รวบรวมข้อมูลเตรียมตัวรับมือกับภัยพิบัติ

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย kananun, 28 กันยายน 2006.

  1. Ben31

    Ben31 สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 เมษายน 2008
    โพสต์:
    32
    ค่าพลัง:
    +17
    ้ข้อปฏิบัติและข้อควรระวังในการเที่ยวป่าหน้าฝน



    ตรวจสอบสภาพอากาศก่อนออกเดินทาง ด้วยการเข้าไปดูข้อมูลที่เว็บไซต์ของกรมอุตุนิยมวิทยา www.tmd.go.th ซึ่งมีรายละเอียดสภาวะอากาศประจำวัน พยากรณ์อากาศในรอบ ๓ วัน และในรอบสัปดาห์ แบ่งเป็นภาค กลุ่มจังหวัด ให้ตรวจสอบกันก่อนออกเดินทาง

    ตรวจสอบสภาพดินฟ้าอากาศจากภาพถ่ายดาวเทียมง่าย ๆ ด้วยการเข้าไปที่เว็บไซต์ www.google.com แล้วพิมพ์คำว่า ภาพถ่ายดาวเทียม ทางเว็บไซต์จะค้นหาเว็บไซต์ที่แสดงภาพถ่ายดาวเทียมขึ้นมาให้ท่าน ซึ่งภาพถ่ายดาวเทียมจะแสดงภาพแผนที่ประเทศไทย แสดงภาพกลุ่มเมฆและกลุ่มพายุ ให้เห็นว่าปกคลุมอยู่บริเวณจังหวัดใด มีปริมาณมากน้อยเพียงใด โดยภาพถ่ายดาวเทียมจะเปลี่ยนแปลงทันสมัยทุกวัน ทำให้พอจะประเมินได้ว่า สภาพอากาศบริเวณจังหวัดที่จะเดินทางไปเป็นเช่นใด

    การปฏิบัติตนขณะลงเล่นน้ำตก หรือกิจกรรมอื่น ๆ ในสายน้ำ เช่น ล่องแก่ง ให้สังเกตระดับน้ำในลำธารและสีของสายน้ำ หากน้ำมีระดับเพิ่มขึ้น หรือสีของน้ำเปลี่ยนจากน้ำใสเป็นสีแดงขึ้น ขุ่นขึ้น กระแสน้ำไหลเชี่ยวแรงขึ้น ให้รีบขึ้นจากสายน้ำทันที หรือหากล่องแก่งก็ให้พักเรือเข้าฝั่ง หยุดพักดูจนกว่าสถานการณ์จะปลอดภัย ระดับน้ำไม่สูงเพิ่มขึ้น จึงค่อยเดินทางต่อ

    พยายามสังเกตและฟังเสียงที่ดังผิดปรกติ เพราะน้ำป่าที่เชี่ยวไหลหลากล้นลงมาจากบนภูเขานั้น จะก่อให้เกิดเสียงดังขึ้นกว่าเสียงของสายน้ำปรกติ ซึ่งช่วงระยะเวลาสั้น ๆ นั้น อาจเป็นช่วงนาทีชีวิตที่จะสามารถหนีรอดจากน้ำป่าที่บ่าไหลได้ หรือเตรียมตัวมองทางหนีทีไล่ไว้ให้พร้อมเผื่อเกิดวิกฤติขึ้นมาจะได้หนีขึ้นที่สูงได้ทัน

    หากมีความจำเป็นต้องเข้าไปตั้งแคมป์ในป่า ไม่ควรตั้งแคมป์ใกล้ชิดริมลำธารมากเกินไป เพราะในตอนกลางคืนขณะพักผ่อนนอนหลับอาจจะมีน้ำป่าบ่าไหลลงมาก่อให้เกิดอันตรายขึ้นได้ ควรเลือกทำเลตั้งแคมป์ที่ปลอดภัยจากระดับน้ำ หรือพ้นจากหุบเขาที่เคยเป็นร่องน้ำหรือช่องทางน้ำไหล

    หากอยู่ท่ามกลางฝนตก หรือฟ้าคะนองในธรรมชาติ ควรปิดโทรศัพท์มือถือหรือวิทยุ เพื่อป้องกันความเสี่ยงต่อการเกิดฟ้าฝ่า หากไม่จำเป็นแล้ว การทำกิจกรรมกลางแจ้งไม่ควรสวมเครื่องประดับที่ทำจากโลหะติดตัวไป

    ในสายน้ำหรือตามโขดหินริมลำธารที่ส่วนใหญ่เปียกน้ำอยู่ตลอดเวลานั้น ค่อนข้างจะลื่นควรระมัดระวังในการเดิน และควรใช้รองเท้าที่กระชับ พื้นรองเท้าควรเป็นยางและมีดอกยาง ซึ่งจะเกาะพื้นหินพื้นดินได้ดีกว่ารองเท้าพื้นแข็ง

    ไม่ควรอยู่ในชุดเสื้อผ้าที่เปียกหรืออยู่ในน้ำที่หนาวเย็นเป็นเวลานานเกินไป เพราะร่างกายจะค่อย ๆ สูญเสียความร้อน และอาจจะเป็นตะคริวจมน้ำ หรือเป็นไข้ได้


    ขอขอบคุณ อนุสาร อสท.ที่ให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ครับ ดูต้นฉบับได้ที่
    http://www.osotho.com/th/content/libraryde...p?ContentID=274


    เกี่ยวบ้างไม่เกี่ยวบ้าง ไม่รู้จะเป็นประโยชน์รึป่าวนะคับ
     
  2. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,374
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,649
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=7 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>“โลว์เทคโนโลยี”ความหวังเดียวในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยในจีนและพม่า </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>19 พฤษภาคม 2551 08:17 น.</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=500 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=500>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>สองเท้าได้ผลสุด---จีนต้องส่งทหารลุยเดินเท้าเข้าไปช่วยเหยื่อในเวิ่นชวน จุดศูนย์กลางแผ่นดินไหวในดงเทือกเขา ที่ถูกปิดล้อมด้วยเส้นทางขาด และสภาพอากาศที่ย่ำแย่ ทำให้เครื่องบิน และเฮลิคอปเตอร์ปฏิบัติการไม่ได้ใน “นาทีชีวิต” เช่นนี้--เอเอฟพี</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> เอเอฟพี – ทุกวันนี้ เราอาจส่งยานอวกาศไปสำรวจชายขอบของระบบสุริยะ อาจแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารรวดเร็วทันใจกับเพื่อนที่อยู่อีกฟากหนึ่งของโลก หรือแม้แต่กระทั่งอาจผ่าตัดผู้ป่วยด้วยรีโมตคอนโทรลทางอินเตอร์เน็ต

    ถ้าเช่นนั้น เราย่อมต้องมีเครื่องมือไฮเทคบางอย่างสำหรับช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติหลายแสนคนในพม่าและจีน ซึ่งชีวิตกำลังแขวนอยู่บนความตายด้วยน่ะสิ จริงมั๊ย?

