ขอเชิญร่วมทำบุญสงเคราะห์พระภิกษุสงฆ์อาพาธ

ในห้อง 'ตลาด พระเครื่องเพื่อการกุศล' ตั้งกระทู้โดย พันวฤทธิ์, 29 พฤศจิกายน 2007.

  1. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097
    พระพุทธประวัติ ตอนที่ ๕๕ | ทรงรำพึง
    <!-- Main -->พระพุทธประวัติ ตอนที่ ๕๕ : ทรงรำพึง


    ทรงรำพึง

    เมื่อตปุสสะ และภัลลิกะ ทูลลากลับไปแล้ว ทรงเสด็จจากร่มไม้ราชายตนะ ไปประทับยังร่มไม้อชปาลนิโครธอีกครั้งหนึ่ง ทรงพระดำริถึงพระองค์ว่า การดำรงพระองค์อยู่โดยความเป็นผู้ไม่มีที่เคารพกราบไหว้ เป็นความลำบาก พระองค์ควรจะเคารพกราบไหว้ผู้ใดดี เมื่อได้ทรงพิจารณาเลือกหาผู้ที่ทรงคุณสมบัติยิ่งกว่า ควรที่พระองค์จะทรงเคารพ ก็มิได้ทรงมองเห็นใครผู้ใดผู้หนึ่ง ซึ่งเป็นผู้สูงด้วยคุณธรรม ควรแก่การคารวะ

    ทรงพระดำริว่า พระโลกุตตรธรรม ที่ตถาคตได้ตรัสรู้นี้ เป็นปูชนียธรรมอันประเสริฐสุด ควรแก่การเคารพบูชาอย่างยิ่ง แม้พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทั้งหลายที่เสด็จดับขันธ์ปรินิพพานไปแล้วทุกๆพระองค์ ก็ทรงเคารพพระสัทธรรม ดังนั้น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงทรงเคารพพระธรรม ทรงเทิดทูนพระธรรมขึ้นเป็นที่เคารพบูชา


    [​IMG]


    ต่อจากนั้น ก็ทรงได้พิจารณาถึงพระธรรม ที่พระองค์ได้ทรงตรัสรู้ทั้งหมดนั้น ว่าเป็นคุณชาติละเอียด เป็นสิ่งลึกซึ้งสุขุมยอดยิ่ง ยากที่ชาวโลกผู้ลุ่มหลงในกามคุณ ผู้มีปัญญาน้อย มีความเพียรน้อย แม้จะได้สดับแล้ว จะใช้ปัญญารู้ตามได้ ทำให้พระองค์ทรงท้อพระทัยในอันจะแสดงธรรมโปรดประชากร

    ขณะนั้น ท้าวสหัมบดีพรหม ทราบในพระพุทธปริวิตกเช่นนั้น จึงตกพระทัยเป็นอย่างยิ่ง ถึงกับทรงเปล่งศัพท์สำเนียงอันดังถึงสามครั้งว่า "โลกจะฉิบหายในครั้งนี้" (ท่านผู้รจนาคัมภีร์เกี่ยวกับพระพุทธเจ้าได้แต่งเรื่องสาธกให้เห็นเป็นปุคคลาธิษฐานประกอบเข้าในตอนนี้ว่า พระดำริของพระพุทธเจ้าเรื่องนี้ได้ทราบไปถึงท้าวสหัมบดีพรหมในเทวโลก ท้าวสหัมบดีพรหมจึงตกพระทัยเป็นอย่างยิ่ง ถึงกับทรงเปล่งศัพท์สำเนียงอันดังถึงสามครั้งว่า "โลกจะฉิบหายในครั้งนี้" )

     
  2. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097
    ภาพ พลังแห่งรัก...ที่ยิ่งใหญ่ประทับใจ


    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=500 align=center bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD style="BACKGROUND-POSITION: right bottom; BACKGROUND-IMAGE: url(../bg/pagebg0.jpg); BACKGROUND-REPEAT: no-repeat"><TABLE align=center border=0><TBODY><TR><TD>
    [​IMG]


    ภาพ พลังแห่งรัก...ที่ยิ่งใหญ่ประทับใจ
    ************************

    รักใดใด ในโลกนี้ ที่ว่ารัก

    ยังน้อยนัก เปรียบรักแม่ แท้ยิ่งใหญ่

    รักแม่จริง ไม่ทิ้งลูก ครามีภัย

    แม่ช่วยให้ ลูกน้อยรอด อยู่ปลอดภัย



    แม่กระรอก พาลูกรัก วิ่งพักเล่น

    ลูกยังเป็น เด็กอ่อน ก่อนเคลื่อนไหว

    ตกลงพื้น สุนัขร้าย ตะครุบไป

    ขย้ำไว้ ในกรงเล็บ เจ็บชีวัน



    "แม่จ๋าแม่ ช่วยหนูด้วย" ลูกน้อยร้อง

    แม่จึงต้อง กระโดดช่วย ลูกจอมขวัญ

    "รีบหนีไป ไม่ต้องห่วง ดวงชีวัน"

    แม่สู้พลัน แม้ชีวัน อาจบรรลัย



    @ อ่านต่อ.....เลือนลง
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top align=right width=9 background=pic/b_line_right.gif>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top width=9 background=pic/b_line_ver1.gif></TD><TD background=pic/b_line_ver2.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=right width=9 background=pic/b_line_ver2.gif></TD></TR><TR><TD vAlign=top width=9 background=pic/b_line_left.gif>[​IMG]</TD><TD align=right></TD><TD vAlign=top align=right width=9 background=pic/b_line_right.gif>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top width=9 height=9></TD><TD vAlign=top background=pic/b_line_bottom.gif height=9>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=right width=9 height=9></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=500 align=center bgColor=#dddddd border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR bgColor=#ffffff><TD><TABLE height=30 cellSpacing=3 cellPadding=3 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD style="BACKGROUND-POSITION: right bottom; BACKGROUND-IMAGE: url(../bg/pagebg0.jpg); BACKGROUND-REPEAT: no-repeat">
    [​IMG]


    <TABLE align=center border=0><TBODY><TR><TD>ด้วยพลัง แห่งรัก จากใจแม่

    ลูกน้อยแปร วิ่งหนี กรงเล็บใหญ่

    ปีนขึ้นต้น มะพร้าวได้ โดยปลอดภัย

    แม่ล่อให้ สุนัขร้าย ได้ยืนงง



    ภาพแม่ลูก กอดกันไว้ ให้อกสั่น

    แม่ปลอบขวัญ เจ้าลูกน้อย ไม่ลืมหลง

    ขวัญมานะ ขวัญแม่มา อย่าทนง

    อย่าได้ปลง ประมาท พลาดอาจตาย



    ลูกอย่ามัว เพลิดเพลิน ดินวิ่งเล่น

    กระโดดเป็น ไม่มีภัย บนต้นไม้

    อย่าลงเล่น บนพื้นดิน อันตราย

    โลกนั้นร้าย ให้ระวัง นะลูกเอย.



    ****************


    @ บทกวีธรรม...บรรยายภาพ

    โดย....ธรรมานุสารี
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    ขอขอบคุณมากๆ
    http://www.dhammathai.org/kaveedhamma/view.php?No=2162


    </TD></TR></TBODY></TABLE>ดูจากภาพแล้วรักแม่มากขึ้นอีกมั๊ยล่ะ....เฮ้อ.คิดถึงแม่</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  3. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097
    ก่อนจบ จะขอฝากอีกเรื่องหนึ่ง คือ ความหมายของการ "อนุโมทนา" กับคำว่า "สาธุ" ซึ่งในเวบนี้ มีการใช้กันมาก เรามาดูความหมายของ คำ 2 คำนี้กัน เลยลอกทั้งกระทู้ ทั้งผู้ถามและผู้ตอบมาให้ดูครับ เช่นคำว่า

    "ขออนุโมทนา หรือ อนุโมทนา ใช้เมื่อผู้ผู้อื่นกระทำความดี ทางกาย วาจา ใจ

    เช่น เห็นเขาให้ทาน รักษาศีล มีเมตตา เป็นต้น"


    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top width=600><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" align=center><TBODY><TR><TD bgColor=#ffe082 colSpan=2 height=26>คำว่าสาธุกับอนุโมทนา</TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR><TR><TD bgColor=#fefbe7 height=22></TD><TD align=right bgColor=#fefbe7 height=22><INPUT class=nostyle type=checkbox align=absMiddle value=3777 name=t_sel> </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=8 width=580 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>๑. คำว่าสาธุกับอนุโมทนาความหมายเหมือนกันรึปล่าวคับ?

    ๒. แล้วควรแยกใช้กับแต่ล่ะบุคคลหรือปล่าวคับ

    .......ขออนุโมทนาล่วงหน้า.......




    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD bgColor=#eeeeee></TD><TD width=1 bgColor=#999999></TD><TD align=right width=600 bgColor=#eeeeee height=22>อ่าน : 236 วันที่ 22-05-2550 </TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=3 height=1></TD></TR><TR><TD bgColor=#996600 colSpan=3 height=3></TD></TR></TBODY></TABLE></B>


    <TABLE width=780 align=center><TBODY><TR><TD></TD></TR></TBODY></TABLE>

    <TABLE borderColor=#eeeeee cellSpacing=1 cellPadding=2 width=780 align=center bgColor=#eeeeee border=1><TBODY><TR borderColor=#999999 bgColor=#ffffff><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#999999 colSpan=3 height=1></TD></TR><TR><TD vAlign=top background=/images/bg/audio_bg.jpg><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=2 width="100%" align=center><TBODY><TR><TD align=middle bgColor=#eeeeee height=24>study</TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc height=1></TD></TR><TR><TD align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width=1 bgColor=#999999></TD><TD vAlign=top width=600><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=2 width="100%" align=center><TBODY><TR bgColor=#eeeeee><TD height=22>ความคิดเห็นที่ 1 </TD><TD align=right height=22><INPUT class=nostyle type=checkbox align=absMiddle value=1 name=c_sel[1]> </TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=8 width=580 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>ขอเชิญอ่านที่นี่
    </B>
    </B>

    </B>



    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD bgColor=#eeeeee></TD><TD width=1 bgColor=#999999></TD><TD align=right width=600 bgColor=#eeeeee height=22>วันที่ 23-05-2550 </TD></TR><TR><TD bgColor=#999999 colSpan=3 height=1></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></B>
    </B>



    <TABLE borderColor=#eeeeee cellSpacing=1 cellPadding=2 width=780 align=center bgColor=#eeeeee border=1><TBODY><TR borderColor=#999999 bgColor=#ffffff><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#999999 colSpan=3 height=1></TD></TR><TR><TD vAlign=top background=/images/bg/audio_bg.jpg><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=2 width="100%" align=center><TBODY><TR><TD align=middle bgColor=#eeeeee height=24>wannee.s</TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc height=1></TD></TR><TR><TD align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width=1 bgColor=#999999></TD><TD vAlign=top width=600><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=2 width="100%" align=center><TBODY><TR bgColor=#eeeeee><TD height=22>ความคิดเห็นที่ 2 </TD><TD align=right height=22><INPUT class=nostyle type=checkbox align=absMiddle value=2 name=c_sel[2]> </TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=8 width=580 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>ถ้าเห็นใครทำความดี เราก็ยินดี อนุโมทนากับเขา จะพูดออกมาทางวาจาก็ได้ ไม่พูด


    ก็ได้ มีความรู้สึกยินดีอยู่ในใจก็เป็นกุศลจิตที่เรียกว่าอนุโมทนา ส่วนคำว่า สาธุ คือ



    การรับว่าดีแล้ว ๆ เช่น พระภิกษุแสดงธรรมจบ มนุษย์ เทวดา ให้คำ สาธุ สาธุ จนถึง


    พรหมโลกค่ะ










    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD bgColor=#eeeeee></TD><TD width=1 bgColor=#999999></TD><TD align=right width=600 bgColor=#eeeeee height=22>วันที่ 23-05-2550 </TD></TR><TR><TD bgColor=#999999 colSpan=3 height=1></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></B>​



    <B><TABLE borderColor=#eeeeee cellSpacing=1 cellPadding=2 width=780 align=center bgColor=#eeeeee border=1><TBODY><TR borderColor=#999999 bgColor=#ffffff><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#999999 colSpan=3 height=1></TD></TR><TR><TD vAlign=top background=/images/bg/audio_bg.jpg><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=2 width="100%" align=center><TBODY><TR><TD align=middle bgColor=#eeeeee height=24>อารายเนี่ย</TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc height=1></TD></TR><TR><TD align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width=1 bgColor=#999999></TD><TD vAlign=top width=600><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=2 width="100%" align=center><TBODY><TR bgColor=#eeeeee><TD height=22>ความคิดเห็นที่ 3 </TD><TD align=right height=22><INPUT class=nostyle type=checkbox align=absMiddle value=3 name=c_sel[3]> </TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc colSpan=2 height=1></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=8 width=580 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>สาธุ นี้ มีหลายความหมาย ดังนี้
    1. วอนขอ
    </B>
    2. รับ



    3. ปลอบใจ



    4. ดี




    อนุโมทนา หมายถึง ยินดีในกุศลที่ผู้อื่นกระทำ

    ดังนั้น สาธุกับอนุโมทนา บางนัยมีความหมายเหมือนกัน บางนัยมีความหมายต่างกันครับ

    สาธุ กับ อนุโมทนามีความหมายเหมือนกัน ในความหมายของสาธุ ที่แปลว่า รับ คือ รับด้วย






    ความยินดีในสิ่งนั้น(กุศล) รับว่าดีแล้วนั่นเอง


    พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย พุทธวงศ์ เล่ม ๙ ภาค ๒ - หน้าที่ 132

    สาธุ ใช้ในอรรถ รับ ได้ในประโยคเป็นต้นว่าสาธุ

    ภนฺเตติ โข โส ภิกฺขุ ภควโต ภาสิตํ อภินนฺทิตฺวา อนุโมทิตฺวา
    ภิกษุรูปนั้นยินดีอนุโมทนาภาษิตของพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า ดีแล้วพระเจ้าข้า.







