica,sans-serif]พระพุทธเจ้าทรงโปรดองคุลิมาล เมื่อพระพุทธองค์กลับจากบิณฑบาตในกรุงสาวัตถีพบองคุลิมาล องคุลิมาลเห็นเข้าจึงจับอาวุธไล่ตามพระพุทธองค์ แต่ไล่ตามไม่ทัน พระพุทธองค์ตรัสให้องคุลิมาลได้คิด
     
  7. นายสติ

    นายสติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มีนาคม 2007
    โพสต์:
    911
    ค่าพลัง:
    +4,285
    [FONT=arial,helvetica,sans-serif]หยุด[/FONT][FONT=arial,helvetica,sans-serif]การอยากรู้อยากเห็น[/FONT]
    [FONT=arial,helvetica,sans-serif]เรื่องนอกตัว[/FONT]​

    [FONT=arial,helvetica,sans-serif]รู้ ดู เรื่องในตัวเองมากๆ[/FONT]

    [​IMG]
    http://o0o0o.exteen.com/images/touku.gif

    [FONT=arial,helvetica,sans-serif]มองคนในแง่ดี เห็นดีของเขา และระวังความไม่ดีของเขา[/FONT]

    [​IMG]

    http://accblue.exteen.com/images/buddhatas1.gif
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 10 ตุลาคม 2008
  8. นายสติ

    นายสติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มีนาคม 2007
    โพสต์:
    911
    ค่าพลัง:
    +4,285
    <TABLE class=blog_center_data><TBODY><TR><TD>
    เมื่อมนุษย์รู้สึกสงบนิ่ง
    จะรู้แจ้งเห็นจริงทุกสิ่งสรร

    [​IMG]


    หัวข้อ : การรู้จิต....ยาวหน่อยนะ...ทำใจไว้ล่วงหน้าก่อนอ่าน
    ข้อความ : ท่านทั้งหลายได้ปฏิญาณตนถึงพระไตรสรณคมน์แล้ว และได้สมาทานศีล ๕ ศีล ๘ ก็เป็นการชำระกายวาจาของตนเองให้บริสุทธิ์ เป็นการปรับพื้นฐานของความเป็นมนุษย์ให้สมบูรณ์ ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ที่สุดอยู่ตรงที่มีศีล ๕ ข้อ เมื่อทุกท่านได้สมาทานศีล ๕ ข้อแล้ว และไม่ได้ละเมิดล่วงเกินข้อใดข้อหนึ่ง ท่านก็เป็นผู้มีศีลบริสุทธิ์และเป็นมนุษย์โดยสมบูรณ์ จึงขอให้เตรียมตัวให้พร้อมที่จะนั่งสมาธิภาวนา