    คำตอบที่สั้น และเศร้า ก็คือ "ไม่มี"


    ภารกิจบรรเทาทุกข์ผู้ประสบหายนะภัยในยุคต้นศตวรรษที่ 21 ยังมีความคล้ายคลึงอย่างน่าประหลาดใจกับการบรรเทาทุกข์ในช่วงกลางศตวรรษที่ 20 หรือแม้แต่ก่อนหน้านั้น

    “ผมเคยเป็นเจ้าหน้าที่บรรเทาทุกข์ในโมแซมบิกสมัยทศวรรษ80” เอียน เบรย์ โฆษกองค์การบรรเทาทุกข์อ็อกซ์แฟมเล่าให้เอเอฟพีฟัง

    “ผมต้องเดินทางจากโมแซมบิกมายังกรุงฮาราเร่ โดยนั่งมาในรถแลนด์โรเว่อร์ทั้งวัน เพื่อที่จะส่งโทรพิมพ์ชิ้นหนึ่งกลับไปให้สำนักงานอ็อกซ์แฟมในเมืองอ็อกซ์ฟอร์ด เดี๋ยวนี้ผมต่อโทรศัพท์ถึงแป๊บเดียว นั่นคือตัวอย่างว่าเทคโนโลยี่ช่วยเราได้ยังไง”

    แต่พื้นฐานยังคงเหมือนเดิม ผู้คนยังต้องการอาหาร,น้ำดื่มสะอาด และการสุขาภิบาล พวกเขาต้องการสิ่งของธรรมดา ๆ อย่างสบู่ ถังน้ำสำหรับล้างมือ หลังจากทำกิจธุระขับถ่ายแล้ว เพื่อฆ่าเชื้อโรค คุณส่งสิ่งของเหล่านี้ไปให้ทางอีเมลไม่ได้หรอก”

    เบรย์บอกว่า การใช้รถบรรทุก หรือเรือขนกระสอบข้าวสาร,ผ้าห่ม,อุปกรณ์สำหรับสร้างที่พักพิงชั่วคราว หรือข้าวของชิ้นใหญ่ ๆ อย่างอื่นยังคงเป็นวิธีการที่เหมาะสมทางหนึ่งในการส่งความช่วยเหลือไปให้แก่พื้นที่ห่างไกล ซึ่งถูกพายุไซโคลนถล่มในพม่า และในมณฑลเสฉวนที่เจอแผ่นดินไหว

    การขนส่งทางอากาศอาจรวดเร็วและทันสมัยกว่า “แต่เป็นการส่งความช่วยเหลือที่ไม่ได้ผลสักเท่าไร และเป็นวิธีการที่เสียเงินมาก”

    เฮลิคอปเตอร์ลำเลียงสิ่งของได้คราวละเล็กน้อย และการหย่อนอาหารลงมาจากเครื่องบินก็อาจทำให้ผู้อพยพเบียดเสียดยื้อแย่งกันจนเลือดตกยางออก คนที่แข็งแรงเท่านั้นถึงจะแย่งเอามาได้

    นอกจากนั้น สิ่งของบรรเทาทุกข์ ประเภทเครื่องทำน้ำดื่มสะอาด และเครื่องเวชภัณฑ์ ยังต้องเป็นของง่าย ๆ ไม่ซับซ้อน และบึกบึนทนทาน จึงจะทนกับสภาพอากาศรุนแรงจัด และความชื้นได้ และอึดกับการขนส่งที่ลำบากลำบน นอกจากนั้น เจ้าหน้าที่ในท้องถิ่นยังจะต้องสามารถใช้งานได้อีกด้วย

    ดังนั้น จึงตัดออกไปได้เลยสำหรับเครื่องสแกนเนอร์อันแสนทันสมัย ซึ่งใช้การได้อย่างดีตามโรงพยาบาลในเมืองเซอร์เรย์ หรือในรัฐแคลิฟอร์เนีย โดยมีวิศวกรสำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยคอยช่วยเหลือ

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=500 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=500>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>ปัจจัยที่จำเป็นที่สุดของชีวิตเหยื่อแผ่นดินไหว ที่สิ้นเนื้อประดาตัว –เอเอฟพี</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> สำหรับการสร้างที่พักพิงฉุกเฉินนั้น สิ่งของช่วยเหลือซึ่งปราดเปรื่องที่สุดก็คือสิ่งของที่มีความเรียบง่ายที่สุด เกรแฮม ซอนเดอร์แห่งสมาพันธ์กาชาดสากลกล่าว โดยต้องเป็นสิ่งของที่นำมาประกอบเข้าด้วยกันได้ง่ายที่สุดรวดเร็วที่สุด และคุ้มเงินมากที่สุด

    “เต๊นต์น้ำหนักเบาหลังหนึ่งมีราคา 265 ดอลลาร์ แต่ชุดอุปกรณ์สำหรับสร้างที่พักอาศัยชั่วคราวหลังหนึ่ง มีแผ่นผ้าพลาสติก, ถุงเครื่องมือ และตัวยึด รวมกันแล้วมีราคาแค่ 60 ดอลลาร์เท่านั้น”ซอนเดอร์จาระไน

    หรือแม้กระทั่งเรื่องอาหารก็ตาม แม้นักโภชนการจะพยายามคิดค้นอาหารที่มีคุณค่าสูงสุด เช่น ขนมปังให้โปรตีนสูง หรืออาหารทดแทนที่เรียกกันว่า พลัมพีนัต (Plumpynut) ซึ่งเป็นอาหารในบรรจุภัณฑ์ ที่พร้อมแกะออกมารับประทานได้เลย อาหารจำพวกนี้ใช้สำหรับเยียวยาผู้รอดชีวิตที่อยู่ในภาวะขาดสารอาหารอย่างหนัก