    แล้วควรแยกใช้กับแต่ล่ะบุคคลหรือปล่าวครับ

    ใครใช้ก็ได้ แม้พระพุทธเจ้าก็ใช้คำว่า สาธุ แม้พระสาวกก็ใช้คำว่า สาธุและอนุโมทนาครับ



    หรือแม้เทวดา มนุษย์ก็ใช้คำว่า สาธุ หรือ อนุโมทนา



    จึงไม่แยกใช้ว่า สาธุใช้กับคนนี้อนุโมทนาใช้กับคนนี้ครับ


    ขอนอบน้อมแด่พระรัตนตรัย







    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></B>​

    ขอขอบคุณ

    http://www.dhammahome.com/front/webboard/show.php?id=3777
    </B>
    </B>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 25 กันยายน 2008
  4. นายสติ

    นายสติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มีนาคม 2007
    โพสต์:
    911
    ค่าพลัง:
    +4,285
    พระซุ้มไทรย้อย ทั้ง 2 พิมพ์ที่พร้อมจะนำไปแจกให้ฟรีๆ ในวันทำบุญอาทิตย์ที่ 28 กันยายน 2551 นี้สำหรับท่านที่ไปร่วมทำบุญด้วยกันเป็นประจำที่โรงพยาบาลสงฆ์ ส่วนท่านที่ไม่ได้ไปก็ขอมาที่คุณโสระแล้วกันนะครับ
    ขอกราบขอบพระคุณและโมทนาในบุญกุศลที่ทุกๆท่านได้กระทำความดีมาแล้วด้วยครับ

    โมทนา สาธุ โมทนา สาธุ โมทนา สาธุ


    ภาพ พระซุ้มไทรย้อย ที่จะนำไปแจกฟรี

    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  5. narongwate

    narongwate เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2007
    โพสต์:
    885
    ค่าพลัง:
    +3,840
    ลูก ๆ ทุกคน...ก็ได้รู้กันอยู่แล้วว่า ความหวังของแม่ที่มีต่อลูก มีอยู่ 3 หวัง คือ
    1. ยามแก่เฒ่า หวังเจ้า เฝ้ารับใช้
    2. ยามป่วยไข้ หวังเจ้า เฝ้ารักษา
    3. เมื่อถึงยาม ต้องตาย วายชีวาหวังลูกช่วย ปิดตา เมื่อสิ้นใจ

    ทีนี้มาดูตัวอย่าง...บุคคลที่เป็นยอดกตัญญูที่สุด คือในหลวงของเราครับนอกจากพระองค์ท่านจะเป็นยอดพระมหากษัตริย์ของโลก...เป็น The KING of KINGS แล้วพระองค์ยังเป็นกษัตริย์ยอดกตัญญูด้วย
    ความหวังของแม่ทั้ง 3 หวังในหลวงปฏิบัติได้ครบถ้วน...สมบูรณ์ เป็นตัวอย่างที่ดีที่สุดในหลวงทรงทำกับแม่อย่างไร เชิญครับ........
    หวังที่ 1. ยามแก่เฒ่า ...หวังเจ้า....เฝ้ารับใช้...จะเห็นภาพที่สมเด็จย่าเสด็จไปในที่ต่าง ๆ แล้วมีในหลวงประคองเดินไปตลอดทาง
    ตอนสมเด็จย่าเสด็จไปไหนเนี่ย..มีคนเยอะแยะ...มีทหาร...มีองครักษ์...มีพยาบาล...ที่คอยประคองสมเด็จย่าอยู่แล้วแต่ในหลวงบอกว่า
    "ไม่ต้อง...คนนี้เป็นแม่เรา...เราประคองเอง"
    ตอนเล็ก ๆแม่ประคองเรา สอนเราเดิน หัดให้เราเดิน เพราะฉะนั้นตอนนี้แม่แก่แล้ว..เราต้องประคองแม่เดิน เพื่อเทิดพระคุณท่าน..ไม่ต้องอายใคร
    เป็นภาพที่ประทับใจมาก เจ้าฟ้าเจ้าแผ่นดิน ท่านกตัญญูต่อแม่ ประคอง
    แม่เดิน..ประชาชนที่มาเฝ้ารับเสด็จ ยกมือขึ้นสาธุ..แซ่ซ้องสรรเสริญ "กษัตริย์ยอดกตัญญู" ในหลวงเดินประคองแม่ คนเห็นแล้ว ประทับใจถ่ายรูป..เอามาทำปฏิทินไปติดไว้ที่บ้าน เพื่อแสดงความเคารพ กราบไหว้

    ทีนี้ลองมาดูคนบางคน เวลาออกไปไหน แต่งตัวโก้ แต่งตัวสวย แต่เวลาเดินไม่มีใครประคองแม่ กลัวไม่โก้ กลัวไม่สวยข้าราชการ...แต่งเครื่องแบบเต็มยศ..แต่เวลาเดิน..ไม่กล้าประคองแม่..กลัวไม่สง่า...กลัวเสียศักดิ์ศรี...การประคองแม่ให้เป็นเรื่องของคนรับใช้
    เวลาทำดี ไม่กล้าทำ ...อาย...แต่เวลาทำชั่ว...กล้า...ไม่อาย...
    หลังงานพระบรมศพสมเด็จย่า..เสร็จสิ้นลงแล้ว..ราชเลขา..ของสมเด็จย่า..มาแถลงในที่ประชุม..ต่อหน้าสื่อมวลชน..ว่า..ก่อนสมเด็จย่า..จะสิ้นพระชนม์ปีเศษตอนนั้นท่านอายุ 93 พรรษา ในหลวง..เสด็จจากวังสวนจิตร..ไปวังสระปทุมตอนเย็นทุกวัน
    ไปทำไมหรือครับท่านเสด็จไปกินข้าวกับแม่...ไปคุยกับแม่...ไปทำให้แม่ชุ่มชื่นหัวใจ..โอ้...ขนาดนี้เชียวหรือ..ในหลวงของเรา
    เสด็จไปกินข้าวกับแม่..สัปดาห์ละกี่วัน..ทราบไหมครับ...5 วันครับ
    หายากนะครับที่อยู่คนละบ้านกับแม่ แล้วไปกินข้าวกับแม่..อาทิตย์ละ 5 วันหายากครับ
    ในหลวงมีพระราชภารกิจมากมาย แต่มีเวลาไปกินข้าวกับแม่ สัปดาห์ละ 5 วัน แต่ ซี 7 ซี 8 ซี 9 ร้อยเอก พลตรี พลเอก....อธิบดีปลัดกระทรวง...ไม่เคยไปกินข้าวกับแม่..บอก...งานยุ่ง
    แม่บอกว่าให้พาไปกินข้าวหน่อย..บอกว่าไม่มีเวลา..จะไปตีกอล์ฟ..ไม่มีเวลาพาแม่ไปกินข้าว...แต่มีเวลาไปตีกอล์ฟ ...เห็นไหมครับ
    พ่อแม่ พอแก่แล้ว..ก็เหมือนไม้ใกล้ฝั่ง...ฝนตกน้ำเซาะ..อีกไม่นานก็โค่น...พอถึงเวลานั้น...เราก็ไม่มีพ่อแม่ให้กราบแล้ว
    ในหลวงจึงตัดสินพระทัย...ไปกินข้าวกับแม่สัปดาห์ละ 5 วันเมื่อตอนที่สมเด็จย่าอายุ 93
    สัปดาห์หนึ่งมี 7 วัน ในหลวงไปกินข้าวกับแม่ 5 วันเหลืออีก 2 วัน ไปไหนทราบไหมครับ
    ในหลวงถือศีล 8 วันพระ ถือศีล 8 นี่ต้องงดข้าวเย็น เลยไม่ได้ไปหาแม่ ส่วนอีกวันที่เหลืออาจจะกินข้าวกับพระราชินี...กับคนใกล้ชิด แต่ 5 วันท่านให้แม่ครับ
    ทุกครั้งที่ในหลวงเสด็จไปหาสมเด็จย่า ...ในหลวงต้องเข้าไปกราบที่ตัก...แล้วสมเด็จย่า..ก็จะดึงตัวในหลวงเข้ามากอด..แล้วก็หอมแก้มในหลวง
    ตอนสมเด็จย่าหอมแก้มในหลวง..คิดว่าแก้มในหลวงคงไม่หอมเท่าไรเพราะไม่ได้ใส่น้ำหอมแต่ทำไมสมเด็จย่าหอมแล้วชื่นใจ...เพราะท่านได้กลิ่นหอม.จากหัวใจในหลวง...หอมกลิ่นกตัญญู
    ไม่นึกเลยว่าลูกคนนี้ จะกตัญญูขนาดนี้ จะรักแม่ขนาดนี้
    ตัวแม่เองคือสมเด็จย่า..ไม่ได้เป็นเชื้อพระวงศ์ เป็นคนธรรมดา...สามัญชน
    เป็นเด็กหญิงสังวาลย์เกิดหลังวัดอนงค์...เหมือนเด็กหญิงทั่วไป..เหมือนพวกเราทุกคน...ในหลวงน่ะ..เกิดมาเป็นพระองค์เจ้า...เป็นลูกเจ้าฟ้า..เป็นกษัตริย์..เป็นพระเจ้าแผ่นดินอยู่เหนือหัว
    แต่ในหลวง...ที่เป็นพระเจ้าแผ่นดิน..ก้มลงกราบคนธรรมดา ที่เป็นแม่
    หัวใจลูกที่เคารพแม่..กตัญญูกับแม่อย่างนี้หาไม่ได้อีกแล้ว..คนบางคนพอเป็นใหญ่เป็นโต ไม่กล้าไหว้แม่ เพราะแม่มาจากเบื้องต่ำเป็นชาวนา..เป็นลูกจ้าง ไม่เคารพแม่...ดูถูกแม่
    แต่ในหลวงเทิดแม่ไว้เหนือหัว..นี่แหละครับ..ความหอม
    นี่คือเหตุที่สมเด็จย่า..หอมแก้มในหลวงทุกครั้ง..ท่านหอมความดี..หอมคุณธรรม...หอมกตัญญูของในหลวง..หอมแก้มเสร็จแล้วก็ร่วมโต๊ะเสวย..ตอนกินข้าวนี่...ปกติ...แค่เห็นลูกมาเยี่ยม...ก็ชื่นใจแล้วนี่ลูกมากินข้าวด้วย..ปลื้มครับ
    อะไรอร่อย ๆในหลวงจะตักใส่ช้อนแม่...อันนี้อร่อยแม่ลองทาน..รู้ว่าแม่ชอบทานผัก...ในหลวงหยิบผักมาม้วน ๆใส่ช้อนแม่..เอ้าแม่ทานซะ...ของที่แม่ชอบ แทนที่จะกินแค่ 3 คำ 5 คำ ก็เจริญอาหารกินได้เยอะ
    เพราะมีความสุขที่ได้กินข้าวกับลูก..เอาใจใส่
    กินข้าวเสร็จแล้วก็มานั่งคุยกับแม่..บอกแม่ว่า...ตอนพระองค์เล็ก ๆ แม่เคยสอนอะไรที่สำคัญ ๆ "อยากฟังแม่สอนอีก" เป็นไงครับ เป็นกษัตริย์...ปกครองประเทศ..แต่อยากฟังแม่สอน
    พวกเรา...เป็นยังไง...เราคิดว่าเรารู้มาก....เราเรียนสูง..เรามีปริญญา..แม่จบป.4 เวลาแม่สอน...ตะคอกแม่...ตวาดแม่...เบื่อจะตายอยู่แล้ว.รำคาญ...พูดซ้ำซาก...เมื่อไหร่จะหยุดพูดซะที...อันนี้...เราเหยียบย่ำหัวใจแม่นะครับ
    พอสมเด็จย่าสอน..ในหลวงจะเอากระดาษมาจด...สมเด็จย่าเล่าว่า...ตอนในหลวงเรียนหนังสือที่สวิสเซอร์แลนด์ในหลวงยังเล็กอยู่..เข้ามาบอกว่า...อยากได้รถจักรยาน.เห็นเพื่อน ๆเขามีรถจักรยานกัน
    สมเด็จย่าบอกว่า "ลูกอยากได้จักรยาน..ลูกก็เก็บสตางค์ที่แม่ให้ไปกินที่โรงเรียนไว้ซิเก็บวันละเหรียญ สองเหรียญ พอได้มากพอก็เอาไปซื้อจักรยาน"
    นี่คือสิ่งที่แม่สอน..สอนอะไร....ถ้าเป็นพ่อแม่บางคน...พอลูกขอ รีบซื้อให้เลยประเคนให้เลย ลูกก็ฟุ้งเฟ้อ...ฟุ่มเฟือย...เหลิง...และหลงตัวเองพอโตขึ้น...ขับรถเบนซ์ชนตำรวจก็ได้..ยิงคนเล่นก็ได้..เพราะหลงตัวเอง..พ่อใหญ่..เห็นไหม..ตามใจจนเสียคน
    แต่สมเด็จย่า...เป็นยอดคุณแม่....สร้างคุณธรรมให้ลูก..ลูกอยากได้ลูกต้องเก็บสตางค์ที่แม่ให้..ไปหย่อนกระปุก
    อันนี้แม่สอน 2 เรื่อง คือให้ประหยัด และให้ยืนอยู่บนขาของตัวเอง
    "ความประหยัด เป็นสมบัติของเศรษฐี"ใครสอนลูกให้ประหยัดได้ คนนั้นกำลังมอบความเป็นเศรษฐีให้ลูก

    หวังที่ 2 ยามป่วยไข้...หวังเจ้า...เฝ้ารักษา...ตอนสมเด็จย่าประชวรอยู่ศิริราชในหลวงเสด็จไปเยี่ยมตอน ตี 1 ตี 2 ตี 4 เศษ ๆ จึงเสด็จกลับ ไปเฝ้าแม่วันละหลาย ๆชั่วโมง
    แม่พอเห็นลูกมาเยี่ยม..ก็หายป่วยไปครึ่งหนึ่งแล้ว...ในหลวงไปอยู่กับแม่วันละหลาย ๆชั่วโมง ไปให้ความอบอุ่น
    ลองหันมาดูตัวเราเองซิตอนพ่อแม่ป่วย..โผล่หน้าเข้าไปดูหน่อยนึง ถามว่าตอนนี้เป็นไงบ้างพ่อแม่ยังไม่ทันตอบเลย บอกว่าฉันมีธุระ งานยุ่ง ต้องไปแล้วโผล่หน้าให้เห็นพอเป็นมารยาท...แล้วก็กลับ...เราไม่ได้ไปเพราะกตัญญูไม่ได้ไปเพื่อทดแทนพระคุณท่าน...น่าละอาย
    คราวหนึ่ง...ในหลวงป่วย...สมเด็จย่าก็ป่วย...ไปอยู่ศิริราชด้วยกัน...อยู่คนละมุมตึก...ตอนเช้าในหลวงเปิดประตูออกมา..เห็นพยาบาลกำลังเข็นรถสมเด็จย่า..ออกมารับลมผ่านหน้าห้องพอดี
    ในหลวงพอเห็นแม่..รีบออกจากห้อง..มาแย่งพยาบาลเข็นรถ..มหาดเล็กกราบทูลว่าไม่เป็นไร ไม่ต้องเข็นมีพยาบาลเข็นให้อยู่แล้ว..ในหลวงรับสั่งว่า...แม่ของเรา..ทำไมต้องให้คนอื่นเข็น..เราเข็นเองได้
    นี่ขนาดเป็นกษัตริย์เป็นพระเจ้าแผ่นดิน..ยังมาเดินเข็นรถให้แม่..ยังมาป้อนข้าวให้แม่..ป้อนน้ำ..ป้อนยาให้แม่มีความอบอุ่น..เลี้ยงหัวใจแม่..ยอดเยี่ยมจริงๆ