    ในระยะแรกๆ เราจะรู้สึกว่าความสว่างพุ่งออกมาทางสายตา เมื่อกระแสจิตส่งออกไปข้างนอกตามแสงสว่าง จะเกิดภาพนิมิตต่างๆขึ้นมา เมื่อเกิดภาพนิมิตต่างๆขึ้นให้ผู้ภาวนากำหนดรู้อยู่ที่จิตเพียงอย่างเดียว อย่าไปเอะใจหรือตื่นใจกับสิ่งที่เกิดขึ้นนั้น ให้กำหนดว่านิมิตนี้เป็นเพียงเครื่องรู้ของจิต เครื่องระลึกของสติ และนิมิตนี้เกิดขึ้นตอนที่จิตสงบเป็นสมาธิ แล้วประคองจิตให้อยู่ในสภาพที่สงบ นิ่ง สว่างอยู่ตามเดิม ในตอนนี้สำหรับผู้ภาวนาใหม่ สติสัมปชัญญะยังตามเหตุการณ์ไม่ทัน ในเมื่อเกิดนิมิตขึ้นมาแล้วมักจะหลง หลงติด บางทีก็เกิดความดีใจ บางทีก็เกิดความกลัว และเกิดความเอะใจขึ้นมา สมาธิถอน นิมิตนั้นหายไป แต่ถ้าสมาธิไม่ถอน จิตไปอยู่ที่นิมิตนั้น ถ้านิมิตนั้นแสดงความเคลื่อนไหว เช่น เดินไปวิ่งไป จิตของผู้ภาวนาจะละฐานที่ตั้งเดิม ละแม้กระทั่งตัวเอง จิตจะตามนิมิตนั้นไป คิดว่ามีตัวมีตน เดินตามเขาไป เขาพาไปขึ้นเขาลงห้วยหรือไปที่ไหนก็ตามเขาไปเรื่อยๆ ถ้าหากว่าผู้โชคดีก็ไปเห็นเทวดา เทวดาก็พาไปเที่ยวสวรรค์ ถ้าหากว่าผู้โชคไม่ดีจะไปเห็นสัตว์นรก สัตว์นรกก็พาไปเที่ยวนรก อันนี้เพราะผู้ภาวนามีสติยังอ่อน ยังควบคุมจิตของตนเองให้รู้อยู่ภายในไม่ได้ ในเมื่อเห็นนิมิตต่างๆอย่างนั้น อย่าไปสำคัญว่าสิ่งที่เราเห็นนั้นเป็นของดีวิเศษ แท้ที่จริงเป็นแต่เพียงเครื่องรู้ของจิต เครื่องระลึกของสติเท่านั้น นักภาวนาที่ฉลาดจะกำหนดรู้อยู่ที่จิต ถึงความรู้สึกว่านิมิตสักแต่ว่านิมิต ไม่ใช่สัตว์ บุคคล ตัวตน เราเขา แล้วก็ประคองจิตให้อยู่ในสภาวะเดิมไม่เปลี่ยนแปลง สมาธิจิตจะสงบนิ่งอยู่ นิมิตเหล่านั้นจะทรงตัวอยู่ให้เราได้พิจารณาได้นาน บางทีนิมิตนั้นอาจจะเกิดประโยชน์แก่ผู้ปฏิบัติ ทำให้เป็นผู้มีสติสัมปชัญญะรู้เท่าทันเหตุการณ์ภายใน แต่แท้ที่จริงนิมิตนั้นแม้จะเป็นสิ่งที่เห็นในสมาธิก็ตาม เป็นเพียงเครื่องรู้ของจิต เครื่องระลึกของสติ เหมือนมองเห็นรูปด้วยตาภายนอกเมื่อเรายังไม่ได้กำหนดจิตทำสมาธิ จะมีค่าเหนือกว่ากันหน่อยก็ตรงที่อันหนึ่งเห็นด้วยตาธรรมดา แต่อีกอันหนึ่งเห็นด้วยอำนาจสมาธิ แต่ ถ้าไปหลงติดนิมิตนั้นก็เป็นผลเสียสำหรับผู้ปฏิบัติ บางครั้งไปเข้าใจว่านิมิตนั้นเป็นวิญญาณมาจากโลกอื่น เข้ามาเพื่อจะขอแบ่งส่วนบุญ และเมื่อเห็นเหตุการณ์เช่นนั้น เราก็ตั้งใจแผ่ส่วนบุญส่วนกุศล ในเมื่อคิดแผ่ส่วนบุญส่วนกุศล ความคิดทำให้สมาธิถอน ในเมื่อสมาธิถอนขึ้นมาแล้ว นิมิตนั้นก็หายไปหมด วิญญาณเหล่านั้นเลยไม่ได้รับบุญกุศลที่เราให้

    ขอทำความเข้าใจกันอีกครั้งว่า นิมิตที่เกิดขึ้นภายในสมาธินั้น ให้ทำความเข้าใจเพียงแต่ว่าเป็นมโนภาพเอาไว้ก่อน อย่ารีบไปตัดสินว่าเป็นของจริงของแท้ ให้นึกว่าเป็นมโนภาพที่เราปรุงแต่งขึ้นมาเอง ให้ทำความรู้สึกไว้อย่างนี้ ท่านจะเกิดความเฉลียวฉลาด