    ทว่าสำหรับผู้รอดชีวิตส่วนใหญ่แล้ว อาหารที่พวกเขาคุ้นเคย กินได้ และย่อยง่ายคือสิ่งที่พวกเขาต้องการอันดับหนึ่ง นี่คือเหตุผลอธิบายว่าทำไมข้าวจึงตัวเลือกสำคัญ

    ซอนเดอร์เล่าย้อนไปเมื่อครั้งที่เขาไปปฏิบัติการบรรเทาทุกข์ในอัฟกานิสถาน และพบว่า อาหารที่ทหารอเมริกันแจกให้ประชาชน ซึ่งเป็นอาหารสำเร็จรูป เปิดกินได้ทันทีนั้น ชาวบ้านกลับเอามาใช้เป็นก้อนอิฐถมถนนที่เป็นหลุมเป็นบ่อเสียฉิบ! ไม่มีใครอธิบายให้ชาวบ้านทราบว่าห่อพลาสติกหน้าตาประหลาดนั้น มีอาหารอยู่ข้างใน

    ไปดูสถานการณ์ผู้ประสบภัยแผ่นดินไหวที่จีนบ้าง จูลี่ ไรอัน จากสมาคมกู้ภัยระหว่างประเทศ (International Rescue Corp.) ซึ่งเป็นองค์กรกุศลของอังกฤษกล่าวว่า การค้นหาผู้รอดชีวิตใต้ซากอาคารปรักพังจะใช้เทคโนโลยี่หลายอย่างร่วมกัน และใช้สุนัขดมกลิ่น ตลอดจนใช้ประสบการณ์ที่ทราบกันดีว่า ซากอาคารที่ถล่มลงมานั้น อาจมีช่องโหว่ภายใน ซึ่งทำให้ผู้ติดอยู่รอดชีวิตได้

    เครื่องมือค้นหาผู้รอดชีวิต เช่นการติดเครื่องไมโครโฟนบนซากปรักหักพัง เพื่อจับเสียงที่ดังมาจากผู้รอดชีวิต และค้นหาตำแหน่ง หรือ“สคูบาร์” ซึ่งเป็นกล้องติดบนไม้ยาว ที่สามารถแหย่เข้าไปในกองอิฐกองหินได้

    นอกจากนั้น ยังมีนวัตกรรมล่าสุดเป็นอุปกรณ์ ซึ่งเรียกว่า เครื่องวิเคราะห์คาร์บอนไดอ็อกไซด์ “ถ้าคุณกำลังสลบอยู่ใต้โพรง ระดับก๊าซ คาร์บอนไดอ็อกไซด์ในช่องโพรงจะสูงขึ้น” ไรอันอธิบาย

    หรือการใช้เครื่องมือค้นหา ซึ่งเป็นต้นแบบการพัฒนาเครื่องมืออื่น ๆตามมา ได้แก่ ระบบเรดาร์ภาคพื้นดิน ซึ่งส่งสัญญาณทะลุทะลวงซากปรักหักพัง เพื่อค้นหาช่องว่าง และถ้าโชคดี จะสามารถค้นหาเสียงหัวใจเต้นของผู้รอดชีวิตได้อีกด้วย

    นอกจากนั้น ยังมีเทคโนโลยีที่สามารถเจาะลึกไปไกลกว่านั้น โดยนักวิทยาศาสตร์กองทัพสหรัฐฯ ได้ทดลองฝึกหนูสำหรับค้นหาผู้รอดชีวิต และส่งสัญญาณวิทยุกลับมา โดยมีการฝังอุปกรณ์ไว้ในสมองของหนู เพื่อบ่งชี้ที่ตั้ง

    “เรานำเทคโนโลยีเข้ามาใช้กันมากขึ้นอย่างเอาจริงเอาจัง แต่งานนี้ก็ต้องอาศัยเรื่องของสัญชาตญาณเข้ามาช่วยเยอะด้วยเช่นกัน ”ไรอันทิ้งท้าย
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  3. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,374
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,649

    สิ่งบอกเหตุก่อนเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่
    ปรากฏการณ์ล่วงหน้า (Precursory phenomena) อาจเป็นสิ่งเตือนภัย หรือลางบอกเหตุสัญญาณให้รู้ว่า อีกไม่นานจะมีแผ่นดินไหวเกิดขึ้น ในอเมริกา รัสเซีย จีน ญี่ปุ่น ต่างให้ความสนใจ พยายามค้นคว้าวิจัยเกี่ยวกับปรากฏการบางอย่างกันมาก ได้แก่
    1) พื้นดินเกิดการยกตัวขึ้นมาอย่างผิดปกติ
    2) ค่าความเข้มสนามแม่เหล็กโลกเปลี่ยนแปลงไป
    3) สภาพการนำไฟฟ้าของหินเปลี่ยนแปลง
    4) เกิดแผ่นดินไหวเล็กๆ เกิดขึ้นเป็นการเตือนภัยก่อน
    5) มีปริมาณก๊าชเรดอนในบ่อน้ำสูงกว่าปกติ

    [​IMG]