    หวังที่ 3. เมื่อถึงยาม...ต้องตาย...วายชีวา..หวังลูกช่วย..ปิดตา..เมื่อสิ้นใจ..วันนั้นในหลวงเฝ้าสมเด็จย่าอยู่ถึง ตี 4 ตี 5 เฝ้าแม่อยู่ทั้งคืน...จับมือแม่...กอดแม่...ปรนนิบัติแม่..จนกระทั่งแม่หลับจึงเสด็จกลับ
    พอไปถึงวัง..เขาโทรศัท์มาแจ้งว่า..สมเด็จย่าสิ้นพระชนม์..ในหลวงรีบเสด็จกลับไปศิริราช..เห็นสมเด็จย่าอยู่บนเตียงพระองค์ตรงเข้าไป..คุกเข่า..กราบลงที่หน้าอกแม่...พระพักตร์ในหลวงตรงกับหัวใจแม่"ขอหอมหัวใจแม่..เป็นครั้งสุดท้าย"
    ซบหน้านิ่งอยู่นาน..แล้วค่อย ๆ เงยพระพักตร์ขึ้น น้ำพระเนตรไหลนอง
    ต่อไปนี้..จะไม่มีแม่ให้หอมอีกแล้ว..เอามือกุมมือแม่ไว้..มือนิ่ม ๆที่ไกวเปลนี่แหละที่ปั้นลูก.จนได้เป็นกษัตริย์.เป็นที่รักของคนทั้งบ้านทั้งเมือง..ชีวิตลูก...แม่ปั้น
    มองเห็นหวีที่ปักอยู่ที่ผมของแม่..ในหลวงจับหวี..ค่อย ๆหวีผมให้แม่..หวี..หวี..หวี ให้แม่สวยที่สุด...แต่งตัวให้แม่ ...ให้แม่สวยที่สุด..ในวันสุดท้ายของแม่

    ที่มา FW.Mail
     
  6. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097
    หลวงปู่ขาว อนาลโย

    <!-- Main -->[SIZE=-1]หลวงปู่ขาว อนาลโย


    <CENTER>
    ชาติกำเนิดและชีวิตปฐมวัย

    หลวงปู่ขาว อนาลโย วัดถ้ำกลองเพล อำเภอเมือง จังหวัด หนองบัวลำภู
    มีนามเดิมว่า ขาว โคระถา เกิดเมื่อวันอาทิตย์ที่ 28 ธันวาคม 2431 ที่บ้านชะเนง ตำบลหนองแก้ว อำเภอเมือง จังหวัดอำนาจเจริญ โยมบิดาชื่อ พั่ว โยมมารดาชื่อ รอด โคระถา มีพี่น้องร่วมท้องเดียวกัน 7 คน ท่านเป็นคนที่ 4 อาชีพหลักของครอบครัว คือ ทำนาและค้าขาย เมื่อท่านอายุได้ 20 ปี บิดามารดาได้จัดให้มีครอบครัว ภรรยาของท่านชื่อ นางมี และได้มีบุตรด้วยกัน 3 คน ซึ่งต่อมาได้แยกทางกัน ท่านเป็นผู้มีนิสัยเด็ดเดี่ยวเอาจริงเอาจังมาก ประกอบกับความมีศรัทธาต่อหลักธรรมคำสอนในพระพุทธศาสนา ซึ่งสอนให้คนทำจริง ในสิ่งที่ควรทำ เมื่อท่านได้บวชในพระพุทธศาสนา ท่านจึงรู้สึกซาบซึ้งในหลักธรรมมากยิ่งขึ้นโดยลำดับ

    [​IMG]



    ชีวิตสมณะ การแสวงหาธรรม และปฏิปทา

    ปี พ.ศ.2462 เมื่อท่านอายุได้ 31 ปี ได้อุปสมบทที่วัดโพธิ์ศรี บ้านบ่อชะเนง ตำบลหนองแก้ว อำเภอเมือง จังหวัดอำนาจเจริญ โดยมีท่านพระครูพุฒิศักดิ์เป็นพระอุปัชฌาย์ มีพระอาจารย์บุญจันทร์ เป็นพระกรรมวาจาจารย์

    เมื่ออุปสมบทแลัว ท่านได้จำพรรษาที่วัดโพธิ์ศรี เป็นเวลา 6 พรรษา เนื่องจากท่านได้บังเกิดศรัทธาในปฏิปทาของพระอาจารย์มั่น หลวงปู่จึงได้ญัตติเป็นพระธรรมยุติ เมื่อปี พ.ศ.2468 อายุได้ 37 ปี ณ พันธสีมา วัดโพธิสมภรณ์ จังหวัดอุดรธานี โดยมีพระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล) เป็นพระอุปัชฌาย์ แล้วได้จำพรรษาอยู่ที่จังหวัดอุดรธานีเป็นเวลา 8 ปี

    จากนั้นได้เดินธุดงค์ตาม ท่านพระอาจารย์หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต ไปปฏิบัติธรรมในสถานที่ต่างๆ ท่านออกเดินทางทุกปี และได้สมบุกสมบันไปแทบทุกภาคของประเทศ

    นอกจากนี้ ท่านยังได้เคยเดินธุดงค์ร่วมกับ หลวงปู่ฝั้น อาจาโร หลวงปู่แหวน สุจิณฺโณ หลวงปู่ตื้อ อจลธมฺโม หลวงปู่ชอบ ฐานสโม เป็นเวลารวมกันหลายปีอีกด้วย

    ท่านได้สร้างบุญบารมี อยู่ในป่าเขาเป็นเวลายาวนาน มีประสบการณ์มากมายเกี่ยวกับสัตว์ป่าทั้งหลาย เช่น สิง ค่าง ช้าง เสือ เวลาท่านนึกถึงอะไร สิ่งนั้นมักจะมาตามความรำพึงนึกคิดเสมอ เช่น นึกถึงช้าง ว่าหายหน้าไปไหนนานไม่ผ่านมาทางนี้เลย พอตกกลางคืนดึกๆ ช้างก็จะมาหาจริงๆ และ เดินตรงมายังกุฏิที่ท่านพักอยู่ พอให้ท่านทราบว่าเขามาหาแล้ว ช้างก็จะกลับเข้าป่าไป เวลาที่ท่านนึกถึงเสือ ก็เช่นกัน นึกถึงตอนกลางวันตกกลางคืนเสือก็มาเพ่นพ่านภายในวัดบริเวณที่ท่านพักอยู่

    คุณหมออวย เกตุสิงห์ เขียนไว้ในประวัติอาพาธ ซึ่งเป็นภาคผนวกของหนังสือ อนาลโยวาท ว่า เวลาท่านไม่สบายอยู่ในป่าเขา มักจะไม่ใช้หยูกยาอะไรเลย จะใช้แต่ธรรมโอสถ ซึ่งได้ผลทั้งทางร่างกายและจิตใจไปพร้อมๆกัน ท่านเคยระงับไข้ด้วยวิธีภาวนามาหลายครั้ง จนเป็นที่มั่นใจต่อการพิจารณาเวลาไม่สบาย

    ท่านพระอาจารย์หลวงตามหาบัว เล่าถึง หลวงปู่ขาว ในหนังสือ "ปฏิปทาของพระธุดงค์กรรมฐานสายพระอาจารย์หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต" ว่าหลวงปู่ขาว ได้บรรลุธรรมชั้นสุดยอดในราวพรรษาที่ 16-17 ในสถานที่ซึ่งมีนามว่าโรงขอด แห่งอำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ โดยได้เขียนเล่าไว้ว่า

    "เย็นวันหนึ่ง เมื่อปัดกวาดเสร็จ หลวงปู่ขาว ออกจากที่พักไปสรงน้ำ ได้เห็นข้าวในไร่ชาวเขา กำลังสุกเหลืองอร่าม ทำให้เกิดปัญหาขึ้นมาในขณะนั้นว่า ข้าวมันงอกขึ้นมาเพราะมีอะไรเป็นเชื้อพาให้เกิด ใจที่พาให้เกิดตายอยู่ไม่หยุด ก็น่าจะมีอะไรเป็นเชื้ออยู่ภายในเช่นเดียวกันกับเมล็ดข้าว เชื้อนั้น ถ้าไม่ถูกทำลายเสียที่ใจให้สิ้นไป จะต้องพาให้เกิดตายอยู่ไม่หยุด ก็แล้วอะไรเป็นเชื้อของใจเล่า ถ้าไม่ใช่กิเลสอวิชชา ตัณหาอุปาทาน ท่านคิดทบทวนไปมา โดยถืออวิชชาเป็นเป้าหมายแห่งการวิพากษ์วิจารณ์ พิจารณาย้อนหน้าถอยหลัง อนุโลมปฏิโลมด้วยความสนใจอยากรู้ตัวจริงแห่งอวิชชา นับแต่หัวค่ำจนดึกไม่ลดละการพิจารณาระหว่าง อวิชชา กับ ใจ จวนสว่างจึงตัดสินใจกันลงได้ด้วยปัญญา อวิชชาขาดกระเด็นออกจากใจไม่มีอะไรเหลือ

    การพิจารณาข้าว ก็มายุติกันที่ข้าวสุก หมดการงอกอีกต่อไป การพิจารณาจิต ก็มาหยุดกันที่ อวิชชาดับ กลายเป็นจิตสุกขึ้นมา เช่นเดียวกับ ข้าวสุก จิตหมดการก่อกำเนิดเกิดในภพต่างๆ อย่างประจักษ์ใจ สิ่งที่เหลือให้ชมอย่างสมใจ คือ ความบริสุทธิ์แห่งจิตล้วนๆ ในกระท่อมกลางเขา มีชาวป่าเป็นอุปัฏฐากดูแล

    ขณะที่จิตผ่านดงหนาป่ากิเลสวัฏฏ์ไปได้ แล้วเกิดความอัศจรรย์อยู่คนเดียวตอนสว่าง พระอาทิตย์ก็เริ่มสว่างบนฟ้า ใจก็เริ่มสว่างจากอวิชชาขึ้นสู่ธรรมอัศจรรย์ถึงวิมุตติหลุดพ้นในเวลาเดียวกันกับพระอาทิตย์อุทัย ช่างเป็นฤกษ์งามยามวิเศษเสียจริง



    [​IMG]




    [​IMG]




    [​IMG]



    ท่านได้ธุดงค์จาริกไปตามถิ่นต่าง ๆ จนในที่สุดก็มาพำนักจำพรรษาอยู่ที่ วัดถ้ำกลองเพล อำเภอเมือง จังหวัดหนองบัวลำภู เมื่อ พ.ศ.2501 จวบจนมรณภาพ เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคมพ.ศ.2526

    คุณหมออวย เกตุสิงห์ ได้เล่าเกี่ยวับปัจฉิมกาลของท่านไว้ในหนังสือ อนาลโยวาท ว่า ท่านทุพพลภาพอยู่ถึง 9 ปี แต่สุขภาพจิตยังดีมีนิสัยรื่นเริงติดตลกในระยะสามปีสุดท้าย นัยน์ตาของท่านมืดสนิทเพราะต้อแก้วตา หรือ ต้อกระจก หูก็ตึงมาก เพราะหินปูนจับกระดูก แต่ท่านก็มิได้เดือดร้อนใจ และสามารถบอกกำหนดอายุขัยของตนเองได้ว่า จะมรณภาพอายุ 96 ปี ซึ่งก็เป็นจริงดังที่ท่านได้กล่าวไว้

    ในวันพระราชทานเพลิงศพหลวงปู่ขาว เมื่อวันเสาร์ที่ 11 กุมภาพันธ์ 2527 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินมาเป็นองค์ประธาน พร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ และ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี นั้น ปรากฏว่า วัดถ้ำกลองเพล ซึ่งมีอาณาบริเวณหลายพันไร่กลับคับแคบไปถนัดใจ ประชาชนจากทั่วทุกสารทิศหลั่งไหลกันมาถวายสักการะสรีระร่างของท่านนับเป็นจำนวนแสนคน นับเป็นประวัติการณ์สูงสุดของประเทศทีเดียว



    [​IMG]



    [​IMG]





    ธรรมโอวาท

    ต่อไปนี้เป็นส่วนหนึ่งของพระธรรมเทศนาของท่าน ที่ได้เทศน์โปรดพระเณรและญาติโยม ณ บ้านย่อชะเนง (บ้านเกิดของท่าน)
    "คนเกิดมาไม่เหมือนกัน เพราะมีความประพฤติที่ต่างกัน ผู้ที่เขาประพฤติดี รักษาศีลมีการให้ทาน มีการสดับรับฟังพระธรรม เขาจึงมีปัญญาดี มีการศึกษาเล่าเรียนดี

    การจำแนกสัตว์ให้ดีให้ชั่วต่าง ๆ กัน มันเป็นเพราะกรรม ถ้ามันยังทำกรรมอยู่ ก็ต้องได้รับผลกรรมทั้งกรรมดีกรรมชั่ว มันต้องได้รับผลตอบแทน เหตุนี้ เราจึงควรทำกุศล รักษาศีลให้บริสุทธิ์สมบูรณ์ แล้วทำสมาธิจะมีความสงบสงัด จิตรวมลงได้ง่าย เพราะมันเย็น มันราบรื่นดี ไม่มีลุ่มไม่มีดอน จงพากันทำไปใน อิริยาบถทั้งสี่ นั่ง นอน ยืน เดิน อะไรก็ได้ แล้วแต่ความถนัด แล้วแต่จริต อันใดมันสะดวกสบายใจ หายใจดี ไม่ขัดข้องฝืดเคือง อันนั้นควรเอาเป็นอารมณ์ของใจ

    พุทโธ พุทโธ หมายความว่า ให้ใจยึดเอาพุทโธเป็นอารมณ์ เพื่อป้องกันไม่ให้จิตออกไปสู่อารมณ์ภายนอก เพราะอารมณ์ภายนอกมันชอบไปจดจ่ออยู่กับ รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ความถูกต้องทางกาย หากทุกสิ่งทุกอย่างมันไปจดจ่ออยู่ที่นั่น จิตมันจะไม่รวมลง นี่แหละ เรียกว่า มาร คือ ไม่มีสติ อย่าให้จิตไปจดจ่ออย่างนั้น ให้มาอยู่กับผู้รู้ ให้น้อมเอา พระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ เป็นอารมณ์ จะอยู่ในอิริยาบถใด ก็ให้มีความเพียร

    ผู้ที่ภาวนาจิตสงบลงชั่วช้างพับหู งูแลบสิ้น ชั่วไก่กินน้ำ นี่ อานิสงส์อักโข ให้ตั้งใจทำไป การที่จิตรวมลงไปบางครั้ง มี 3 ขั้นสมาธิ คือ ขณิกสมาธิ อุปจารสมาธิ อัปปนาสมาธิ หากรวมลง ขณิกสมาธิ เราบริกรรมไป พุทโธ หรืออะไรก็ตาม จิตสงบไปสบายไปสักหน่อย มันก็ถอนขี้นมา ก็คิดไปอารมณ์เก่าของมันนี่

    ส่วนหากรวมลงไปเป็น อุปจารสมาธิ ก็นานหน่อยกว่าจะถอนขึ้นไปสู่อารมณ์อีกให้ภาวนาไป อย่าหยุดอย่าหย่อน ค่อยเป็นค่อยไป ไม่ต้องไปนึกคาดหวังอะไร อย่าให้มีความอยาก เพราะมันเป็นตัณหา ตัวขวางกั้นไม่ให้จิตรวม ไม่ต้องไปกำกับว่า อยากให้เป็นอย่างนั้นอย่างนี้ การอยากให้จิตรวมลง เหล่านี้แหละเป็นนิวรณ์ตัวร้าย

    ให้ปฏิบัติความเพียรไม่หยุดหย่อน เอาเนื้อและเลือด ตลอดจนชีวิตถวายบูชาพระพุทธเจ้า พระธรรม และ พระสงฆ์ เราจะเอาชีวิตจิตใจ ถวายบูชาพระรัตนตรัย ตลอดจนวันตาย นี่ก็เป็นมัชฌิมาปฏิปทา แล้วจิตจะรวมลงอย่างไร เมื่อไร ก็จะเป็นไปเองเมื่อใจเป็นกลาง ปล่อยวาง สงบถูกส่วน"