    สมมติว่าเมื่อภาวนาแล้วจิตมีวิตก วิจาร ปีติ มีความสุข และมีความละเอียดสงบนิ่งลงไปถึงขั้นอัปปนาสมาธิ และผู้ภาวนาสามารถที่จะฝึกฝนอบรมกาย ทำวิตก วิจาร ปีติ สุข เอกัคคตา ให้คล่องแคล่ว ชำนิชำนาญ ฝึกฝนจนมีความคล่องตัว นึกอยากจะเข้าฌานเมื่อใดก็เข้าได้ เมื่อเข้าฌานไปแล้วจิตจะรู้อยู่ในสิ่งๆเดียว หรือในจุดๆเดียว ความรู้อะไรต่างๆไม่เกิดขึ้นในขณะนั้น ถึงแม้ว่าความรู้อะไรไม่เกิดขึ้น ผู้ภาวนาก็ไม่ควรเสียอกเสียใจและไม่ควรกลัวว่าจิตของตนจะไปติดสมถะ ความจริง เมื่อจิตนิ่งสงบลงไปสู่ความเป็นสมถะในขั้นอัปปนาสมาธิ อยู่ในขั้นฌานที่ ๔ โดยธรรมชาติของจิตที่อยู่ในฌานขั้นนี้ จะไม่มีความรู้ความเห็นอันใดปรากฏขึ้น นอกจากจิตจะไปรู้อยู่ในสิ่งๆเดียว คือรู้เฉพาะในจิตอันเดียวเท่านั้น ประกอบพร้อมด้วยความเบิกบานแจ่มใส สว่างไสวอยู่ภายในจิต จิตจะไม่มีความรู้เกิดขึ้น

    ถึงกระนั้นก็ตาม ถ้าผู้ภาวนาสามารถทำจิตให้เป็นไปดังเช่นที่กล่าวนี้บ่อยๆครั้งเข้า ถ้าต้องการให้จิตของท่านก้าวขึ้นสู่ภูมิแห่งวิปัสสนา โดยไม่ต้องไปหยิบยกเอาอะไรมาเป็นเครื่องพิจารณา เมื่อจิตถอนออกจากสมาธิขั้นฌานแล้วจะมีความรู้สึกสัมผัสรู้ว่ามีกาย ในเมื่อกายมีปรากฏขึ้น จิตจะมีความคิด เมื่อเกิดความคิดขึ้น ผู้ภาวนารีบกำหนดรู้ ตามความคิดนั้นไป ในตอนนี้จิตของเราจะคิดเรื่องบุญ เรื่องบาป เรื่องดี เรื่องชั่ว เรื่องกุศล เรื่องอกุศล เรื่องโลก เรื่องธรรม ปล่อยให้เขาคิดไปตามลำพังของเขา อย่าไปห้าม หน้าที่ของเราเพียงทำสติตามรู้ไปโดยถือเอาความคิดเป็นเครื่องรู้ของจิต เครื่องระลึกของสติอีกครั้งหนึ่ง ในเมื่อเราหมั่นอบรมทำสติตามรู้ความคิดหลังถอนจากสมาธิแล้ว ทำจนคล่องแคล่ว ทำจนชำนิชำนาญ จนสามารถทำสติตามทันความคิด เมื่อสติตามทันความคิดขึ้นมาเมื่อใด จิตก็จะสงบเป็นสมาธิ มีปีติ มีความสุข แล้วก็จะสงบละเอียดลงไปเป็นเอกัคคตา เช่นเดียวกับการภาวนาในเบื้องต้น ข้อที่ควรสังเกตมีอยู่อย่างหนึ่ง เมื่อจิตถอนออกจากอัปปนาสมาธิ พอสัมผัสรู้ว่ามีกาย จิตจะมีความรู้ขึ้นมา เมื่อเราทำสติตามรู้ความคิดนั้นไป สติจะตามความคิดและตามจ้องดูกันไปตลอดเวลา จิตเมื่อยิ่งคิดมากก็ยิ่งมีความสบาย เพราะจิตคิดด้วยพลังสมาธิที่ผ่านมาแล้ว แล้วเมื่อเราทำสติตามรู้ ตามทันความคิดนั้น ความคิดกลายเป็นตัวปัญญา ปัญญาคือความรู้ที่เกิดขึ้น ธรรมชาติของความรู้สึกนึกคิดย่อมมีเกิด มีดับ เมื่อผู้ภาวนาทำสติตามรู้ความคิดอยู่อย่างนั้น หนักๆเข้าจิตก็จะรู้ความเกิด ความดับ อะไรเกิด อะไรดับ ก็คือความคิดนั่นเอง จิตเป็นผู้เกิด จิตเป็นผู้ดับ ในเมื่อสติตามรู้ทันความเกิดดับของจิต จิตก็จะเกิดปัญญาขึ้นมา มีความรู้ มีความสำคัญมั่นหมายในสภาวะที่เกิดดับ-เกิดดับนั้นด้วยอนิจสัญญา คำว่าอนิจสัญญาคือความสำคัญมั่นหมายว่าไม่เที่ยง ในเมื่อจิตรู้สภาวะความไม่เที่ยงที่เกิดดับ จิตก็ก้าวขึ้นสู่ภูมิแห่งวิปัสสนา