    สัญชาตญาณของสัตว์
    จากการศึกษาวิจัยของผู้เชี่ยวชาญด้านแผ่นดินไหวพบว่า หากสัตว์ป่ามีพฤติกรรมผิดไปจากปกติ มักจะเกี่ยวข้องกับการเกิดภัยธรรมชาติ เช่น แผ่นดินไหว ทั้งนี้เพราะสัตว์มีความสามารถรู้ล่วงหน้าว่าจะเกิดแผ่นดินไหว เป็นสัญชาตญาณอย่างหนึ่งในการเอาชีวิตรอด
    พฤติกรรมผิดปกติของนก
    นกมีความรู้สึกไวต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม โดยเฉพาะนกพิราบป่าจะไวเป็นพิเศษ ผู้เชี่ยวชาญด้านแผ่นดินไหวประเทศจีนพบว่า ขณะเกิดแผ่นดินไหวแรงสั่นสะเทือน 3 ริกเตอร์ขึ้นไป ฝูงนกพิราบป่าที่อยู่ภายในรัศมี 50 กม. จากศูนย์กลางแผ่นดินไหวจะล่วงรู้ล่วงหน้า และบินหนีไปภายใน 24 ชั่วโมง นอกจากนี้ กาและนกเลี้ยงบางชนิด เช่น นกแก้ว ก็มีความรู้สึกไวต่อการเกิดแผ่นดินไหวเช่นกัน
    พฤติกรรมผิดปกติของปลา
    - ปลาน้ำเค็ม
    เมื่อ ค.ศ. 1995 ก่อนเกิดแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ที่โกเบ ชาวประมงจับปลาได้ปลาได้มากกว่าปกติ และมีปลาจากทะเลลึกว่ายเข้ามาในเขตน้ำตื้นด้วย
    -ปลาน้ำจืด
    ปลาน้ำจืดในแม่น้ำหรือทะเลสาบที่มีความรู้สึกไวต่อการเกิดแผ่นดินไหวหรือปลาคาร์ป ก่อนเกิดแผ่นดินไหวรุนแรง เคยมีคนเห็นปลาคาร์ปจำนวนมากกระโดดขึ้นมาบนผิวน้ำเหมือนตกใจหนีอะไรบางอย่าง
    พฤติกรรมผิดปกติของสัตว์เลื้อยคลาน
    ผลการวิจัยพบว่า สัตว์ที่รู้ล่วงหน้าว่าจะเกิดแผ่นดินไหวก่อนใครคืองู ทั้งนี้เพราะงูจำศีลอยู่ในโพรงใต้ดิน (งูในประเทศเขตหนาว) จึงรู้สึกถึงความผิดปกติได้ง่ายเมื่อมีการสั่นสะเทือนของเปลือกโลก มีก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ มีการเปลี่ยนแปลงของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ฯลฯ และจะหลบภัยด้วยการเลื้อยขึ้นมาบนดินแม้จะเป็นช่วงฤดูหนาวก็ตาม
    ตัวอย่างเช่นเมื่อ ค.ศ. 1855 ก่อนเกิดแผ่นดินไหวที่ญี่ปุ่นหนึ่งวัน พบฝูงงูเลื้อยขึ้นมาบนดินหลายตัว เมื่อ ค.ศ. 1977 ตอนเกิดแผ่นดินไหวที่โรมาเนีย ก็มีฝูงงูเลื้อยขึ้นมาแข็งตายบนดิน เมื่อ ค.ศ. 1976 หนึ่งวันก่อนเกิดแผ่นดินไหวที่เมืองถังซานประเทศจีน ก็มีฝูงงูจำนวนมากเข้าไปหลบอยู่ในซอกหิน
    พฤติกรรมผิดปกติของสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ
    กบก็แสดงพฤติกรรมผิดปกติเช่นเดียวกับงู เมื่อ ค.ศ. 1976 ไม่กี่ชั่งโมงก่อนที่จะเกิดแผ่นดินไหวรุนแรงที่เมืองถังซานในประเทศจีน มีคนเห็นฝูงกบนับพันนับหมื่นตัวพากันอพยพ
    พฤติกรรมผิดปกติของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
    สุนัข
    ตอนที่เกิดแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ที่โกเบ มีรายงานว่าสุนัขจะแสดงพฤติกรรมแปลกๆ มากที่สุด สุนัขเป็นสัตว์ที่ใกล้ชิดกับคน จึงสังเกตความผิดปกติจากสุนัขได้ง่าย และพบว่าก่อนเกิดแผ่นดินไหว สุนัขจะมีอาการตื่นตระหนก วิ่งไปวิ่งมา บางตัวก้าวร้าวขึ้น ส่วนบางตัวก็เห่าและหอน
    แมว
    ก่อนเกิดแผ่นดินไหว แมวส่วนใหญ่จะหาที่หลบ ญี่ปุ่นมีคำโบราณกล่าวไว้ว่า "ก่อนแผ่นดินไหว แมวจะปีนขึ้นต้นไม้สูง" และมีคนเห็นเช่นนี้จริงๆ ก่อนเกิดแผ่นไหว แมวบางตัวแสดงอาการงุ่นง่าน วิ่งไปมา และส่งเสียงร้องอย่างกระวนกระวาย
    หนู
    เมื่อ ค.ศ. 1923 ก่อนเกิดแผ่นดินไหวรุนแรงที่คันโต หนูพากันหลบหนีไปหมด และตอนเกิดแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ที่โกเบ ก็พบปรากฏการณ์หนูพากันหลบหนีเช่นกัน นอกจากนี้ยังพบว่าก่อนเกิดแผ่นดินไหวจะมีหนูติดกับดักเพิ่มขึ้น และหนูบางตัววิ่งพล่านไปทั่ว

    การเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำใต้ดิน
    นับแต่โบราณ ชาวจีนค้นคว้าหาความสัมพันธ์ระหว่างการเกิดแผ่นดินไหวกับระดับน้ำใต้ดิน และนำมาใช้ในการคาดการณ์การเกิดแผ่นดินไหว ตั้งแต่ ค.ศ. 1981-1985 มีรายงานความผิดปกติของระดับน้ำใต้ดินหลายครั้ง เป็นการลดลง 27 ครั้ง เพิ่มลดสลับกัน 3 ครั้ง น้ำใต้ดินเกิดคลื่น 3 ครั้ง และระดับน้ำทะเลเปลี่ยนแปลงอย่างผิดปกติ 12 ครั้ง
    ค.ศ. 1975 มีการคาดการณ์แผ่นดินไหวที่ชายฝั่งทะเลของประเทศจีนเป็นครั้งแรกของโลก จากผลการศึกษาวิจัยพบว่า ก่อนเกิดแผ่นดินไหวที่มีความสั่นสะเทือน 7 ริกเตอร์ขึ้นไป บางครั้งระดับน้ำใต้ดินที่อยู่ในบริเวณใกล้เคียงศูนย์กลางแผ่นดินไหวจะมีการเปลี่ยนแปลงที่ผิดปกติล่วงหน้าเป็นปี ๆ แต่หากแผ่นดินไหวที่มีความสั่นสะเทือนต่ำกว่า 6 ริกเตอร์ การเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำใต้ดินครั้งแรกเกิดขึ้นราวสองสามเดือนก่อนแผ่นดินไหว