    [​IMG]




    [​IMG]




    [​IMG]



    ปัจฉิมบท

    ท่านพระอาจารย์หลวงตามหาบัว ได้พรรณนาถึงเมตตาธรรม และ ตปธรรม ของ หลวงปู่ขาว ไว้ในหนังสือปฏิปทาของพระธุดงค์กรรมฐาน สายท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต มีข้อความตอนหนึ่งว่า

    "ท่านอาจารย์องค์นี้มีความเด็ดเดี่ยวมาก การนั่งภาวนาตลอดสว่างท่านทำได้สบายมาก ถ้าไม่เป็นผู้มีใจกล้าหาญกัดเหล็กกัดเพชรจริง ๆ จะทำไม่ได้ จึงขอชมเชยอนุโมทนากับท่านอย่างถึงใจ เพราะเป็นที่แน่ใจในองค์ท่านร้อยเปอร์เซนต์ว่า เป็นผู้สิ้นภพสิ้นชาติอย่างประจักษ์ใจ ทั้งที่ยังครองขันธ์อยู่"

    ในบทความภาคผนวกตอนหนึ่งของหนังสือ อนาลโยวาท ได้เล่าถึงเหตุการณ์ในครั้งหนึ่งว่า "วันหนึ่ง มีชายแปลกหน้าวัยฉกรรจ์ผู้หนึ่ง ปรากฏกายขึ้นที่วัด ขอเข้านมัสการท่านอาจารย์ พอได้พบก็ตรงเข้าไปกราบถึงที่เท้า แล้วเอ่ยปากขอบพระคุณที่ท่านช่วยเขาให้พ้นจากโทษมหันต์ พร้อมเล่าว่า เขาเป็นทหารไปรบที่ประเทศลาวเป็นเวลานาน พอกลับมาบ้าน ก็ได้รู้ว่าภรรยานอกใจ จึงโกรธแค้น เตรียมปืนจะไปยิงทิ้งทั้งคู่ แต่ยังไม่ทันได้กระทำเช่นนั้น เพราะกินเหล้าเมา แล้วหลับฝันไปว่า มีพระแก่องค์หนึ่งมาขอบิณฑบาตความอาฆาตโกรธแค้น และเทศน์ให้ฟังถึงบาปกรรมของการฆ่า จนเขายอมยกโทษ ให้อภัย ละความพยาบาท ได้ถามในฝัน ได้ความว่า พระภิกษุองค์นั้น ชื่อ ขาว มาแต่เมืองอุดรฯ พอตื่นขี้นจึงออกเดินทางมาเสาะหาท่าน จนได้พบที่วัด เช่นนี้"

    หลวงปู่ขาว ท่านกล่าวอนุโมทนา แล้วอบรมต่อไปให้เข้าใจหลักธรรม ตลอดจนผลของการงดเว้นจากการฆ่า ทำให้ชายผู้นั้นซาบซึ้งในรสพระธรรม จนตัดสินใจที่จะอุปสมบทต่อไป

    เรื่องนี้ เป็นหลักฐานว่า ความเมตตาของท่านเปี่ยมล้น และครอบคลุมอาณาบริเวณกว้างขวางเพียงใด




    [​IMG]



    [​IMG]



    [​IMG]



    อนุสรณ์สถานที่ถือว่าสำคัญที่สุดของ หลวงปู่ขาว ก็คือ วัดถ้ำกลองเพล อันเป็นสถานที่ท่านพำนักจำพรรษามาตั้งแต่ พ.ศ.2501 จนกระทั่งมรณภาพ เมื่อ พ.ศ.2526 ท่านดูแลบริเวณวัดซึ่งมีเนื้อที่กว่าพันไร่ ให้เป็นป่าร่มรื่นบนลากสันเขา มีโขดหินขนาดใหญ่มากมาย เป็นเพิงผาธรรมชาติที่งดงาม ด้านหลังเป็นอ่างเก็บน้ำ ชื่อ อ่างอาราม ซึ่งเป็นโครงการชลประทานพระราชดำริของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ

    จุดเด่นของ วัดถ้ำกลองเพล คือ พิพิธภัณฑ์อัฐบริขาร หลวงปู่ขาว อนาลโย ซึ่งสร้างเสร็จตั้งแต่ พ.ศ.2531 เป็นสิ่งก่อสร้างที่มีลักษณะสวยงามควรแก่การศึกษาและเคารพบูชาเป็นอย่างยิ่ง "ปูชา จ ปูชนียานํ เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ"
    </CENTER>


    ข้อมูลจาก
    http://www.dhammathai.org/monk/sangha29.php


    ต้องขออนุโมทนา และสาธุ....สิ่งที่ดีๆ ที่ได้รับจากท่านหลวงปู่ขาวอันจะเป็นกุศลผลบุญ ชักนำให้ประกอบแต่กรรมดีตลอดไป

    พันวฤทธิ์
    24/9/51[/SIZE]
     
  7. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097
    สนใจรุ่นไหนเลือกดูเอาเถิดครับ อัฐิ ท่านเป็นพระธาตุแล้วใช้ได้ทั้งนั้นล่ะ



    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD id=tDataImage0 style="PADDING-TOP: 0px" vAlign=bottom noWrap align=middle width="25%">[​IMG]</TD><TD id=tDataImage1 style="PADDING-TOP: 0px" vAlign=bottom noWrap align=middle width="25%">[​IMG]</TD><TD id=tDataImage2 style="PADDING-TOP: 0px" vAlign=bottom noWrap align=middle width="25%">[​IMG]</TD><TD id=tDataImage3 style="PADDING-TOP: 0px" vAlign=bottom noWrap align=middle width="25%">[​IMG]</TD></TR><TR><TD id=tDataText0 vAlign=top align=middle width="25%">[FONT=arial,sans-serif][SIZE=-1]เหรียญหลวงปู่ขาว อนาลโย วัดถ้ำกองเพล ...[/SIZE][/FONT]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]400 x 500 - 37k - jpg[/FONT][/SIZE]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]www.web-pra.com[/FONT][/SIZE]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif][ เพิ่มเติมจาก www.web-pra.com ][/FONT][/SIZE]
    </TD><TD id=tDataText1 vAlign=top align=middle width="25%">[FONT=arial,sans-serif][SIZE=-1]เหรียญหลวงปู่ขาว อนาลโย วัดถ้ำกองเพล ...[/SIZE][/FONT]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]400 x 500 - 35k - jpg[/FONT][/SIZE]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]www.web-pra.com[/FONT][/SIZE]
    </TD><TD id=tDataText2 vAlign=top align=middle width="25%">[FONT=arial,sans-serif][SIZE=-1]เหรียญหลวงปู่ขาว อนาลโย วัดถ้ำกองเพล ...[/SIZE][/FONT]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]507 x 733 - 46k - jpg[/FONT][/SIZE]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]www.eamulet.com[/FONT][/SIZE]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif][ เพิ่มเติมจาก www.eamulet.com ][/FONT][/SIZE]
    </TD><TD id=tDataText3 vAlign=top align=middle width="25%">[FONT=arial,sans-serif][SIZE=-1]เหรียญหลวงปู่ขาว สร้างถังน้ำ ปี ๒๕๑๗ ...[/SIZE][/FONT]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]705 x 1004 - 99k - jpg[/FONT][/SIZE]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]www.eamulet.com[/FONT][/SIZE]
    </TD></TR><TR><TD id=tDataImage4 style="PADDING-TOP: 20px" vAlign=bottom noWrap align=middle width="25%">[​IMG]</TD><TD id=tDataImage5 style="PADDING-TOP: 20px" vAlign=bottom noWrap align=middle width="25%">[​IMG]</TD><TD id=tDataImage6 style="PADDING-TOP: 20px" vAlign=bottom noWrap align=middle width="25%">[​IMG]</TD><TD id=tDataImage7 style="PADDING-TOP: 20px" vAlign=bottom noWrap align=middle width="25%">[​IMG]</TD></TR><TR><TD id=tDataText4 vAlign=top align=middle width="25%">[FONT=arial,sans-serif][SIZE=-1]เหรียญหลวงปู่ขาว อนาลโย รุ่นแรก นิยม ...[/SIZE][/FONT]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]755 x 1159 - 105k - jpg[/FONT][/SIZE]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]pda.tarad.com[/FONT][/SIZE]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif][ เพิ่มเติมจาก pda.tarad.com ][/FONT][/SIZE]
    </TD><TD id=tDataText5 vAlign=top align=middle width="25%">[FONT=arial,sans-serif][SIZE=-1]รายละเอียด: เหรียญหลวงปู่ขาว อนาลโย ...[/SIZE][/FONT]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]422 x 599 - 26k - jpg[/FONT][/SIZE]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]pda.tarad.com[/FONT][/SIZE]
    </TD><TD id=tDataText6 vAlign=top align=middle width="25%">[FONT=arial,sans-serif][SIZE=-1]... อนาลโย แห่งวัดถ้ำกองเพล อุดรธานี ...[/SIZE][/FONT]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]697 x 474 - 99k - jpg[/FONT][/SIZE]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]www.tarad.com[/FONT][/SIZE]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif][ เพิ่มเติมจาก pomja.tarad.com ][/FONT][/SIZE]
    </TD><TD id=tDataText7 vAlign=top align=middle width="25%">[FONT=arial,sans-serif][SIZE=-1]เหรียญหลวงปู่ขาว อนาลโย ...[/SIZE][/FONT]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]685 x 1004 - 85k - jpg[/FONT][/SIZE]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]pomja.tarad.com[/FONT][/SIZE]
    </TD></TR><TR><TD id=tDataImage8 style="PADDING-TOP: 20px" vAlign=bottom noWrap align=middle width="25%">[​IMG]</TD><TD id=tDataImage9 style="PADDING-TOP: 20px" vAlign=bottom noWrap align=middle width="25%">[​IMG]</TD><TD id=tDataImage10 style="PADDING-TOP: 20px" vAlign=bottom noWrap align=middle width="25%">[​IMG]</TD><TD id=tDataImage11 style="PADDING-TOP: 20px" vAlign=bottom noWrap align=middle width="25%">[​IMG]</TD></TR><TR><TD id=tDataText8 vAlign=top align=middle width="25%">[FONT=arial,sans-serif][SIZE=-1]เหรียญหลวงปู่ขาว อนาลโย วัดถ้ำกองเพล ...[/SIZE][/FONT]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]703 x 1014 - 92k - jpg[/FONT][/SIZE]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]www.tarad.com[/FONT][/SIZE]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif][ เพิ่มเติมจาก www.tarad.com ][/FONT][/SIZE]
    </TD><TD id=tDataText9 vAlign=top align=middle width="25%">[FONT=arial,sans-serif][SIZE=-1]เหรียญหลวงปู่ขาว ...[/SIZE][/FONT]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]304 x 439 - 109k - jpg[/FONT][/SIZE]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]www.soonphra.com[/FONT][/SIZE]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif][ เพิ่มเติมจาก www.soonphra.com ][/FONT][/SIZE]
    </TD><TD id=tDataText10 vAlign=top align=middle width="25%">[FONT=arial,sans-serif][SIZE=-1]เหรียญหลวงปู่ขาว อนาลโย วัดถ้ำกองเพล ...[/SIZE][/FONT]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]406 x 704 - 41k - jpg[/FONT][/SIZE]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]www.tarad.com[/FONT][/SIZE]
    </TD><TD id=tDataText11 vAlign=top align=middle width="25%">[FONT=arial,sans-serif][SIZE=-1]เหรียญหลวงปู่ขาว อนาลโย วัดถ้ำกองเพล ...[/SIZE][/FONT]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]80 x 100 - 3k - jpg[/FONT][/SIZE]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]www.web-pra.com[/FONT][/SIZE]
    </TD></TR><TR><TD id=tDataImage12 style="PADDING-TOP: 20px" vAlign=bottom noWrap align=middle width="25%">[​IMG]</TD><TD id=tDataImage13 style="PADDING-TOP: 20px" vAlign=bottom noWrap align=middle width="25%">[​IMG]</TD><TD id=tDataImage14 style="PADDING-TOP: 20px" vAlign=bottom noWrap align=middle width="25%">[​IMG]</TD><TD id=tDataImage15 style="PADDING-TOP: 20px" vAlign=bottom noWrap align=middle width="25%">[​IMG]</TD></TR><TR><TD id=tDataText12 vAlign=top align=middle width="25%">[FONT=arial,sans-serif][SIZE=-1]... เหรียญหลวงปู่ขาว วัดถ้ำกองเพล ...[/SIZE][/FONT]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]296 x 427 - 106k - jpg[/FONT][/SIZE]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]www.soonphra.com[/FONT][/SIZE]
    </TD><TD id=tDataText13 vAlign=top align=middle width="25%">[FONT=arial,sans-serif][SIZE=-1]คลิกที่รูปเพื่อดูขนาดรูปจริง[/SIZE][/FONT]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]453 x 680 - 76k - jpg[/FONT][/SIZE]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]www.eamulet.com[/FONT][/SIZE]
    </TD><TD id=tDataText14 vAlign=top align=middle width="25%">[FONT=arial,sans-serif][SIZE=-1]:: UBuyMe.com ::[/SIZE][/FONT]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]750 x 499 - 89k - jpg[/FONT][/SIZE]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]www.ubuyme.com[/FONT][/SIZE]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif][ เพิ่มเติมจาก www.ubuyme.com ][/FONT][/SIZE]
    </TD><TD id=tDataText15 vAlign=top align=middle width="25%">[FONT=arial,sans-serif][SIZE=-1]เหรียญหลวงปู่ขาว อนาลโย รุ่น ๒ ...[/SIZE][/FONT]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]960 x 761 - 119k - jpg[/FONT][/SIZE]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]www.eamulet.com[/FONT][/SIZE]
    </TD></TR><TR><TD id=tDataImage16 style="PADDING-TOP: 20px" vAlign=bottom noWrap align=middle width="25%">[​IMG]</TD><TD id=tDataImage17 style="PADDING-TOP: 20px" vAlign=bottom noWrap align=middle width="25%">[​IMG]</TD><TD id=tDataImage18 style="PADDING-TOP: 20px" vAlign=bottom noWrap align=middle width="25%">[​IMG]</TD><TD id=tDataImage19 style="PADDING-TOP: 20px" vAlign=bottom noWrap align=middle width="25%">[​IMG]</TD></TR><TR><TD id=tDataText16 vAlign=top align=middle width="25%">[FONT=arial,sans-serif][SIZE=-1]... วัดถ้ำกองเพล จังหวัดอุดรธานี ...[/SIZE][/FONT]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]428 x 577 - 42k - jpg[/FONT][/SIZE]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]www.eamulet.com[/FONT][/SIZE]
    </TD><TD id=tDataText17 vAlign=top align=middle width="25%">[FONT=arial,sans-serif][SIZE=-1]เหรียญหลวงปู่ขาว อนาลโย วัดถ้ำกองเพล ...[/SIZE][/FONT]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]834 x 1120 - 119k - jpg[/FONT][/SIZE]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]www.eamulet.com[/FONT][/SIZE]
    </TD><TD id=tDataText18 vAlign=top align=middle width="25%">[FONT=arial,sans-serif][SIZE=-1]เหรียญหลวงปู่ขาว อนาลโย วัดถ้ำกองเพล ...[/SIZE][/FONT]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]577 x 735 - 68k - jpg[/FONT][/SIZE]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]www.tarad.com[/FONT][/SIZE]
    </TD><TD id=tDataText19 vAlign=top align=middle width="25%">[FONT=arial,sans-serif][SIZE=-1]เหรียญหลวงปู่ขาว อนาลโย ...[/SIZE][/FONT]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]820 x 1094 - 148k - jpg[/FONT][/SIZE]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]pda.tarad.com[/FONT][/SIZE]
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 25 กันยายน 2008
  8. pon98

    pon98 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 สิงหาคม 2005
    โพสต์:
    632
    ค่าพลัง:
    +3,886
    [​IMG]