    ดังนั้น ในเมื่อผู้ภาวนาทำจิตให้สงบนิ่งเป็นสมาธิบ่อยๆจิตก็ได้รับผลจากสมาธิ ได้รับความสุขจากสมาธิ หากพอจิตออกจากสมาธิก็รีบลุกออกจากที่นั่ง ถ้าทำอย่างนี้แล้วจิตก็ไปติดอยู่แค่ขั้นสมถะ จากที่เคยทดสอบและทดลองมาแล้ว ควรจะได้ใช้สติกำหนดตามความคิดที่เกิดขึ้นหลังจากที่จิตถอนออกมาจากสมาธิแล้ว ดังที่กล่าวแล้ว การทำสติกำหนดตามรู้ความคิด ผู้ภาวนาจะต้องมีความตั้งใจจดจ้อง เป็นการพิจารณาสภาวธรรมในแง่วิปัสสนากัมมัฏฐาน ขอให้ท่านนักปฏิบัติทั้งหลายพึงทำความเข้าใจอย่างนี้

    เมื่อทำจิตให้เป็นสมาธิ มีปีติ มีความสุข มีเอกัคคตา มีความสงบ จิตไปนิ่ง ว่างวางเฉยอยู่ อย่าไปภูมิอกภูมิใจความเป็นเพียงแค่นั้น เดี๋ยวจิตก็ติดสมถะ ไม่ก้าวขึ้นสู่วิปัสสนา เมื่อเป็นเช่นนั้นจะทำอย่างไร ก็ทำอย่างที่ได้อธิบายมาแล้ว คือเมื่อจิตถอนออกจากฌานมาสัมผัสรู้ว่ามีกาย ก็รีบทำสติตามรู้ความคิดนี้ทันที ความคิดจะเรื่องโลกเรื่องบาป เรื่องบุญอะไร ปล่อยให้เขาคิดไป อย่าไปห้าม ตามรู้ไปจนกว่าสติจะตามทันความคิด แม้ว่ามันจะคิดไม่หยุด ไม่เกิดความสงบอีกก็ตาม แต่ถ้าหากว่าสติตามทันกันไปเรื่อยๆเป็นอันใช้ได้ ถ้าความคิดที่เป็นจิตฟุ้งซ่าน คือจิตธรรมดาที่เราไม่มีสติ ยิ่งคิดไปยิ่งยุ่งในสมอง คิดไปเท่าไรยิ่งหนักอก คิดไปมากเท่าใดยิ่งวุ่นวาย แต่ถ้าคิดด้วยความมีสติสัมปชัญญะ โดยอาศัยพลังของสมาธิ ยิ่งคิดก็ยิ่งปลอดโปร่ง ยิ่งคิดก็ยิ่งมีความเพลิดเพลิน คิดไปเสวยปีติและความสุขไปอีก อันนี้เป็นลักษณะของจิตที่เดินวิปัสสนากัมมัฏฐาน

    และมีปัญหาที่จะพึงทำความเข้าใจอีกอย่างหนึ่ง นักภาวนาทั้งหลาย ในการเริ่มภาวนาในตอนต้นๆนี้ เช่น การบริกรรมภาวนา
     
  9. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097
    ขอลา 5 วันน๊า....เดี๋ยวมา [​IMG]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 10 ตุลาคม 2008
  10. นายสติ

    นายสติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มีนาคม 2007
    โพสต์:
    911
    ค่าพลัง:
    +4,285
    กรณีนี้ต้องขอชี้แจงและขออนุญาตคุณพันวฤทธิ์บอกกล่าวทางกระทู้เสียหน่อยนะครับ

    เนื่องจากเมื่อคืนวันที่ 9 ต.ค. 2551 คุณพ่อของคุณพันวฤทธิ์ได้ถึงแก่กรรมขณะนี้ได้ตั้งศพสวดพระอภิธรรมที่วัดชมนิมิตร อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการเป็นเวลา 3 วันและจะฌาปนกิจศพในวันจันทร์ที่ 13 ต.ค. 2551 เวลา 16.00 น.ท่านใดที่จะไปร่วมสวดพระอภิธรรมหรือฌาปนกิจศพ ก็ขอเรียนเชิญนะครับ ก็ขอชี้แจงมาให้ทุกๆท่านได้ทราบทั่วกันนะครับ

    ในนามของคณะกรรมการ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ขอแสดงความเสียใจมายังคุณพันวฤทธิ์และครอบครัวไว้ ณ ที่นี้ด้วยครับ
     
  11. narin96

    narin96 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 กุมภาพันธ์ 2008
    โพสต์:
    113
    ค่าพลัง:
    +28
    ขอแสดงความเสียใจมายังคุณพันวฤทธิ์และครอบครัวด้วยครับ
     
  12. khongbeng

    khongbeng เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    234
    ค่าพลัง:
    +657
    ขอแสดงความเสียใจมายังพี่พันวฤทธิ์และครอบครัวด้วยครับ....
     