    ความสั่นสะเทือนที่ใต้ดิน
    ลางบอกเหตุแผ่นดินไหวที่พิเศษที่สุดคือเสียงสั่นสะเทือนที่ใต้ดิน เท่าที่ค้นพบในเวลานี้มีบันทึกเกี่ยวกับเสี่ยงสั่นสะเทือนจากใต้ดินในสมัยราชวงศ์เว่ย เมื่อ 1,500 ปีก่อนแล้ว ซึ่งบันทึกไว้ว่า ในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 464 เกิดแผ่นดินไหวที่บริเวณเมืองเยียนเหมินฉี (มณฑลชานซีในปัจจุบัน) ก่อนเกิดแผ่นดินไหวมีเสียงสั่นสะเทือนจากใต้ดินดังครืนๆ เหมือนฟ้าร้องพอสงบลงก็เกิดแผ่นดินไหวอย่างรุนแรง และในปี ค.ศ 1967 หลังเกิดแผ่นดินไหวอย่างรุนแรงที่เมืองถังซาน ได้มีการสอบถามผู้คนที่อาศัยอยู่ในรัศมี 1,000 กิโลเมตรจากศูนย์กลางของแผ่นดินไหว พบว่า 95 % ได้ยินเสียงดังครืนๆ อย่างชัดเจน
    ชนิดของเสียงสั่นสะเทือนที่ใต้ดิน
    เสียงสั่นสะเทือนที่พื้นดินที่เป็นลางบอกเหตุแผ่นดินไหวมีมากหลายแบบ จากผลการวิจัยแบ่งได้เป็น 6 แบบคือ
    1. เสียงฟ้อง : เป็นเสียงที่พบบ่อยที่สุด มักจะดังขึ้นก่อนเกิดแผ่นดินไหว
    2. เสียงพายุ: ดังเหมือนพายุพัด คล้ายเสียงร้องของช้างพลาย
    3. เสียงระเบิด: ดังตูมตามเหมือนเสียงระเบิดขนาดใหญ่
    4. เสียงเครื่องยนต์: ดังเหมือนเสียงรถยนต์ รถไถ รถรางไฟฟ้า หรือเครื่องบิน
    5. เสียงเลื่อยไม้: ตอนเกิดแผ่นดินไหวรุนแรงที่เมืองถังซาน มีคนจำนวนไม่น้อยได้ยินเสียสั่นสะเทือนที่ใต้ดินที่ดังเหมือนเสียงระเบิดและเสียงเลื่อยไม้
    6. เสียงฉีกผ้า: เสียงนี้มักได้ยินที่ทะเลมากกว่าบนบก

    ท้องฟ้าก็บอกเหตุแผ่นดินไหว
    ผู้เชี่ยวชาญด้านแผ่นดินไหวชาวญี่ปุ่นจำนวนไม่น้อยเชื่อว่า ท้องฟ้าก็บอกเหตุแผ่นดินไหว โดยก่อนแผ่นดินไหวรุนแรง ท้องฟ้าจะมี
    ปรากฏการณ์ที่ผิดปกติ เช่น มีเมฆรูปร่างประหลาด เกิดประกายแสง มีรุ้งกินน้ำ เป็นต้น แต่ที่พบบ่อยที่สุดคือมี "เมฆแผ่นดินไหว" (Earthquake
    Clouds)
    โมเดลของการเกิดเมฆแผ่นดินไหว
    หลักการของการเกิด "เมฆแผ่นดินไหว" นั้น Zhonghao Shou (Earthquake Prediction Center, New York, USA) อธิบายไว้ว่า ในบริเวณที่มีแนวรอยเลื่อนมีพลัง เมื่อหินถูกแรงเค้นจากภายนอกเข้ากระทำ ทำให้หินบริเวณนั้นแตกร้าวบางส่วน เป็นรอยเลื่อนในชั้นหิน และเกิดแผ่นดินไหวขนาดเล็กทันที (ก่อแผ่นดินไหวใหญ่จะตามมา) แอ่งน้ำร้อนที่สะสมตัวใต้ดิน/หิน (Hydrothermal) จะกลายเป็นไอที่มีอุณหภูมิร้อน และความดันสูง ไหลพุ่งขึ้นมาตามรอยเลื่อนนี้ ระเหยขึ้นสู่ท้องฟ้าเบื้องบน ขณะที่บรรยากาศโดยรอบมีอุณหภูมิเย็น จะก่อให้เกิด เมฆแผ่นดินไหว ปรากฏเหนือและ ขนานยาวตามแนวรอยเลื่อนนั้นๆ

    [​IMG]
    รูป 1 (8/01/2537NW) รูป 2 (13/02/2537 NE) รูป 3 (31/08/2537 NW)
    [​IMG]
    รูป 4 (18/10/2537 NE) รูป 5 (15/11/2537 NW) รูป 6 (22/07/2539 NE)
    ภาพถ่ายลักษณะต่างๆ ของเมฆแผ่นดินไหว ที่ไม่สามารถอธิบายด้วยวิชาอุตุนิยมวิทยา ถูกบันทึกภาพโดย Zhonghao Shou
    ในพื้นที่ของรัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา (ใต้รูปภาพบอก วัน/เดือน/ปี พ.ศ. ที่ถ่ายภาพ และทิศทางที่มอง)
    รูป 1 เมฆรูปเส้นตรง (Line-shaped cloud) พบบริเวณเมือง Pasadena ในวันที่ 8 มกราคม 2537 ที่เกิดขึ้นก่อนเหตุการณ์แผ่นดินไหว
    ขนาด 6.7 ริกเตอร์ ของวันที่ 17 มกราคม 2537 (Northridge earthquake, ศูนย์กลางแผ่นดินไหว 34.21N, 118.53W)
    รูป 2 เมฆรูปคลื่น (Wave-shaped cloud) ที่บันทึกภาพได้วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2537 ก่อนเกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.3 ริกเตอร์
    ของวันที่ 20 มีนาคม 2537 (Northridge earthquake)
    รูป 3 เมฆรูปเส้นตรง ที่ถูกถ่ายภาพไว้ได้วันที่ 31 สิงหาคม 2537 ก่อนเกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.1 ริกเตอร์ ของวันที่ 1 กันยายน 2537
    บริเวณนอกชายฝั่งทะเลตอนเหนือของรัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา (ศูนย์กลางแผ่นดินไหว 40.40N, 125.68W)
    รูป 4 เมฆรูปขนนก (Feather-shaped cloud) ) ปรากฏขึ้นบนท้องฟ้าในวันที่ 18 ตุลาคม 2537 ก่อนเกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.3 ริกเตอร์
    ของวันที่ 27 ตุลาคม 2537 บริเวณนอกชายฝั่งทะเลของรัฐโอเรกอน สหรัฐอเมริกา (ศูนย์กลางแผ่นดินไหว 43.51N, 127.42W)
    รูป 5 เมฆรูปตะเกรียง (Lantern-shaped cloud) ถูกบันทึกภาพได้เหนือท้องฟ้าเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2537 ก่อนเกิดแผ่นดินไหว
    ขนาด 6.8 ริกเตอร์ ของวันทื่ 19 กุมภาพันธ์ 2538 บริเวณนอกชายฝั่งทะเลตอนเหนือของรัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา
    (ศูนย์กลางแผ่นดินไหว 40.55N, 125.53W)
    รูป 6 เมฆรูปรัศมี (Radiation-pattern-shape cloud) ที่ถูกถ่ายภาพไว้ได้วันที่ 22 กรกฎาคม 2539 ก่อนเกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.4 ริกเตอร์
    ของวันที่ 14 สิงหาคม 2539 บริเวณเมือง Joshua Tree (ศูนย์กลางแผ่นดินไหว 34.59N, 116.28W)