    พี่พันวฤทธิ์นำรูปพระหลวงปู่ขาวมาให้ดู เห็นเหรียญอธิษฐานพรนี้เพื่อนสมัยเรียนให้มาหนึ่งเหรียญ เป็นเหรียญที่แกะได้เหมือนหลวงปู่มาก พิธีปลุกเสกใหญ่มีพระสายกรรมฐานมาร่วมมาก เป็นเหรียญที่ดีมากแต่ราคาไม่แพงครับ
     
  9. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097
    วันนี้ขอแนะนำสหธรรมิกของหลวงปู่ขาวอีกองค์หนึ่ง คือ หลวงปู่ชอบ ฐานสโมครับ



    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="79%" border=0><TBODY><TR><TD>
    ชีวประวัติและปฏิปทา
    </TD></TR><TR><TD>
    พระคุณเจ้าหลวงปู่ชอบ ฐานสโม
    </TD></TR><TR><TD>
    จากหนังสือ ฐานสโมปูชา
    </TD></TR><TR><TD>
    ที่ระลึก ในมหามงคลพิเศษ ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
    </TD></TR><TR><TD>
    ทรงพระมหากรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้
    </TD></TR><TR><TD>
    สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร
    </TD></TR><TR><TD>
    เสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์ ไปพระราชทานเพลิงศพ
    </TD></TR><TR><TD>
    พระเดชพระคุณหลวงปู่ชอบ ฐานสโม
    </TD></TR><TR><TD>
    ณ เมรุวัดป่าสัมมานุสรณ์ อำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย
    </TD></TR><TR><TD>
    วันจันทร์ที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๙
    </TD></TR><TR><TD>
    คุณหญิงสุรีพันธ์ มณีวัต ผู้เขียนและเรียบเรียง





    </TD></TR></TBODY></TABLE></B>
    [​IMG]

    ๑. ชาติภูมิ

    พระคุณเจ้าหลวงปู่ชอบ ฐานสโม มีชาติกำเนิดในสกุล “แก้วสุวรรณ” เดิมชื่อ “บ่อ” เกิดเมื่อวันที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๔๔ ตรงกับวันพุธ ขึ้นห้าค่ำ เดือนสาม ปีฉลู ณ บ้านโคกมน ตำบลผาน้อย อำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย
    โยมบิดาชื่อ “มอ” โยมมารดาชื่อ “พิลา” ท่านมีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน ๔ คน เป็นชาย ๒ คน เป็นหญิง ๒ คน มีชื่อเรียงกันตามลำดับคือ
    ๑. ตัวท่าน
    ๒. น้องสาว ชื่อ พา แก้วสุวรรณ
    ๓. น้องสาว ชื่อ แดง แก้วสุวรรณ
    ๔. น้องชายคนสุดท้อง ชื่อ สิน แก้วสุวรรณ
    ทั้งน้องสาวและน้องชาย รวม ๓ คนนี้ ปัจจุบันถึงแก่กรรมไปตามกาลเวลาหมดแล้ว
    โยมบิดามารดาเล่าให้ท่านฟังว่า บรรพบุรุษต้นตระกูลของท่านนั้น เดิมมีถิ่นฐานบ้านเรือนอยู่ที่ อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย มีอาชีพหลักคือการทำนา แต่โดยที่พื้นที่เป็นภูเขาเป็นส่วนใหญ่ การทำนาต้องอาศัยไหล่เขา ยกดินเป็นขั้นบันไดเป็นชั้น ๆ ไป จึงจะปลูกข้าวได้ แม้จะลงแรงทำงานหาเลี้ยงกันอย่างไม่ยอมเหนื่อย ต้องทำไร่ตามดอยเพิ่มเติม แต่ก็ไม่ค่อยพอปากพอท้อง โดยเฉพาะบางปีถ้าฝนแห้งแล้ง ข้าวไม่เป็นผล พืชล้มตาย ก็อดอยากแร้นแค้น จึงได้คิดโยกย้ายไปแสวงหาถิ่นทำกินใหม่ ซึ่งจะเป็นที่ราบลุ่มอันไม่เป็นที่ดอยที่เขาเช่นแต่ก่อน
    ตระกูลของท่านพากันอพยพหนีความอัตคัดฝืดเคือง มาหาภูมิลำเนาใหม่ ผ่านหุบเหวภูเขาสูงของอำเภอด่านซ้าย ผ่านป่าดงพงทึบของ ภูเรือ ภูฟ้า ภูหลวง ได้มาพบชัยภูมิใหม่เหมาะ คือที่ บ้านโคกมน ตำบลผาน้อย อำเภอวังสะพุง ยังเป็นที่รกร้างว่างเปล่าใกล้หุบห้วย เหมาะแก่การเพาะปลูก จึงช่วยกันหักร้างถางป่าออกเป็นไร่นาสาโท คงยึดอาชีพหลักคือการทำนาเช่นเดิม
    ณ ที่บ้านโคกมนแห่งนี้เอง ที่ เด็กชายบ่อ บุตรชายคนหัวปีของสกุลแก้วสุวรรณได้ถือกำเนิดมา เป็นประดุจพญาช้างเผือกที่มีกำเนิดจากกลางไพรพฤกษ์ ทำให้ชื่อป่าที่เกิดของพญาช้างเผือกนั้นเป็นที่รู้จักขจรขจายไปทั่วสารทิศ...ฉันใด หลวงปู่ก็ทำให้ชื่อหมู่ “บ้านโคกมน” บ้านที่เกิดของท่านเป็นที่รู้จัก เป็นที่จาริกแสวงบุญของบรรดาชาวพุทธทั่วประเทศ...ฉันนั้น

    ๖. สู่เพศพรหมจรรย์


    เมื่อท่านอายุย่างเข้า ๑๙ ปี พระอาจารย์พาได้จัดการดูแลให้ผ้าขาวศิษย์รักได้บรรพชาเป็นสามเณร ณ วัดบ้านนาแก บ้านนากลาง อำเภอหนองบัวลำภู จังหวัดอุดรธานี ด้วยเป็นวัดใกล้บ้านกับที่ลุงของท่านผู้เป็นพี่ชายโยมมารดามีหลักฐานบ้านช่องอยู่ อัฐบริขารนั้นโยมมารดาและยายช่วยกันจัดหาให้ด้วยความศรัทธา
    ท่านใช้ชีวิตระหว่างเป็นสามเณรอยู่ถึง ๔ ปีกว่า โดยท่านอาจารย์พามิได้หวงแหน ให้ศิษย์ศึกษาอบรมอยู่กับท่านแต่ผู้เดียว ท่านได้ให้ศิษย์รักออกไปศึกษาธรรมกับครูบาอาจารย์ตามสำนักต่าง ๆ เพิ่มเติม เพื่อให้มีความรู้แตกฉานกว้างขวางขึ้น หลวงปู่จึงได้มีโอกาสไปกราบเรียนข้อปฏิบัติกับพระอาจารย์องค์อื่น ๆ บ้าง เช่น พระอาจารย์สุวรรณ สุจิณโณ วัดโยธานิมิต เป็นอาทิ
    ครั้นท่านมีอายุครบ ๒๓ ปีบริบูรณ์ จึงได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุ ณ วัดสร่างโศก ซึ่งปัจจุบันมีชื่อว่า วัดศรีธรรมาราม อำเภอเมืองยโสธร ซึ่งขณะนั้นยังเป็นอำเภอหนึ่งอยู่ในจังหวัดอุบลราชธานี ยังมิได้ตั้งขึ้นเป็นจังหวัดยโสธร เช่นทุกวันนี้
    หลวงปู่บวชเมื่อวันที่ ๒๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๖๗ มี พระครูวิจิตรวิโสธนาจารย์ เป็นพระอุปัชฌายะ พระอาจารย์แดง เป็นพระกรรมวาจาจารย์ ได้รับฉายาว่า “ฐานสโม
    ท่านเมตตาเล่าให้ฟังว่า ท่านมิได้มีนิสัยสนใจทางการศึกษาด้านปริยัติธรรมมากนัก แม้การท่องพระปาฏิโมกข์นั้น ท่านใช้เวลาเรียนท่องถึง ๗ ปี จึงจำได้หมด
    รู้ความ แต่ไม่ได้ท่องจำ” ท่านเล่า
    เมื่อกราบเรียนถามว่า เหตุใดหลวงปู่จึงใช้เวลานานนัก ท่านก็ตอบอย่างขัน ๆ ว่า
    นาน ๆ ท่องเถื่อ (ครั้ง) หนึ่ง บางทีก็ ๒ เดือน ท่องเถื่อหนึ่ง บางทีก็ ๓ เดือนท่องเถื่อหนึ่ง
    สนใจภาวนามากกว่า
    ท่านสารภาพว่า ท่านดื่มด่ำในการภาวนามาก ท่านใช้คำบริกรรม “พุทโธ” อย่างเดียว มิได้ใช้ “อานาปานสติ” หรือกำหนดลมหายใจเข้า-ออกควบคู่กับพุทโธเลย
    อันที่จริงเพียงบริกรรม “พุทโธ” อย่างเดียว ก็นับว่าเป็นการเพียงพอแล้วสำหรับอภิบุคคล เช่นหลวงปู่ ท่านบริกรรมไม่นาน จิตก็จะรวมลงสู่ความสงบ ให้ความรู้สึกดูดดื่ม ลึกซึ้งในความสงบอย่างบอกไม่ถูก
    สิ่งที่ไม่เคยเห็น ก็ได้เห็น
    สิ่งที่ไม่เคยรู้ ก็ได้รู้
    สิ่งที่เป็นของอสาธารณะแก่ปุถุชนธรรมดาก็กลับปรากฏขึ้น
    เป็นที่น่าอัศจรรย์อย่างยิ่ง....!
    ท่านเล่าว่า จิตของท่านรวมลงสู่ความสงบได้โดยง่ายมาก และเกิดความรู้พิสดาร การนี้เริ่มปรากฏแก่ท่าน ตั้งแต่ขณะที่ท่านยังเป็นสามเณรอยู่ท่านสามารถมองเห็นสิ่งต่าง ๆ ที่แปลกลึกลับได้ดี เกินกว่าสายตามนุษย์สามัญจะรู้เห็นได้ ได้ล่วงรู้ความคิดความนึกในจิตใจของผู้อื่น
    ไม่ได้นึกอยากเห็น ก็เห็นขึ้นมาเอง
    ไม่ได้นึกอยากรู้ ก็รู้ขึ้นมาเอง
    รวมทั้งการรู้เห็นสิ่งแปลก ๆ เช่น พวกกายทิพย์ คือ เทวบุตร อินทร์ พรหม ยม ยักษ์ นาค ครุฑ... หรือการรู้วาระจิตคนอื่น ที่เขาคิด เขานึกอยู่ในใจ ก็สามารถได้ยินชัด
    สิ่งเหล่านี้...แรก ๆ ท่านก็ทั้งตกใจ ทั้งประหลาดใจ แต่เมื่อเป็นมาระยะหนึ่ง ได้รู้ว่าอะไรคือความจริง อะไรคือภาพนิมิต ก็ระงับสติได้ มีสติว่า นี่เป็นเรื่องพิสดาร แต่ไม่ควรจะให้ความสนใจมากนัก
    นี่เป็นเหตุหนึ่ง ที่เมื่อได้บวชเป็นภิกษุแล้ว ท่านก็บากบั่นมุ่งมั่นต่อไปในแดนพุทธาณาจักรอย่างไม่ย่อท้อ
    ครูบาอาจารย์ก็ช่วยให้ความมั่นใจว่า เมื่อท่านเป็นผู้มีนิสัย วาสนาทางนี้แล้ว ก็ควรจะเร่งทำความพากเพียรต่อไป ไม่ควรให้ความสนใจต่อสิ่งที่เป็นเหมือน”แขกภายนอก” เหล่านี้ ย่านึกว่าตนเป็นผู้วิเศษ ผู้เก่งกล้าอะไร ผู้ใดมีวาสนาบารมีสร้างสมอบรมมาอย่างไร ก็จะเป็นไปอย่างนั้น เปรียบเสมือนการปลูกต้นผลไม้ หากเรานำเอาเมล็ดมะม่วงมาเพาะ ปลูก ลงดิน รดน้ำ พรวนดิน ใส่ปุ๋ย บำรุงต้นไม้นั้นไป วันหนึ่งก็จะออกดอกออกช่อให้ผลเป็นเมล็ดมะม่วง ไม่เคยปลูกมะม่วง แต่จะนั่งกระดิกเท้ารอให้เกิดต้นมะม่วง มีผลมะม่วงขึ้นมาเอง ก็ไม่ได้เช่นเดียวกัน
    ท่านเป็นผู้มีวาสนาบารมีธรรมสร้างสมมาแต่บรรพชาติ จิตจึงเกรียงไกรมีอานุภาพ แต่ก็ควรจะประมาณตนอยู่ เพราะความรู้สิ่งเหล่านี้ ไม่ใช่จุดหมายปลายทางของผู้กระทำความเพียรภาวนา นักปราชญ์จะไม่มัวหลงงมงายอยู่กับความรู้ภายนอกอันเป็นโลกียอภิญญา จุดหมายปลายทางของปวงปราชญ์ราชบัณฑิตนั้น อยู่ที่การกำจัดอาสวกิเลสที่หมักดองอยู่ในกมลสันดานของเรานั้นให้หมดไป สิ้นไป โดยไม่เหลือแม้แต่เชื้อต่างหาก
    หลวงปู่ได้น้อมรับคำสอนเตือนสติของครูบาอาจารย์ด้วยความเคารพ แม้หมู่เพื่อน ๆ จะมีความเกรงใจท่านอยู่มาก แต่ท่านก็มีความเสงี่ยม เจียมตัวอยู่ มิได้นึกเห่อเหิมอวดตัวแต่ประการใด ระยะแรก ๆ ท่านเต็มไปด้วยความระวังตัว ด้วยไม่แน่ใจว่า บางครั้งภาพที่ปรากฏให้ท่านเห็นนั้น จะมีผู้อื่นเห็นเหมือนกับท่านหรือไม่ หากเขาปรากฏให้ท่านเห็นเพียงผู้เดียว การทักทายปราศรัย หรือสนทนาก็อาจทำให้ถูกมองเหมือนเป็นคนบ้า คนประหลาด พูดคุยคนเดียวก็ได้ ท่านจึงเป็นผู้เงียบสงบ ไม่ค่อยพูดคุยสุงสิงกับใครมากนัก ด้วยได้ใช้ภาษาใจได้อย่างเป็นประโยชน์มากกว่า อย่างไรก็ดี ต่อมาท่านก็ชำนาญในการนี้มากขึ้น จนรู้ได้ทันทีว่านี้เป็นนิมิตหรือไม่ แต่ในขณะเดียวกันนั้น ท่านก็คิดหมายมาดว่า ท่านจะต้องเร่งโอกาสความเพียรพยายามต่อไปโดยไม่ประมาท