  13. narongwate

    narongwate เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2007
    โพสต์:
    885
    ค่าพลัง:
    +3,840
    เราพูดถึงอยู่เสมอถึงคำว่า
     
  14. narongwate

    narongwate เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2007
    โพสต์:
    885
    ค่าพลัง:
    +3,840
    [​IMG]
     
  15. narongwate

    narongwate เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2007
    โพสต์:
    885
    ค่าพลัง:
    +3,840
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD>
    "ดูจิต" มีสติอย่างเบิกบาน ​
    </TD><TD> </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="95%"><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="3%"> </TD><TD width="97%"> </TD></TR><TR><TD> </TD><TD vAlign=top>
    มาฝึกสติกันเถอะ
    ปลูกสติ ... ให้เบิกบาน
    [​IMG]
    การดูจิต (การฝึกสติ)
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>

    การดูจิตคืออะไร ?

    พูดว่า
     
  16. kratium

    kratium เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 มกราคม 2007
    โพสต์:
    484
    ค่าพลัง:
    +3,670
    ขอแสดงความเสียใจกับพี่พันวฤทธิ์และครอบครัวค่ะ เพื่อนเทียมก็พึ่งเสียคุณแม่ไปวันนี้ เลยเข้ามาหาธรรมะที่ให้สติ หรือการวางจิต เมื่อเผชิญกับการพลัดพราก ใครมีธรรมะดีๆ ช่วยส่งมาให้อ่านด้วยนะคะ จะส่งให้เพื่อนค่ะ
    ขอบคุณ และอนุโมทนาค่ะ
     
  17. Shinray01

    Shinray01 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    1,675
    ค่าพลัง:
    +2,309
    ขอแสดงความเสียใจด้วยครับ บ้านพี่เขาอย่แถวสมุทรปราการหรอครับ

    บ้านผมอยู่ปากซอยวัดชังเรืองเองครับ
     
  18. narongwate

    narongwate เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2007
    โพสต์:
    885
    ค่าพลัง:
    +3,840
    อันนี้ไม่ทราบว่าจะตรงประเด็นของคุณ kratium หรือเปล่านะครับแต่ลองอ่านดูก็ได้ครับ


    [​IMG]

    [​IMG]

    หน้าที่เหลือลองดูตาม link นี้นะครับ
    http://www.dhammajak.net/board/viewtopic.php?t=13935