    <TABLE id=AutoNumber1 style="BORDER-TOP-WIDTH: 0px; BORDER-LEFT-WIDTH: 0px; BORDER-BOTTOM-WIDTH: 0px; BORDER-COLLAPSE: collapse; BORDER-RIGHT-WIDTH: 0px" borderColor=#111111 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=1><TBODY><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width="50%">
    [​IMG]
    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width="50%">
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width="50%">
    ภาพดาวเทียมของ University College London ได้บันทึกไว้เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2541 เวลา 7:32 ปรากฏ เมฆแผ่นดินไหวรูปตะแกรง เหนือ ประเทศอัฟกานิสถาน ก่อนเกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.1 ริกเตอร์ ในวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2541

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width="50%">
    ภาพดาวเทียมที่บันทึกไว้เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2542 ปรากฎ เมฆแผ่นดินไหวรูปขนนก เหนือพื้นที่ตอนกลางประเทศเม็กซิโก ก่อนเกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.7 ริกเตอร์ ในวันที่ 15 มิถุนายน 2542 ​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>


    http://www.dmr.go.th/geohazard/earthquake_n/precursory.htm
     
  4. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,374
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,649
    <TABLE width=739 border=0><TBODY><TR><TD width=733 bgColor=#bfe2ff height=15>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ข้อแนะนำพื้นฐานสำหรับการออกแบบอาคารต้านแผ่นดินไหว[/FONT] </TD></TR><TR><TD width=733 height=12></TD></TR><TR><TD width=733 height=10>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]<TABLE style="BORDER-COLLAPSE: collapse" borderColor=#111111 height=2309 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="90%" height=857>
    ข้อแนะนำพื้นฐานสำหรับการออกแบบอาคารต้านแผ่นดินไหว
    ( บทความอ้างอิงจากคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย )

    <DD>การออกแบบ อาคาร ต้านแผ่นดินไหว เป็นสิ่งที่ ต้องอาศัย วิศวกร ผู้รู้ ทำการ คำนวณ ออกแบบ ในที่นี้ จะให้ ความรู้ กว้างๆ สำหรับ ผู้สนใจ ทั่วไป

    <DD>จากการ สำรวจ อาคาร จากเหตุการณ์ แผ่นดินไหว ต่างๆ กว่า 12 เหตุการณ์ ทั่วโลก เป็นเวลา 30 ปี (1963-1993) Fintel (1993) รายงานว่า ไม่เคย พบอาคาร ที่ใช้ระบบ ผนังแรงเฉือน (shear wall system) ต้าน แรงด้านข้าง (แผ่นดินไหว/ ลม) พังทลาย แม้แต่ อาคารเดียว ถึงแม้ จะเกิด ความเสียหาย มากบ้างน้อย บ้างแล้วแต่ กรณี ในขณะที่ อาคาร ที่ไม่ได้ ใช้ระบบ ผนังแรงเฉือน พังพินาศ มากมาย ดังเห็นได้ จาก ตัวอย่าง แผ่นดินไหว ใน มานากัว (1972, M = 6.+), ชิลี (1960, 1985 M = 7.8) กรุงเม็กซิโก (1985, M = 8.1) เป็นต้น เป็นที่ น่าสังเกต ว่าถึงแม้ ความรุนแรง ของ แผ่นดินไหว ใน ชิลี เมื่อ ค.ศ. 1985 จะรุนแรง ในระดับ ใกล้เคียง กับ ที่ กรุงเม็กซิโก ในปี เดียวกัน แต่ ความเสียหาย ระดับ พังทลาย ก็เกิดขึ้น น้อยกว่า กันมาก จน ทำให้ เหตุการณ์ ครั้งนั้น ได้รับ การสนใจ จาก วิศวกร น้อยมาก สาเหตุสำคัญ อันหนึ่ง คือ การใช้ ระบบ ผนังแรงเฉือน คอนกรีต อย่างกว้างขวาง ในชิลี ในการ ควบคุม การโยกตัว ของ อาคาร (drift control) นอกจากนี้ การเสริมเหล็ก ผนังคอนกรีต โดยทั่วๆ ไปในชิลี ในขณะนั้น เป็นไป ตาม มาตรฐาน ทั่วไป ของ มาตรฐาน คอนกรีต เสริมเหล็ก เท่านั้น ไม่ได้ ปฏิบัติ ตาม มาตรฐาน การให้ รายละเอียด ประเภท เหนียว (ductile detailing) สำหรับ ต้าน แผ่นดินไหว รุนแรง ใน สหรัฐฯ ด้วยซ้ำไป (Wallace & Moehle 1993) พฤติกรรม ที่ดี เป็นพิเศษ ของอาคาร ที่ใช้ ระบบ ผนังแรงเฉือน ในชิลี เป็น เครื่องพิสูจน์ อย่างดี ถึง ประสิทธิภาพ ของ ระบบ ผนังแรงเฉือน ในการป้องกัน ชีวิต และ ทรัพย์สิน ในอาคาร จึงสมควร ใช้อย่างยิ่ง ในการออกแบบ อาคาร