    [​IMG]วันหนึ่งในเดือนมกราคม ปี ๒๕๓๕ กำลังรวบรวมข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อเขียนประวัติให้สมบูรณ์อยู่นั้น มีศิษย์ของหลวงปู่ป่วยอยู่ที่โรงพยาบาล เธอเป็นศิษย์ผู้หนึ่งซึ่งเคารพ รัก ศรัทธา หลวงปู่อย่างสูงสุด ระหว่างเจ็บ นอนใส่เฝือกอยู่ในห้องพักผู้ป่วย ก็มีรูปหลวงปู่ไว้กราบบูชาโดยตลอด มีทั้งรูปหล่อเหมือนในท่ายืน...รูปหล่อเหมือนในท่านั่ง...และรูปภาพถ่าย
    วันนั้น เธอได้ยกรูปหล่อเหมือนที่ยืนขึ้นมาทำความสะอาด มีห่อกระดาษเก่า ๆ วางอยู่ใต้ฐานรูป เธอจึงแกะออกมาดู เห็นเป็นพระธาตุจำนวนหลายสิบองค์ เธอก็โทรศัพท์ละล่ำละลักมาเล่าให้ผู้เขียนฟัง เธอยืนยันอย่างแน่นแฟ้นว่า ไม่มีทางที่จะมีใครนำห่อพระธาตุนั้นไปซุกไว้ใต้ฐานรูปหล่อเหมือน เพราะฐานนั้นโปร่ง กลวง และเมื่อวันที่อัญเชิญมา เธอก็จัดทำความสะอาดแล้ว ด้วยความเคารพทะนุถนอมอย่างที่สุด พลิกดูให้สะอาดเอี่ยมทุกแง่ทุกมุม แทบไม่มีฝุ่นละอองชิ้นใดจะผ่านสายตาไปได้
    ห่อกระดาษบรรจุพระธาตุนั้นไม่มีแน่ที่ใต้ฐานรูปหล่อเหมือนนั้น
    แล้ววันนี้มีพระธาตุวางอยู่ใต้ฐานรูปหล่อเหมือนของหลวงปู่ได้อย่างไร
    ขอให้พี่ช่วยไปดูด้วย เธอว่า
    ผู้เขียนยังไม่ทันมีเวลาว่างผ่านไปดู ต่อมาอีก ๒ – ๓ วัน เธอก็โทรศัพท์มาใหม่...ก้อจากห้องผู้ป่วยนั่นแหละ เล่าอย่างตื่นเต้นว่า
    พระธาตุเหล่านั้นเธอได้เก็บใส่ผอบบูชาไว้ อย่างที่พี่แนะ แต่ระหว่างนี้ก็อดไม่ได้ที่จะนำมาให้เพื่อนที่มาเยี่ยม ๒ คน ซึ่งรู้ว่ารู้จักหลวงปู่และเคารพท่านได้ดูกันเป็นขวัญตา
    วันนั้นดูกันแล้วก็เก็บกลับใส่ผอบเรียบร้อย แล้วหยิบรูปภาพหลวงปู่มาดูอย่างชื่นชมอีกวาระหนึ่ง
    ประหลาดที่รูปภาพโปสการ์ดหลวงปู่แผ่นนั้น ซึ่งพอวางลงกลับมองเห็นแสงแปลบออกมาตรงดวงตาทั้งสองของท่าน มองไปชัด ๆ ก็เห็นเป็นพระธาตุ ๒ องค์ อยู่ ณ ที่ดวงตาของท่านข้างละองค์ เธอและเพื่อนเอะอะโวยวายขึ้นด้วยความปีติ
    [​IMG]ครั้นพิจารณาต่อไป ก็เห็นพระธาตุองค์ที่สามอยู่ตรงจีวร และมีองค์ที่สี่ตกอยู่ใกล้ ๆ อีก
    ทั้งสามคนช่วยกันยืนยันกับผู้เขียนว่า น่าอัศจรรย์จริง ๆ และถ้าจะคิดว่าจัดเก็บพระธาตุ (ซึ่งก็มาปรากฏในรูปหล่อเหมือนของท่าน) ไม่เรียบร้อย ทำให้ตกหล่นอยู่นอกผอบ ก็เป็นไปไม่ได้ที่จะมีพระธาตุหลงเหลือไปปรากฏบนรูปภาพโปสการ์ด ซึ่งอยู่อีกแห่งหนึ่ง และหยิบรูปภาพโปสการ์ดมาวางภายหลังจากปิดผอบแล้ว
    พระธาตุนั้น แน่ละ... !
    แต่ว่า พระธาตุ ของใคร ? ของท่านองค์ไหน ?
    ผลสุดท้าย ผู้เขียนทนคะยั้นคะยอไม่ได้ ก็ไปเยี่ยมเธอที่โรงพยาบาลอีกครั้งหนึ่ง นัยว่าเพื่อจะได้กราบชมพระธาตุปาฏิหาริย์ทั้งสองครั้งนั้นด้วย
    เธอหน้าชื่นอย่างดีใจ รีบนำพระธาตุมา “ให้พี่ได้กราบ” โดยแยกเป็นทั้งพระธาตุรุ่นแรกหลายสิบองค์ และอีก ๔ องค์ที่ปรากฏภายหลังบนรูปภาพโปสการ์ดหลวงปู่ด้วย
    เธอเล่าว่า ได้เห็นเส้นเกศามาด้วยสามสี่เส้น
    อย่างไรก็ดี พอเปิดผอบพระธาตุชุด ๔ องค์ เธอก็อุทานเสียงดัง “ตาย...เส้นเกศาหายไปไหนหมดแล้ว !
    ผู้เขียนฟังเรื่องเส้นเกศาอย่างไม่สนใจมากนัก เพราะกำลังพิจารณาดูพระธาตุทั้งหมดนั้นมากกว่า
    พระธาตุนั้น...แน่ละ !
    แต่ว่า พระธาตุของใคร ? ของท่านองค์ไหน ? ผู้เขียนก็มิได้มีความรู้พิเศษเสียด้วย
    ตายพี่ เส้นเกศาหายไปหมดเลยค่ะ” เธอบ่นซ้ำด้วยน้ำเสียงเหมือนจะร้องไห้ “วันก่อนนั้นก็ยังอยู่ หนูโทรไปบอกพี่ครั้งสุดท้าย แล้วก็ไม่ได้ให้ใครดูอีกเลย ทำไมท่านหายไปคะ ?
    ผู้เขียนก็ได้แต่ปลอบใจเธอว่า ไม่เป็นไร ถึงไม่มีเส้นเกศาปาฏิหาริย์ แต่หนูก็มีพระธาตุปาฏิหาริย์แล้ว ควรจะพอใจ ภูมิใจการภาวนาของตัวเองมากกว่า
    เธอยังไม่เลิกเสียใจ...เสียดาย เห็นเธอยกรูปหลวงปู่ขึ้นกราบ บ่นดัง ๆ ว่า หลวงปู่เจ้าขา ลูกขอให้พี่เขามาดูพระธาตุ กราบพระธาตุกับเส้นเกศา แต่เวลานี้เส้นเกศาหายไปเจ้าค่ะ หลวงปู่ช่วยให้พี่เขาได้กราบบูชาเส้นเกศาเป็นมงคลหน่อยซีเจ้าคะ
    เสียงเธอแสดงความเสียใจ ผิดหวัง แต่ก็คาดคอยอย่างเปี่ยมด้วยความหวัง
    นะเจ้าคะ หลวงปู่ ขอเส้นเกศาเจ้าค่ะ
    ประหลาดจริง ๆ ผู้เขียนเองก็อดร้องออกมาเบา ๆ ไม่ได้ เมื่อมองเห็นเส้นเกศาทั้งสีขาวและดำ ราว ๗ – ๘ เส้น ผุดขึ้นในผอบแก้วที่ใส่พระธาตุอย่างน่าอัศจรรย์
    เธอน้ำตาคลอเต็มเบ้า พูดซ้ำซากแต่ว่า “พี่...หนูไม่ได้ร้องไห้นะ...แต่หนูปีติ...ปีติเหลือเกิน
    เราทั้งสองคน ต่างมองเห็นเส้นเกศาที่ผุดขึ้นมาใหม่นิ่งอยู่อย่างอัศจรรย์ใจ แล้วเราก็หมอบกราบลงพร้อมกันอย่างไม่ได้นัดหมาย
    พระธาตุนั้นแน่ละ...และเส้นเกศา ก็แน่อีกจริง ๆ

    ที่สงสัยว่าเป็นพระธาตุของท่านองค์ใด เส้นเกศาของหลวงปู่ท่านไหน...นั้นเห็นจะไม่น่าต้องพูดกันอีกแล้ว
    ผู้เขียนเลยคิดว่า จะกลับไปถ่ายรูป นำพระธาตุทั้งหมดและภาพเส้นเกศาที่มาปรากฏครั้งใหม่ต่อหน้าเราสองคน มารวมลงพิมพ์ในหนังสือประวัติฉบับพิมพ์ครั้งใหม่นี้ด้วย เพราะคิดว่า อย่างไร ๆ ก็คงจะต้องถ่ายภาพเส้นเกศาของท่านที่เริ่มรวมตัวจะเป็นพระธาตุใหม่อีกครั้งหนึ่ง เพราะภาพที่ลงในการพิมพ์ครั้งแรกนั้น บัดนี้ของจริงได้แปรสภาพมากขึ้นกว่าเก่าอย่างเห็นได้ชัด
    อย่างไรก็ดี เมื่อเรากลับไปเพื่อถ่ายภาพพระธาตุที่ห้องคนเจ็บในโรงพยาบาลอีกครั้งหนึ่ง ระหว่างเปิดผอบ พระธาตุ ๔ องค์ และเส้นเกศาออก และจัดวางให้เข้าที่ เพื่อให้ช่างภาพได้เก็บภาพอย่างชัด ๆ นั้น ก็พลันเห็นพระธาตุแก้วใสปรากฏขึ้นอีกองค์หนึ่ง...!
    ทุกคนยังไม่หายตื่นเต้นดี ...ก้าว ผุดขึ้นมาอีกองค์หนึ่งแล้ว สีน้ำตาลอ่อน...!
    เป็นองค์ที่ ๖
    ความจริงเราไม่ได้สงสัยกันแล้ว หากก็อดชอบคิด “ทำไม” กันไม่ได้...แต่ครั้งนี้...ครั้งนี้....
    นอกจากเลิกสงสัยแล้ว ควรจะเลิก “คิด” ด้วยเช่นกัน
    เพราะจำได้ว่า เคยกราบเรียนถามหลวงปู่หลุยในเรื่องที่เกิดขึ้นอย่างน่าอัศจรรย์ใจทำนองนี้...ทำไม ? เกิดขึ้นได้อย่างไร ?
    ท่านมองผู้เขียนอย่างเมตตา “เรื่องอย่างนี้ เป็น อจินไตย ไม่ควรคิด
    เรียนถามท่านว่า อจินไตย แปลว่าอย่างไร
    ท่านตอบเรียบ ๆ ว่า “พระพุทธเจ้าทรงสอนว่า เป็นเรื่องไม่ควรคิด ควรสงสัย คิดไปจะเป็นบ้า” แล้วท่านก็เสริมด้วยหน้ายิ้ม ๆ มองผู้เขียนอย่างเวทนาในความแสนจะไม่เดียงสา “เรื่องของพระอรหันต์ อะไร ๆ ก็เกิดขึ้นได้ทั้งนั้น เป็นอจินไตย

    ขอขอบคุณ (ข้อมูลข้างต้นคัดมาเฉพาะบางส่วน ข้อมูลเต็มดูได้จากเวบเดียวกัน)

     
  10. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097
    สนใจเหรียญรุ่นไหนเชิญชมได้ตามสบายเช่นกันครับ