    โมทนาบุญกับทุก ๆ ท่านครับ
    นายโอ๊ต
     
  19. narongwate

    narongwate เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2007
    โพสต์:
    885
    ค่าพลัง:
    +3,840
    <TABLE width="80%" align=center border=0><TBODY><TR><TD align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE borderColor=#f7f7f7 width="80%" align=center border=1><TBODY><TR><TD vAlign=top borderColor=#ffffff bgColor=#f7f7f7><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD align=middle bgColor=#99cc00 height=23>มาแล้วก็ไป</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE width="94%" align=center border=0><TBODY><TR><TD></TD></TR><TR><TD>ในอดีตกาล มีครอบครัวหนึ่งประกอบด้วย บิดา มารดา บุตร ธิดา ลูกสะใภ้ และสาวใช้ ทั้งหมดเป็นผู้ที่พิจารณาถึงความตายอยู่เนืองๆ
    วันหนึ่ง บิดากับบุตรออกไปไถนา บุตรถูกงูเห่ากัดตายขณะกำลังสุมหญ้าแห้ง บิดาเห็นบุตรตายแล้ว ได้วานบุรุษผู้ผ่านมาให้ไปบอกครอบครัวของตน ว่า จงอาบน้ำ นุ่งผ้าขาว จัดอาหารสำหรับคนเดียวและดอกไม้ของหอม แล้วรีบมา
    เมื่อคนในบ้านมาถึง บิดาก็อาบน้ำ บริโภคอาหาร จากนั้นก็ยกร่างของบุตร ขึ้นเผาบนเชิงตะกอน เหมือนเผาท่อนไม้ ไม่เศร้าโศก ไม่เดือดร้อน ยืนระลึกถึงความไม่เที่ยงแห่งชีวิต
    ชายผู้หนึ่งมาพบเห็นเข้า จึงถามถึงสาเหตุที่ทำให้พวกญาติไม่เศร้าโศก
    บิดาตอบว่า บุตรของเราละสรีระอันคร่ำคร่าไปดุจงูลอกคราบ ร่างกายของ เขาใช้อะไรไม่ได้ เขาถูกเผาอยู่ ย่อมไม่รู้สึกถึงความร่ำไรของพวกญาติ เพราะ ฉะนั้น เราจึงไม่เศร้าโศกถึงเขา ที่เกิดอันใดของเขามีอยู่ เขาก็ไปสู่ที่เกิดอันนั้นแล้ว
    มารดาตอบว่า บุตรของดิฉันมาเองจากโลกอื่นโดยที่ดิฉันไม่ได้เชิญ เมื่อจะไปจากโลกนี้ ดิฉันก็มิได้อนุญาตให้เขาไป เขามาอย่างไรก็ไปอย่างนั้น ทำไมจะต้องร่ำไรในการจากไปของเขาเล่า เขาถูกเผาอยู่ ย่อมไม่รู้สึกถึงความร่ำไร ของพวกญาติ เพราะฉะนั้น ดิฉันจึงไม่ร้องไห้ถึงเขา
    น้องสาวตอบว่า ถ้าดิฉันร้องไห้ก็จะผ่ายผอม ความไม่สบายใจก็จะพึงมีแก่ญาติมิตรยิ่งขึ้น พี่ชายของดิฉันถูกเผาอยู่ ย่อมไม่รู้สึกถึงความร่ำไรของพวกญาติ เพราะฉะนั้น ดิฉันจึงไม่ร้องไห้ถึงเขา
    ภรรยาตอบว่า ผู้ใดเศร้าโศกถึงคนที่ตายไปแล้ว ผู้นั้นก็เหมือนทารกร้องไห้ถึงพระจันทร์อันลอยอยู่ในอากาศ สามีดิฉันถูกเผาอยู่ ย่อมไม่รู้สึกถึงความร่ำไรของพวกญาติ เพราะฉะนั้น ดิฉันจึงไม่ร้องไห้ถึงเขา
    สาวใช้ตอบว่า หม้อน้ำที่แตกแล้วจะประสานให้ติดอีกไม่ได้ ฉันใด การเศร้าโศกถึงผู้ล่วงลับไปแล้ว ก็เหมือนอย่างนั้น นายของดิฉันถูกเผาอยู่ ย่อมไม่ รู้สึกถึงความร่ำไรของพวกญาติ เพราะฉะนั้น ดิฉันจึงไม่ร้องไห้ถึงท่าน
    (อุรคเปตวัตถุ ๒๖/๙๗)
    บุคคลเหล่านี้ไม่เศร้าโศก ในเวลาที่น่าจะเศร้าโศก เพราะทุกคนเจริญมรณสติ คือพิจารณาถึงความตายเป็นประจำจนจิตใจยอมรับความจริงที่ว่า ทุกคนมีความตายเป็นธรรมดา ล่วงพ้นความตายไปไม่ได้ การเจริญมรณสติเป็นประจำ เท่ากับได้ฉีดวัคซีนป้องกันความโศก ทำให้ไม่เศร้าโศกเมื่อต้องสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก และทำให้ตนเองไม่ต้องเป็นทุกข์เนื่องจากความกลัวตาย
    นอกจากนี้ เรายังได้คติเตือนใจว่า เมื่อมาเกิดในโลกนี้ ต่างก็มากันเอง ไม่ต้องมีใครเชิญ เมื่อตายจากโลกนี้ไปสู่โลกอื่น ก็ไม่มีใครห้ามใครได้ ดังนั้นจะเศร้าโศกเสียใจไปทำไม เมื่อทุกคนต่างไปตามยถากรรมของตน
    <TABLE cellSpacing=2 width="80%" align=center border=0><TBODY><TR><TD>วันเดือนปี ที่ผ่านไป คล้ายความฝัน</TD><TD>ชีวิตพลัน หมดไป น่าใจหาย</TD></TR><TR><TD>มวลญาติมิตร เงินทอง ของมากมาย</TD><TD>ต้องมลาย จากกัน เหมือนฝันเอย</TD></TR><TR><TD></TD><TD>
    (ไม่ทราบนามผู้แต่ง)​