    <DD>บทเรียน สำคัญ อีกประการ หนึ่ง จากแผ่นดินไหว ต่างประเทศคือ อาคารที่มีรูป แบบและระบบ โครงสร้างไม่ดี จะเสียหาย ได้มากกว่าอาคาร ที่มีระบบ โครงสร้าง ถูกต้อง ตามหลักการ ออกแบบ อาคาร ต้านแผ่นดินไหว ตัวอย่าง ระบบโครงสร้าง ที่เสียหาย จาก แผ่นดินไหว ได้ง่าย ได้แก่ อาคาร ที่มีลักษณะ ไม่สม่ำเสมอ (irregularity) ในแปลน (เช่น รูปตัว L ตัว T อาคาร ที่มีส่วน ที่แข็ง เช่น ปล่องลิฟต์ วางเยื้องศูนย์ มาก เป็นต้น) อาคาร ที่มีเสาเล็ก เกินไป หรือ เสาประเภท เสาสั้น หรือ อาคาร ที่มี การเปลี่ยนแปลง มากใน ระนาบดิ่ง เช่น มีชั้นที่อ่อนมาก เมื่อเทียบกับ ชั้นถัดไป เป็นต้น อาคาร ที่มีลักษณะ ไม่ดี ดังกล่าว เสียหาย ได้แม้ ในแผ่นดินไหว ไม่รุนแรง มากนัก ดังที่เคย เกิดขึ้น แล้ว ในแผ่นดินไหว อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย เมื่อ พ.ศ. 2537 ซึ่งมี ขนาดเพียง 5.1 หน่วยริคเตอร์ รูปที่ 1 แสดง ตัวอย่าง ความเสียหาย ที่เกิดขึ้น

    [​IMG]

    [​IMG]

    </DD></TD></TR><TR><TD width="100%" height=912><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD>
    [​IMG]
    เสากับฐานราก
    คานกับเสา
    พื้นกับคาน
    หลังคากับแป, แปกับจันทัน ฯลฯ

    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]
    กระเบื้องปลิวหลุด เมื่อเกิดพายุแรง (ขอยึดไม่อยู่) แป / จันทัน ยึด ไม่ แข็งแรง พอ อาจ เสียหาย จากพายุ </TD><TD>
    • เมื่อ เกิดพายุ แรง หรือ แผ่นดินไหว ชิ้นส่วน ที่ ได้ ยึดรั้ง กันไว้ ให้ดี จะ สั่นไหว แยกตัว หลุด ออก จากกัน ได้ ต้อง ยึดรั้ง ชิ้นส่วน ต่างๆ เข้า ด้วยกัน ให้มั่นคง
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="60%" border=0><TBODY><TR><TD><DD>ชิ้นส่วนต่าง ๆ ต้องได้รับ การยึด (anchor) เข้าด้วยกัน ให้แข็งแรง เช่น ตอม่อกับเสา คานกับเสา พื้นกับคาน แปกับจันทัน ผนังกระจกกับ โครงที่รองรับ เป็นต้น โดยต้องให้ ข้อต่อแข็งแรง สามารถ ถ่ายแรง จากชิ้นส่วนหนึ่ง ไปยัง อีกส่วนหนึ่ง ของโครงสร้าง ได้ ทั้งนี้ เพื่อ ไม่ให้ชิ้นส่วน แยกหลุดจากกัน จากการสั่นไหว อาคารไม้ หรือ เหล็ก ต้องมี การยึดโยง (bracing) ด้วยชิ้นส่วน ทแยง ไม่ให้โย้มาก เวลาสั่นไหว </DD></TD></TR></TBODY></TABLE>
    • <TABLE width="90%" align=left border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD>
      [​IMG]
      [*]เสาโตพอ
      [*]เสริมเหล็กปลอกให้พอและได้มาตรฐาน
      </TD></TR></TBODY></TABLE>

      <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>[​IMG]
      เสา เล็กเกินไป ที่ หักพัง ใน พายุเกย์ </TD><TD>
      • เสา เป็นส่วนสำคัญ ของอาคาร เพราะ แบกรับ น้ำหนัก พื้น ส่ง ต่อไป ฐานราก ที่ผ่านมา เมื่อ เกิดพายุ หรือ แผ่นดินไหว มัก จะเกิด ความเสียหาย เนื่องจาก เสา มีขนาด เล็ก เกินไป และ ถ้า เสา หักแล้ว อาคาร ก็พังหมด เสา คอนกรีต เสริมเหล็ก ต้อง มี เหล็กปลอก รัด ให้ เพียงพอ จึง จะทน การสั่นไหว ได้
      </TD></TR></TBODY></TABLE>
      </TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR><TR><TD width="100%" height=523>
    • <TABLE width="90%" align=left border=0><TBODY><TR><TD>
      [​IMG]
      <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD>
      [*]ชิ้นส่วนยึดโยงทแยงหรือผนังแน่นหนา
      </TD></TR></TBODY></TABLE>
      <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]
      การโย้ ของอาคารไม้ ที่ ไม่มี การยึด โยงทแยง

      [​IMG]
      การยึดโยงทแยงกันโย้
      </TD><TD>
      • อาคารไม้ ที่ ไม่มี การยึดโยง เมื่อ ถูกพายุ หรือ แผ่นดินไหว รุนแรง จะ พังทลาย ได้ง่าย ซึ่ง พบ ค่อนข้าง บ่อย ควรยึด ด้วย ชิ้นส่วน ทแยง หรือ ผนัง ที่ แน่นหนา
      </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR><TR><TD width="100%" height=6>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD width="100%" height=13><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]
    ข้อต่อ เสาไม้ / เสาปูน ลักษณะนี้ จะทน พายุ หรือ แผ่นดินไหว รุนแรง ไม่ได้ </TD><TD>
    • ข้อต่อ ระหว่าง ชิ้นส่วน มัก เสียหาย ง่าย เมื่อ เกิด พายุ หรือ แผ่นดินไหว รุนแรง
    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE><DD><CENTER>[​IMG]
    </CENTER>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD>สำหรับอาคารควบคุมต้องมีวิศวกรดำเนินงาน
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <DD>การก่อสร้าง ต้องดำเนินการ ตามหลักวิชาการ ที่ถูกต้อง และ ได้คุณภาพ เช่น การผสมคอนกรีต ต้องใช้วัสดุ ที่สะอาด แข็งแกร่ง ไม่ใช้น้ำผสมมาก ซึ่งจะทำให้ กำลังคอนกรีตเสีย ไม่ใช้น้ำกร่อย ผสมปูน เป็นต้น หากใช้ โครงสร้างเหล็ก ต้องใช้ช่างเชื่อม ที่มีคุณภาพ ผ่านการทดสอบ มิเช่นนั้นแล้ว จะได้รอยต่อ ชิ้นส่วน ที่ไม่แข็งแรง และ/ หรือไม่มีความเหนียว เวลาที่อาคาร โยกไปมา จากแผ่นดินไหว ข้อต่อ อาจวิบัติได้ ถึงแม้ จะเป็น โครงสร้างเสริมเหล็ก ก็ตาม
    ( บทความอ้างอิงจากคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย )​
    </DD></TD></TR></TBODY></TABLE>
    [/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  5. ดูท่านอยู่นะครับ