    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD id=tDataImage0 style="PADDING-TOP: 0px" vAlign=bottom noWrap align=middle width="25%">[​IMG]</TD><TD id=tDataImage1 style="PADDING-TOP: 0px" vAlign=bottom noWrap align=middle width="25%">[​IMG]</TD><TD id=tDataImage2 style="PADDING-TOP: 0px" vAlign=bottom noWrap align=middle width="25%">[​IMG]</TD><TD id=tDataImage3 style="PADDING-TOP: 0px" vAlign=bottom noWrap align=middle width="25%">[​IMG]</TD></TR><TR><TD id=tDataText0 vAlign=top align=middle width="25%">[FONT=arial,sans-serif][SIZE=-1]เหรียญหลวงปู่ชอบ รุ่นแรก เนื้อฝาบาตร ...[/SIZE][/FONT]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]717 x 912 - 75k - jpg[/FONT][/SIZE]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]www.eamulet.com[/FONT][/SIZE]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif][ เพิ่มเติมจาก www.eamulet.com ][/FONT][/SIZE]
    </TD><TD id=tDataText1 vAlign=top align=middle width="25%">[FONT=arial,sans-serif][SIZE=-1]เหรียญหลวงปู่ชอบ รุ่นแรก เนื้อฝาบาตร ...[/SIZE][/FONT]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]698 x 893 - 93k - jpg[/FONT][/SIZE]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]pda.tarad.com[/FONT][/SIZE]
    </TD><TD id=tDataText2 vAlign=top align=middle width="25%">[FONT=arial,sans-serif][SIZE=-1]พระเหรียญ หลวงปู่ชอบเหรียญรุ่นแรก ...[/SIZE][/FONT]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]468 x 572 - 139k - jpg[/FONT][/SIZE]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]p.moohin.com[/FONT][/SIZE]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif][ เพิ่มเติมจาก p.moohin.com ][/FONT][/SIZE]
    </TD><TD id=tDataText3 vAlign=top align=middle width="25%">[FONT=arial,sans-serif][SIZE=-1]เหรียญหลวงปู่ชอบ รุ่นแรก สร้างปี ...[/SIZE][/FONT]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]403 x 518 - 33k - jpg[/FONT][/SIZE]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]www.soonphra.com[/FONT][/SIZE]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif][ เพิ่มเติมจาก www.soonphra.com ][/FONT][/SIZE]
    </TD></TR><TR><TD id=tDataImage4 style="PADDING-TOP: 20px" vAlign=bottom noWrap align=middle width="25%">[​IMG]</TD><TD id=tDataImage5 style="PADDING-TOP: 20px" vAlign=bottom noWrap align=middle width="25%">[​IMG]</TD><TD id=tDataImage6 style="PADDING-TOP: 20px" vAlign=bottom noWrap align=middle width="25%">[​IMG]</TD><TD id=tDataImage7 style="PADDING-TOP: 20px" vAlign=bottom noWrap align=middle width="25%">[​IMG]</TD></TR><TR><TD id=tDataText4 vAlign=top align=middle width="25%">[FONT=arial,sans-serif][SIZE=-1]พระเหรียญ หลวงปู่ชอบเหรียญรุ่นแรก ...[/SIZE][/FONT]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]308 x 336 - 91k - jpg[/FONT][/SIZE]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]p.moohin.com[/FONT][/SIZE]
    </TD><TD id=tDataText5 vAlign=top align=middle width="25%">[FONT=arial,sans-serif][SIZE=-1]เหรียญหลวงปู่ชอบ รุ่นแรก เนื้อฝาบาตร ...[/SIZE][/FONT]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]636 x 780 - 59k - jpg[/FONT][/SIZE]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]www.tarad.com[/FONT][/SIZE]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif][ เพิ่มเติมจาก pomja.tarad.com ][/FONT][/SIZE]
    </TD><TD id=tDataText6 vAlign=top align=middle width="25%">[FONT=arial,sans-serif][SIZE=-1]ขอเรียนถามว่าเหรียญหลวงปู่ชอบ ...[/SIZE][/FONT]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]486 x 648 - 64k - jpg[/FONT][/SIZE]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]www.siamamulet.net[/FONT][/SIZE]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif][ เพิ่มเติมจาก www.siamamulet.net ][/FONT][/SIZE]
    </TD><TD id=tDataText7 vAlign=top align=middle width="25%">[FONT=arial,sans-serif][SIZE=-1]เหรียญหลวงปู่ชอบ รุ่นแรก[/SIZE][/FONT]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]450 x 608 - 90k - jpg[/FONT][/SIZE]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]www.thaiwebkit.com[/FONT][/SIZE]
    </TD></TR><TR><TD id=tDataImage8 style="PADDING-TOP: 20px" vAlign=bottom noWrap align=middle width="25%">[​IMG]</TD><TD id=tDataImage9 style="PADDING-TOP: 20px" vAlign=bottom noWrap align=middle width="25%">[​IMG]</TD><TD id=tDataImage10 style="PADDING-TOP: 20px" vAlign=bottom noWrap align=middle width="25%">[​IMG]</TD><TD id=tDataImage11 style="PADDING-TOP: 20px" vAlign=bottom noWrap align=middle width="25%">[​IMG]</TD></TR><TR><TD id=tDataText8 vAlign=top align=middle width="25%">[FONT=arial,sans-serif][SIZE=-1]เหรียญหลวงปู่ชอบ รุ่นแรก เนื้อ.[/SIZE][/FONT]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]686 x 788 - 83k - jpg[/FONT][/SIZE]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]www.tarad.com[/FONT][/SIZE]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif][ เพิ่มเติมจาก www.tarad.com ][/FONT][/SIZE]
    </TD><TD id=tDataText9 vAlign=top align=middle width="25%">[FONT=arial,sans-serif][SIZE=-1]เหรียญหลวงปู่ชอบและหลวงปู่หลุย ...[/SIZE][/FONT]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]400 x 300 - 26k - jpg[/FONT][/SIZE]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]www.uamulet.com[/FONT][/SIZE]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif][ เพิ่มเติมจาก www.uamulet.com ][/FONT][/SIZE]
    </TD><TD id=tDataText10 vAlign=top align=middle width="25%">[FONT=arial,sans-serif][SIZE=-1]เหรียญหลวงปู่ชอบ ฐานสโม ...[/SIZE][/FONT]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]588 x 477 - 38k - jpg[/FONT][/SIZE]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]amuletsinthai.com[/FONT][/SIZE]
    </TD><TD id=tDataText11 vAlign=top align=middle width="25%">[FONT=arial,sans-serif][SIZE=-1]วันนี้กระผมมีความยินดีขอนำเสนอเหรียญ ...[/SIZE][/FONT]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]650 x 717 - 56k - jpg[/FONT][/SIZE]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]www.siamamulet.net[/FONT][/SIZE]
    </TD></TR><TR><TD id=tDataImage12 style="PADDING-TOP: 20px" vAlign=bottom noWrap align=middle width="25%">[​IMG]</TD><TD id=tDataImage13 style="PADDING-TOP: 20px" vAlign=bottom noWrap align=middle width="25%">[​IMG]</TD><TD id=tDataImage14 style="PADDING-TOP: 20px" vAlign=bottom noWrap align=middle width="25%">[​IMG]</TD><TD id=tDataImage15 style="PADDING-TOP: 20px" vAlign=bottom noWrap align=middle width="25%">[​IMG]</TD></TR><TR><TD id=tDataText12 vAlign=top align=middle width="25%">[FONT=arial,sans-serif][SIZE=-1]รายละเอียด: เหรียญหลวงปู่ชอบ ฐานสโม ...[/SIZE][/FONT]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]664 x 795 - 73k - jpg[/FONT][/SIZE]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]eamulet.com[/FONT][/SIZE]
    </TD><TD id=tDataText13 vAlign=top align=middle width="25%">[FONT=arial,sans-serif][SIZE=-1]เหรียญหลวงปู่ชอบ ฐานสโม ปี ๒๕๑๗[/SIZE][/FONT]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]475 x 707 - 53k - jpg[/FONT][/SIZE]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]pomja.tarad.com[/FONT][/SIZE]
    </TD><TD id=tDataText14 vAlign=top align=middle width="25%">[FONT=arial,sans-serif][SIZE=-1]พระเหรียญ หลวงปู่ชอบเหรียญรุ่นแรก ...[/SIZE][/FONT]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]344 x 406 - 103k - jpg[/FONT][/SIZE]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]p.moohin.com[/FONT][/SIZE]
    </TD><TD id=tDataText15 vAlign=top align=middle width="25%">[FONT=arial,sans-serif][SIZE=-1]เหรียญหลวงปู่ชอบ ฐานสะโม รุ่นแรก ...[/SIZE][/FONT]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]730 x 786 - 150k - jpg[/FONT][/SIZE]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]v1.uamulet.com[/FONT][/SIZE]
    </TD></TR><TR><TD id=tDataImage16 style="PADDING-TOP: 20px" vAlign=bottom noWrap align=middle width="25%">[​IMG]</TD><TD id=tDataImage17 style="PADDING-TOP: 20px" vAlign=bottom noWrap align=middle width="25%">[​IMG]</TD><TD id=tDataImage18 style="PADDING-TOP: 20px" vAlign=bottom noWrap align=middle width="25%">[​IMG]</TD><TD id=tDataImage19 style="PADDING-TOP: 20px" vAlign=bottom noWrap align=middle width="25%">[​IMG]</TD></TR><TR><TD id=tDataText16 vAlign=top align=middle width="25%">[FONT=arial,sans-serif][SIZE=-1]ชื่อพระ, เหรียญหลวงปู่ชอบ รุ่นแรก จ.[/SIZE][/FONT]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]550 x 392 - 91k - jpg[/FONT][/SIZE]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]www.thaprachan.com[/FONT][/SIZE]
    </TD><TD id=tDataText17 vAlign=top align=middle width="25%">[FONT=arial,sans-serif][SIZE=-1]ชื่อพระ เหรียญหลวงปู่ชอบ ฐานสโม ...[/SIZE][/FONT]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]352 x 180 - 53k - gif[/FONT][/SIZE]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]www.banphra.com[/FONT][/SIZE]
    </TD><TD id=tDataText18 vAlign=top align=middle width="25%">[FONT=arial,sans-serif][SIZE=-1]เหรียญหลวงปู่ชอบ ฐานสโม พ.๒[/SIZE][/FONT]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]484 x 577 - 44k - jpg[/FONT][/SIZE]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]www.tarad.com[/FONT][/SIZE]
    </TD><TD id=tDataText19 vAlign=top align=middle width="25%">[FONT=arial,sans-serif][SIZE=-1]วันนี้กระผมมีความยินดีขอนำเสนอเหรียญ ...[/SIZE][/FONT]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]537 x 588 - 71k - jpg[/FONT][/SIZE]
    [SIZE=-1][FONT=arial,sans-serif]www.amulet2u.com[/FONT][/SIZE]
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  11. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097
    พระพุทธประวัติ ตอนที่ ๕๖ | ท้าวสหัมบดีพรหมลงมาทูลอาราธนาพระพุทธเจ้า
    <!-- Main -->พระพุทธประวัติ ตอนที่ ๕๖ : ท้าวสหัมบดีพรหมลงมาทูลอาราธนาพระพุทธเจ้า


    ท้าวสหัมบดีพรหมลงมาทูลอาราธนาพระพุทธเจ้า
    ให้ทรงแสดงธรรมโปรดชาวโลก

    เมื่อท้าวสหัมบดีพรหมในเทวโลกได้ทราบถึง พระดำริของพระพุทธเจ้าเรื่องนี้ ท้าวสหัมบดีพรหมจึงตกพระทัยเป็นอย่างยิ่ง ท้าวสหัมบดีพรหมพร้อมด้วยเทวาคณานิกรทั้งหลายจึงลงมากราบทูลอาราธนาพระพุทธเจ้าให้ทรงแสดงธรรม

    [​IMG]

    ตอนท้าวสหัมบดีพรหมลงมาทูลอาราธนาพระพุทธเจ้าให้ทรงแสดงธรรมโปรดชาวโลกนี้ กวีท่านแต่งเป็นอินทรวงศ์ฉันท์ภาษาบาลีไว้ว่า

    "พรหฺมา จ โลกาธิปตี สหมฺปติ
    กตฺอญฺชลี อนฺธิวรํ อยาจถ
    สนฺตีธ สตฺตาปฺปรชกฺขชาติกา
    เทเสตุ ธมฺมํ อนุกมฺปิมํ ปชํ"

    แปลว่า "ท้าวสหัมบดีพรหม ประณมกรกราบทูลอาราธนาพระพุทธเจ้าผู้ทรงคุณอันประเสริฐว่า สัตว์ในโลกนี้ ที่มีกิเลสบางเบาพอที่จะฟังธรรมเข้าใจนั้นมีอยู่ ขอพระองค์ได้โปรดแสดงธรรมช่วยเหลือชาวโลกเทอญ"

    ต่อมาภาษาบาลีที่เป็นฉันท์บทนี้ ได้กลายเป็นคำสำหรับอาราธนาพระสงฆ์ในเมืองไทยให้แสดงธรรมมาจนทุกวันนี้
    <!-- End main-->

     
  12. นายสติ

    นายสติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มีนาคม 2007
    โพสต์:
    911
    ค่าพลัง:
    +4,285
    ภาพที่เหนือคำบรรยาย
    ของครูบาอิน อินฺโท

    ภาพนี้ "พุทธวงศ์"ถ่ายภาพเอาไว้ด้วยตนเองเมื่อคราวไปกราบเยี่ยมอาการอาพาธของหลวงปู่ครูบาอิน อินฺโท วัดฟ้าหลั่ง สหธรรมิกรุ่นพี่ต่างนิกายที่หลวงปู่สิม พุทฺธาจาโร สำนักสงฆ์ถ้ำผาปล่อง เชียงใหม่ให้ความเคารพเลื่อมใสอย่างยิ่งที่โรงพยาบาลมหาราชจ.เชียงใหม่เป็นการส่วนตัวในเวลาเย็นย่ำยามวิกาลของวันหนึ่ง ก่อนหน้าที่ท่านจะมรณภาพได้ไม่นาน
    แม้ครูบาท่านจะอาพาธหนักเห็นปานนั้น แต่เมื่อถึงเวลา
    ทำวัตรค่ำ ครูบาอินท่านก็พยุงสังขารขึ้นมาสวดมนต์ทำวัตรบนเตียงพยาบาลอย่างไม่นึกไม่ฝันว่า จะได้เห็นภาพแบบนี้ ในสถานการณ์เช่นนี้มาก่อนเลยทีเดียว..!!!! <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=100 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE borderColor=#ffffff cellSpacing=1 cellPadding=5 width=250 align=center bgColor=#f4f4f4 border=0><TBODY><TR><TD align=middle bgColor=#ffffff><!-- [​IMG] -->[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    หากเป็นคนธรรมดาทั่วไป ยามเจ็บยามป่วยเจียนตาย คงจะลืมตัวลืมใจ เอาแต่บ่นเพ้อร่ำไรห่วงโน่นกังวลนี่จนไม่มีแก่จิตแก่ใจจะไหว้พระสวดมนต์อะไรต่อไปอีกแล้ว...
    แต่สำหรับ"อัจฉริยเถระ"เช่น "ครูบาอิน วัดฟ้าหลั่ง" ย่อมหาใช่เช่นนั้นไม่แม้จะอาพาธหนัก ใกล้จะมรณภาพเห็นปานนั้น ท่านก็หาได้ยอมทิ้งข้อวัตรใดๆไม่ แม้ตราบจนลมหายในสุดท้ายแท้ทีเดียว........ <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=100 align=center border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE borderColor=#ffffff cellSpacing=1 cellPadding=5 width=250 align=center bgColor=#f4f4f4 border=0><TBODY><TR><TD align=middle bgColor=#ffffff>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>


    และสิ่งที่น่าประทับใจ เหนือคำบรรยายใดๆทั้งหมดก็คือ "พระพุทธรูป"อันเป็นนิมิตหมายแทนองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่ครูบาอินใช้เป็นที่เคารพกราบไหว้ในยามสุดท้ายใกล้จะละสังขารนั้น ก็หาได้เป็นพระบูชาองค์ใหญ่ หรือภาพพระบานโตใดๆทั้งสิ้นไม่
    แต่เป็นเพียง"พระเครื่อง"เล็กๆองค์หนึ่ง ซึ่งตั้งอยู่บนโคมไฟเหนือเตียงอย่างธรรมดาๆและเรียบง่ายอย่างที่สุดเพียงเท่านั้น..!!!!!
    เมื่อได้เห็นภาพ"ครูบาอินทำวัตรกับพระเครื่อง"นี้ต่อหน้าต่อตาแล้ว ก็อดให้สะเทือนใจและซาบซึ้งอย่างบอกไม่ถูก ก็ให้เกิดรสชาดแห่งอารมณ์จิตที่สุดจะบรรยายเป็นคำพูดใดๆออกมาได้แล้วจริงๆ....
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=100 align=center border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE borderColor=#ffffff cellSpacing=1 cellPadding=5 width=250 align=center bgColor=#f4f4f4 border=0><TBODY><TR><TD align=middle bgColor=#ffffff>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>


    และเพื่อให้ครูบาท่านได้ทำบุญใหญ่สมใจ "พุทธวงศ์"จึงได้คิดอ่านน้อมนำปัจจัย,ผ้าไตรจีวรที่ครูบาอินท่านได้ตั้งจิตอธิษฐานอนุโมทนาไปถวายกฐินที่ "พระพุทธบาทสี่รอย" เพื่อให้ท่านได้บูชาคุณพระพุทธเจ้าแบบเต็มๆแทนท่านเป็นวาระสุดท้าย <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=100 align=center border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE borderColor=#ffffff cellSpacing=1 cellPadding=5 width=250 align=center bgColor=#f4f4f4 border=0><TBODY><TR><TD align=middle bgColor=#ffffff>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>


    ถวายกฐินแทนครูบาอินที่วัดพระพุทธบาทสี่รอย
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=100 align=center border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE borderColor=#ffffff cellSpacing=1 cellPadding=5 width=250 align=center bgColor=#f4f4f4 border=0><TBODY><TR><TD align=middle bgColor=#ffffff>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>


    และการไปถวายกฐินแทนครูบาอิน อินฺโทในครั้งนั้น ก็เป็น"ปฐมเหตุ"ให้ต้องได้มาสถาปนา"พระพุทธมหาธรรมิกราช" ซึ่งเป็นพระพุทธปฏิมาที่"พระศรีอาริยเมตไตรยเสด็จมารับด้วยพระองค์เอง" อันได้ปรากฏอภินิหารมากมายอย่างเหลือที่จะกล่าวได้ (ดูรายละเอียดเต็มได้ใน http://www.gmwebsite.com/Webboard/Topic.asp?TopicID=Topic-080523084126683) อย่างไม่เคยนึกฝันมาก่อนในที่สุดด้วยประการฉะนี้แล....
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=100 align=center border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE borderColor=#ffffff cellSpacing=1 cellPadding=5 width=250 align=center bgColor=#f4f4f4 border=0><TBODY><TR><TD align=middle bgColor=#ffffff>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>