    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    ความสุขในโลกเปรียบเหมือนความฝันและของขอยืมเขามาทรัพย์สมบัติ ข้าวของเงินทองหมดทั้งสิ้นไม่ใช่ของเรา เป็นของกลางสำหรับแผ่นดิน ตายแล้ว ทิ้งหมด เอาไปไม่ได้ อย่าหลงมัวเมาไปเลย แต่ความแก่ ความเจ็บ ความตายนี้ เป็นของเราแท้ๆ หนีไม่พ้น

    (สมเด็จพระวันรัต ทับ พุทฺธสิริ)

    </TD></TR><TR><TD>........................
    ขอขอบคุณ
    http://www.dhammajak.net/book/soka/soka08.php


    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  20. narongwate

    narongwate เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2007
    โพสต์:
    885
    ค่าพลัง:
    +3,840
    <TABLE width="80%" align=center border=0><TBODY><TR><TD align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE borderColor=#f7f7f7 width="80%" align=center border=1><TBODY><TR><TD vAlign=top borderColor=#ffffff bgColor=#f7f7f7><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD align=middle bgColor=#99cc00 height=23>โศกไปไย</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE width="94%" align=center border=0><TBODY><TR><TD></TD></TR><TR><TD>ในอดีตกาล พระเจ้าทสรถเสวยราชย์ในกรุงพาราณสี ทรงมีพระโอรสองค์ใหญ่ทรงพระนามว่า รามบัณฑิต พระโอรสองค์น้องทรงพระนามว่า ลักขณกุมาร พระธิดาทรงพระนามว่า สีดาเทวี
    ต่อมา พระอัครมเหสีสิ้นพระชนม์ พระราชาทรงตั้งสตรีอื่นเป็นพระอัครมเหสี พระนางได้ประสูติพระโอรสทรงพระนามว่า ภรตกุมาร พระราชาทรง เสน่หาในพระโอรส จึงประทานพรแก่พระนาง พระนางทรงอาศัยพระพรนั้นทูลขอราชสมบัติให้พระโอรสของพระนาง เมื่อพระราชาไม่ประทานให้ ก็ทูลขอ อยู่เนืองๆ
    พระราชาทรงเกรงว่าพระนางจะประทุษร้ายพระโอรสทั้งสอง จึงให้พระโอรส ทั้งสองหลบหนีไปอยู่ที่อื่น แล้วค่อยกลับมาครองราชย์เมื่อพระราชาสวรรคตแล้ว พระโอรสทั้งสองรวมทั้งพระนางสีดา ได้เสด็จไปสร้างอาศรมอยู่ในป่า ทรงเลี้ยง พระชนมชีพด้วยผลไม้ต่างๆ
    เมื่อพระราชาสวรรคต พระเทวีมีพระดำรัสให้ถวายเศวตฉัตรแด่พระภรต แต่พวกอำมาตย์ต้องการถวายให้พระรามบัณฑิต พระภรตจึงเสด็จไปป่า เชิญพระรามบัณฑิตมาครองราชย์ เมื่อไปถึงทรงแจ้งข่าวการสวรรคตของ พระราชบิดาให้ทรงทราบ
    พระลักขณะและพระนางสีดา พอได้สดับข่าวพระราชบิดาสวรรคตก็ทรง สลบไป แต่พระรามบัณฑิตมิได้ทรงเศร้าโศกเลย พระภรตจึงตรัสถามถึงสาเหตุ ที่พระรามบัณฑิตไม่ทรงเศร้าโศก
    พระรามบัณฑิตตรัสตอบว่า คนเราไม่สามารถจะรักษาชีวิตที่คนเป็นอันมาก พร่ำเพ้อถึง นักปราชญ์ผู้รู้แจ้งจะทำตนให้เดือดร้อนทำไม