    หรือว่านี้ จะเป็นการ"ขยายผล"จาก"พระเครื่ององค์น้อย"ที่"หัวเตียง"ที่ครูบาอินได้ทำวัตรสวดมนต์ก่อนละสังขารได้ไม่นานก็ใครเลย จักอาจรู้ได้ถ่องแท้เล่า..???? <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=100 align=center border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE borderColor=#ffffff cellSpacing=1 cellPadding=5 width=250 align=center bgColor=#f4f4f4 border=0><TBODY><TR><TD align=middle bgColor=#ffffff>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    <TABLE borderColor=#ffffff cellSpacing=1 cellPadding=5 width=250 align=center bgColor=#f4f4f4 border=0><TBODY><TR><TD align=middle bgColor=#ffffff>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    สาธุ สาธุ สาธุ
    ขอขอบคุณข้อมูลจากเว็บไซท์พุทธวงศ์
    http://www.phuttawong.net
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 26 กันยายน 2008
  13. เทพารักษ์

    เทพารักษ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    172
    ค่าพลัง:
    +980
    ร่วมบุญค่ะ

    ขอไปร่วมบุญในวันอาทิตย์ที่ 28 กันยายน 2551 ด้วยน่ะคะ
    รบกวนสอบถามนะคะ
    เรื่อง กำหนดการต่าง ๆ และต้องเตรียมอะไรไปบ้างคะ
    เพราะยังไม่เคยไปเบยค่ะ

    ขอบคุณมากนะคะ

    ***************************************
     
  14. นายสติ

    นายสติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มีนาคม 2007
    โพสต์:
    911
    ค่าพลัง:
    +4,285
    ยินดีเป็นอย่างยิ่งครับคุณเทพารักษ์ครับ ดีแล้วล่ะค่ะไปทำบุญด้วยมือเราตัวเราเองนี่แหละดีที่สุด จะได้รู้ได้เห็นสภาพที่พระคุณเจ้าทั้งหลายท่านมานอนเจ็บนอนป่วยทนทุกข์เวทนาด้วยตาเราเอง

    สำหรับกำหนดทำบุญในวันอาทิตย์ที่ 28 กันยายน 2551 นี้ ทางทุนนิธิฯจะเริ่มจัดเตรียมภัตตาหารถวายพระสงฆ์ที่โรงอาหารของโรงพยาบาลตอนช่วงสัก 7.00-7.45 น.(จะมาช่วยจัดด้วยก็ได้นะคะ) สัก 8.00 น.ก็จะเคลื่อนขบวนไปถวายภัตตาหารที่ตึก กัลยาณิวัฒนา ครับ

    ก็ต้องขอขอบพระคุณและโมทนาบุญในจิตอันเป็นบุญกุศลของ คุณเทพารักษ์ ด้วยนะครับ ไม่ต้องเตรียมอะไรมาหรอกครับมาแต่ตัวก็พอแล้วครับ
    โมทนา สาธุ โมทนา สาธุ โมทนา สาธุ

     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 26 กันยายน 2008
  15. นายสติ

    นายสติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มีนาคม 2007
    โพสต์:
    911
    ค่าพลัง:
    +4,285
    ผู้หญิงและผู้ชายมีอุปสรรคและความยากง่ายในการบรรลุธรรมต่างกันหรือไม่


    ปุจฉา

    การปฏิบัติธรรมนั้นผู้หญิงและผู้ชาย มีอุปสรรค และความยากง่ายในการบรรลุธรรม ต่างกันหรือไม่ ? อย่างไร ?และอะไรจะเป็นเครื่องช่วยให้บรรลุธรรมได้ ?


    วิสัชนา

    " มีสติ มีศรัทธา มีปัญญา มีความเพียร มีความจริงใจที่จะปฏิบัติธรรม ไม่ว่าอะไรจะเกิดก็มิอาจเป็นอุปสรรคต่อการบรรลุธรรมได้ ไม่ว่าจะเป็นหญิงหรือชาย นอกจากที่กล่าวมาแล้วการบรรลุธรรมก็ขึ้นอยู่กับวาสนาบารมีที่สั่งสมอบรมมาแต่อดีตชาติของตนเหมือนกัน ฉะนั้นการบรรลุธรรมแต่ละชั้นก็ต้องอาศัยกุศลกรรมเก่าบวกกับกุศลกรรมใหม่เหมือนกัน "
    พุทธะอิสระ


    ขอขอบพระคุณเว็บไซท์วัดอ้อน้อย
    http://www.onoi.org
     
  16. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097
    สำหรับสมาชิกที่มีลูกเล็ก ระวังด้วย จากหนังสือพิมพ์ข่าวสด ฉบับวันนี้ (26/9 ) เอง ครับ


    ห้ามอีกขนมจากจีน6ชนิด"โอรีโอ-เมนทอส"

    "เอ็ม-เอ็ม" สนิกเกอร์ ผวาปนพิษ "เมลามีน"




    <TABLE cellSpacing=5 cellPadding=1 width="20%" align=left border=0><TBODY><TR bgColor=#400040><TD>[​IMG]
    ห้ามขายอีก- ขนมและลูกอมยี่ห้อดังที่ผลิตจากเมืองจีน ถูกอย.สั่งเก็บออกจากห้างสรรพสินค้า และห้ามขายทุกแห่ง ระหว่างตรวจสอบหาสารปนเปื้อน หลังพบนมเลี้ยงทารก และขนมที่ผลิตจากเมืองจีนผสมสารเมลามีน ซึ่งเป็นอันตรายต่อร่างกาย

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    อย.เข้มสั่งเก็บแล้ว 6 สินค้ามีส่วนผสมนมจากจีน หวั่นปนเปื้อนสารเมลามีน ประกอบด้วย เวเฟอร
     
  17. นายสติ

    นายสติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มีนาคม 2007
    โพสต์:
    911
    ค่าพลัง:
    +4,285
    การนั่งสมาธิ ไม่เห็นนิมิต ดีหรือไม่


    ปุจฉา
    การนั่งสมาธิในการที่เราไม่เห็นนิมิต ดีหรือไม่ค่ะหลวงปู่ ?



    วิสัชนา
    " ต้องถามคุณกลับไปว่า คุณนั่งเจริญสติเพื่อให้เกิดการเห็น หรือนั่งเพื่อให้เกิดความสงบ รู้ตื่น และเบิกบาน ถ้านั่งเพื่อจะให้เกิดความสงบ รู้ตื่น และเบิกบาน ก็ไม่จำเป็นต้องเห็นนิมิตใดๆ "

    พุทธะอิสระ


    ขอขอบพระคุณเว็บไซท์วัดอ้อน้อย

    http://www.onoi.org
     
  18. kratium

    kratium เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 มกราคม 2007
    โพสต์:
    484
    ค่าพลัง:
    +3,670
    เมื่อวานนี้ 25 กันยายน 2551เวลา 19.33 น. โอนเงินร่วมทำบุญ 500 บาทค่ะ อนุโมทนากับทุกท่านค่ะ
     
  19. thanyaka

    thanyaka เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    309
    ค่าพลัง:
    +2,497
    วันนี้ได้ส่งเงินร่วมบุญกับทุกท่าน 200 บาท ลูกชาย คนตัวเล็กร่วมด้วย 10 บาท รวม 210 บาท ค่ะ จากสาขาสันกำแพง
    สาธุ อนุโมทนาบุญทั้งหมดทั้งปวงด้วยคน
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 26 กันยายน 2008
  20. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097
    พระพุทธประวัติ ตอนที่ ๕๗ | ทรงคำนึงเห็นอุปนิสัยเวไนยสัตว์
    <!-- Main -->[SIZE=-1]พระพุทธประวัติ ตอนที่ ๕๗ : ทรงคำนึงเห็นอุปนิสัยเวไนยสัตว์

    ทรงคำนึงเห็นอุปนิสัยเวไนยสัตว์
    เปรียบด้วยดอกบัว ๔ เหล่า

    จึงรับอาราธนาท้าวสหัมบดีพรหม

    ท้าวสหัมบดีพรหมที่เสด็จมากราบทูลอาราธนาพระพุทธเจ้าให้ทรงแสดงธรรมประกาศพระศาสนาโปรดชาวโลกนั้น เป็นเรื่องปุคคลาธิษฐาน คือ แต่งเป็นนิยายมีบุคคลเป็นตัวแสดงในเรื่อง แต่ถ้าถอดความเป็นธรรมาธิษฐาน หรืออธิบายกันตรงๆ ก็คือสหัมบดีพรหมนั้น ได้แก่พระมหากรุณาของพระพุทธเจ้านั่นเอง

    ถึงพระพุทธเจ้าจะทรงท้อพระทัยว่าจะไม่แสดงธรรม แต่อีกพระทัยหนึ่งซึ่งมีอำนาจเหนือกว่า คือ พระมหากรุณา และพระมหากรุณานี่เองที่เป็นเหตุให้พระพุทธเจ้าตัดสินพระทัยว่าจะทรงแสดงธรรมที่จริงในราตรีแห่งวันที่จะได้ตรัสรู้ ในมัชฌิมยามนั้น ทรงบรรลุจุตูปปาตญาณ ก็ทรงหยั่งเห็นสันดานของประชาสัตว์สิ้นแล้ว ว่ามีอุปนิสสัยต่างๆ กัน เป็น ๔ จำพวก คือ
    [/SIZE]
    [SIZE=-1]
    ๑.อุคฆติตัญญู บุคคลที่มีอุปนิสัยวาสนาและบารมีแก่กล้า ได้สดับคำสั่งสอนพอสังเขปก็รู้เหตุผลและหลุดพ้นทุกข์ได้โดยพลันจำพวกหนึ่ง สามารถจะตรัสรู้ตามพระธรรมเทศนาได้ฉับพลัน

    ๒.วิปจิตัญญู บุคคลที่มีอุปนิสัยได้สดับคำสั่งสอนโดยสังเขป ไม่สามารถตรัสรู้ได้ ต่อจำแนกอรรถาธิบายโดยพิสดาร จึงจะรู้เหตุผลและหลุดพ้นทุกข์ได้ จะสามารถตรัสรู้ตามได้ ในกาลภายหลังที่สดับรับพระโอวาทแนะนำในกาลต่อไป

    ๓.เนยยะ บุคคลที่ได้สดับคำสั่งสอนทั้งโดยสังเขปและพิสดารแล้ว ยังไม่สามารถตรัสรู้ได้ ต้องฝึกฝนพากเพียรศึกษาในสมถะและวิปัสสนาต่อไป จึงจะสามารถจะรู้ได้ในกาลภายหลัง

    ๔.ปทปรมะ บุคคลที่มีอุปนิสัยบารมียังไม่บริบูรณ์ แม้จะได้สดับพระธรรมคำสั่งสอนทั้งโดยย่อและพิสดารก็ตาม แม้จะฝึกฝนและพากเพียรเล่าเรียนในสมถะและวิปัสสนา ก็ไม่สามารถจะตรัสรู้เหตุผล และหลุดพ้นทุกข์ได้ เป็นผู้ยากที่จะสั่งสอน แม้จะได้สดับธรรม ก็จะได้ผลเพียงเป็นอุปนิสสัยปัจจัยในภาพต่อไป


    [​IMG]

    ถ้าไปเปรียบกับดอกบัว ๔ เหล่า จำพวกที่หนึ่ง เหมือนดอกบัวเปี่ยมน้ำ พอได้รับแสงอาทิตย์ก็บาน จำพวกที่สอง เหมือนดอกบัวใต้น้ำที่จะโผล่พ้นน้ำ และที่จะบานในวันรุ่งขึ้น จำพวกที่สามเหมือนดอกบัวที่อยู่ใต้น้ำลึกลงไปหน่อย ซึ่งจะแก่กล้าขึ้นมาบานในวันต่อๆไป และจำพวกที่สี่ เหมือนดอกบัวที่อยู่ใต้น้ำลึกลงไปมาก ถึงขนาดไม่อาจขึ้นมาบานได้ ก็จะตกเป็นภักษาหารของปลาและเต่าเสียก่อน

    หรือถ้าวัดกันแบบสมัยใหม่ คือความแตกต่างแห่งระดับสติปัญญาของคน ๔ ระดับ ได้แก่
    ระดับที่หนึ่ง ฉลาดมาก เพียงแต่ได้ฟังหัวข้อธรรมที่ยกขึ้นก็เข้าใจทันที
    ระดับที่สอง ฉลาดพอควร ต่อเมื่อฟังคำอธิบายอีกชั้นหนึ่งจึงเข้าใจ
    ระดับที่สาม ฉลาดปานกลาง ที่เรียกว่าเวไนยสัตว์ ต้องใช้เวลาอบรมบ่มสติปัญญาพอควรจึงจะเข้าใจ
    ระดับที่สี่ คำว่า "ปทปรมะ" ตรงกับภาษาไทยว่า โง่ทึบ ตรงกับคำอังกฤษว่า Idiot เป็นคนที่ใครโปรดไม่ได้ เรียกอีกสำนวนหนึ่งว่า ผู้ที่พระพุทธเจ้าทรงทอดทิ้ง

    ระดับแตกต่างแห่งสติปัญญาของคนในโลกที่พระพุทธเจ้าทรงเห็นดังกล่าวนี้ บางที่จะไปเปรียบกับสิ่งที่ภาษาจิตวิทยาทุกวันนี้ เรียกกันว่า ไอ.คิว. แต่ผมยังไม่ค่อยเห็นด้วย เพราะฉลาดแบบเรียนรู้นั้นเป็นเรื่องรู้จำ ไม่ใช่ปัญญาทางธรรม และการฟังธรรมหรือการบรรลุธรรมนั้น น่าจะต้องมีบารมีที่ได้สั่งสมมาแต่ชาติก่อนๆอีกด้วย เปรียบเทียบกับคนฉลาดระดับดอกเตอร์ แต่จิตใจ ความรู้เรื่องธรรม และคุณธรรมมีแค่ระดับอนุบาลนั้น ยังมีอยู่ทั่วไป ห่างไกลจากปัญญาแห่งการหลุดพ้นอยู่มาก

    เมื่อพระพุทธเจ้าทรงพิเคราะห์บุคคลเป็นจำพวกๆดังนี้ ทรงเห็นว่าบุคคล 3 จำพวกแรก สามารถจะล่วงรู้เหตุผลแห่งความจริง(พระธรรม) ได้ในชาติปัจจุบัน แต่บุคคลจำพวกที่๔ อาจจะตรัสรู้ได้ในชาติอนาคต ก็ตกลงพระทัยที่จะแสดงพระธรรมสั่งสอนชาวโลกสืบไป ทรงรับอาราธนาของท้าวสหัมบดีพรหม ตั้งพระทัยจะประดิษฐานพระพุทธศาสนาด้วยดี ให้เกิดแก่พุทธบริษัททั้ง ๔ คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา แผ่ไพศาลก่อนที่จะเสด็จดับขันธ์ปรินิพพานสืบไป

    [/SIZE]<!-- End main-->
     

แชร์หน้านี้

Loading...