    ทั้งเด็ก ผู้ใหญ่ คนพาล บัณฑิต คนมั่งมี คนยากจน ล้วนบ่ายหน้าไปหา มฤตยูทั้งนั้น
    เวลาเช้าเห็นกันอยู่มากคน พอถึงเวลาเย็น บางคนก็ไม่เห็นกัน เวลาเย็น เห็นกันอยู่มากคน พอถึงเวลาเช้า บางคนก็ไม่เห็นกัน
    ผลไม้ที่สุกแล้ว ต้องหล่นลงเป็นแน่ ฉันใด สัตว์ทั้งหลายเกิดมาแล้ว ต้องตายเป็นแน่ ฉันนั้น
    ถ้าผู้ที่คร่ำครวญหลงเบียดเบียนตนอยู่ จะพึงได้รับประโยชน์สักเล็กน้อยไซร้ บัณฑิตผู้มีปรีชาก็จะพึงทำเช่นนั้นบ้าง
    ผู้เบียดเบียนตนเองอยู่ ย่อมซูบผอมผิวพรรณเศร้าหมอง ผู้ที่ตายไปแล้ว ไม่ได้ช่วยคุ้มครองรักษาด้วยการร่ำไห้นั้นเลย การร่ำไห้ไร้ประโยชน์
    คนฉลาดพึงดับไฟที่ไหม้เรือนด้วยน้ำ ฉันใด นักปราชญ์ผู้ได้รับการศึกษามาดี มีปัญญาเฉลียวฉลาด พึงรีบกำจัดความโศกที่เกิดขึ้นโดยพลันเหมือนลมพัดปุยนุ่น ฉะนั้น
    คนๆ เดียวเท่านั้นตายไป คนๆ เดียวเท่านั้นเกิดในตระกูล ส่วนการคบหากันของสรรพสัตว์ มีการเกี่ยวข้องกันเป็นอย่างยิ่ง
    เพราะเหตุนั้นแล ความเศร้าโศกแม้จะมากมาย ก็ไม่ทำให้จิตใจของนักปราชญ์ผู้เป็นพหูสูต (เล่าเรียนมาก) มองเห็นโลกนี้และโลกหน้า รู้ทั่วถึงธรรม ให้เร่าร้อนได้
    เมื่อฝูงชนฟังธรรมเทศนาอันประกาศความไม่เที่ยงนี้แล้วก็พากันคลายโศก ต่อจากนั้น พระภรตกุมารทูลเชิญพระรามบัณฑิตไปครองราชสมบัติในกรุงพาราณสี
    (ทสรถชาดก ๒๗/๑๕๖๕-๑๕๗๔)
    ในเรื่องนี้ พระรามบัณฑิตทรงเตือนสติฝูงชนให้คลายโศก โดยตรัสว่า ทุกคน เกิดมาแล้วต้องตาย เปรียบเหมือนผลไม้สุกต้องร่วงหล่นจากต้น แต่ไม่รู้ว่าเวลาใด นี้เป็นกฎธรรมดาที่ทุกคนต้องรับรู้และยอมรับ ผู้ใดไม่ยอมรับความจริงนี้ ย่อมทุกข์ใจเปล่าๆ การร้องไห้คร่ำครวญไม่อาจทำประโยชน์หรือความเจริญให้แก่ผู้ที่ยังอยู่และผู้ที่จากไป ดังนั้นคนที่ฉลาดก็ควรรีบกำจัดความโศกเสีย
    <TABLE cellSpacing=2 width="80%" align=center border=0><TBODY><TR><TD>อันความตาย ชายนารี หนีไม่พ้น</TD><TD>ถึงมีจน ก็ต้องตาย วายเป็นผี</TD></TR><TR><TD>ถึงแสนรัก ก็ต้องร้าง ห่างทันท</TD><TD>ไม่วันนี้ ก็วันหน้า จริงหนาเรา</TD></TR><TR><TD></TD><TD></TD></TR></TBODY></TABLE>
    ชีวิตคนเราเปรียบเหมือนเมล็ดพืชที่ตั้งอยู่บนปลายเหล็กแหลม จะร่วงหล่น ลงมาแสนจะง่ายดาย เราจะต้องจากกัน ทิ้งกันไปอย่างแน่นอน เขาไม่ทิ้งเรา เราก็ต้องทิ้งเขาไปก่อน ทั้งๆ ที่เราไม่อยากทิ้งก็ต้องทิ้ง ทิ้งร่างที่ไร้วิญญาณดุจขอนไม้ ให้เขาเอาใส่โลงแล้วเผาให้เหลือแต่ขี้เถ้า เราจะต้องหวงต้องห่วงอะไรกันมากมายไปอีกเล่า
    </TD></TR><TR><TD>........................
    ขอขอบคุณ
    http://www.dhammajak.net/book/soka/soka09.php


    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     

แชร์หน้านี้

Loading...