    ดูท่านอยู่นะครับ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 มีนาคม 2008
    โพสต์:
    2,666
    ค่าพลัง:
    +2,480
  6. kim_pornpat

    kim_pornpat สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 กันยายน 2006
    โพสต์:
    10
    ค่าพลัง:
    +3
    วันนี้เพิ่งเจอมากับตัวเอง น่ากลัวมากๆ เป็นพายุทอนาโด เหตุการณ์เกิดใกล้ๆกับเมืองที่เราอยู่กับบริเวณที่พายุก่อตัว ซึ่งอยู่ในรัฐโคโลราโด พายุวิ่งด้วยความเร็วประมาณ 60 ไมล์ต่อชั่วโมง แต่เมืองนอกเค้ามีระบบเตือนภัยดีมาก มีสัญญาณเตือนภัยและข่าวไวจริงๆ วิเคราะห์กันให้ยุ่งไปหมดว่าพายุจะไปทางไหน น่ากลัวแต่ก็คูลเหมือนกัน
     
  7. mead

    mead เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2005
    โพสต์:
    8,116
    ค่าพลัง:
    +62,424
    ***Idea *** กระป๋องปลาทูน่า (ในน้ำมันพืช)
    สามารถดัดแปลงเป็น Emergency Oil Lamp ยามฉุกเฉินได้ด้วย

    [vdo]http://palungjit.org/attachments/a.330325/[/vdo]

    ก่อนทาน นำกระป๋องปลาทูน่ามาเจาะรูตรงกลางด้วยตะปู
    ใส่ไส้เทียนลงไปให้ปลายโผล่ออกมาสัก 1 นิ้ว
    พอน้ำมันพืชหมดแล้ว ภายในก็ยังทานได้เหมือนเดิมครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • Movie 01.wmv
      ขนาดไฟล์:
      1.9 MB
      เปิดดู:
      2,324
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 24 พฤษภาคม 2008
  8. BASLOVE555+

    BASLOVE555+ สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    68
    ค่าพลัง:
    +6
    มันน่าจะเร็วๆนี้ อะคับ เพราะผมสังเกตุว่าช่วงนี้มันเกิดถัยภิบัติถี่ขึ้นเรื่อยๆ ยิ่งในเอเชียภัยถิบัติแปลกๆเกิดขึ้นอีกมาแบบว่าแต่ละประเทสรับมือไม่ทันเละคับ
    ภ้าเกิดก็ต้องเตรียมตัวคับ
    ขออย่างเดียว อย่าให้มันเกิดพร้อมกันทีเดียวเท่านั้นล่ะ ม่ายอยากจะคิดเลย
     
  9. BASLOVE555+

    BASLOVE555+ สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    68
    ค่าพลัง:
    +6
    idea ใช้ได้คับ ดีมากกๆเลย
     
  10. BASLOVE555+

    BASLOVE555+ สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    68
    ค่าพลัง:
    +6
    ผมสมาชิกใหม่ฝากตัวด้วยคับ
     
  11. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,192
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>บูรณาการแพทย์แผนปัจจุบัน ใช้
     
  12. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    เมื่อวานลองซื้อกล่องปิกนิ๊ค (ที่เป็นพาสติก) ใบละ 139 บาท แล้วซื้อๆ ของใส่ลงไป ค่อยๆ ทะยอยซื้อก็ได้

    เมื่อวานของที่ซื้อนะ
    - มีด
    - เทียน
    - ไม้ขีด ไฟแช็ค
    - ไฟฉาย
    - ถุงขยะ
    - ผ้าเย็น
    - ช้อนพาสติก
    - ยาสามัญประจำบ้าน (ที่เค้าใส่กล่องไว้พร้อมสำหรับถวายพระ)
    - ทูน่าในน้ำมัน 2 กระป๋อง
    -

    สิ่งที่จะทะยอยซื้อ
    - น้ำมันพืชขวดเล็ก
    - เชือก
    - ค้อน
    - ตะปู
    - รองเท้าแตะ
    -


    นึกออกแล้วค่อยๆ ซื้อมาแล้ว เอาใส่กล่องนั้นๆ ไว้นะ แล้วถ้าบ้านมีรถหลายคันก็เก็บกล่องนี้ไว้ในแต่ละคันนะ

    เดี๋ยวคิดออกมาอัพเดทใหม่ อิอิ
     
  13. ยาล้างตา

    ยาล้างตา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 กันยายน 2007
    โพสต์:
    494
    ค่าพลัง:
    +3,539
    คุณ Falkman ไม่คิดว่าเวลาจริงๆรถวิ่งไปไม่ได้จะทำอย่างไรครับ ไม่ลองพิจารณาเอาใส่เป้ที่แบกได้ด้วยตัวเองเป็นการเริ่มต้นดีไหมครับ แม้ไม่ครบแต่เอาที่สำคัญที่สุดก่อน
     
  14. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    อ๋อ อันนี้หมายถึงส่วนที่จะติดไว้ในรถตลอดเวลา อ่ะจ้า

    จะเตรียมอีกชุดในเป้ ก็ได้

    อีกชุดไว้ที่ทำงาน ก็ได้

    อีกชุดไว้ที่บ้าน ก็ได้

    อันนี้ยกตัวอย่างสำหรับในรถ เพราะว่า รถไปกับเราเกือบทุกที่ ถ้ารถวิ่งไมไ่ด้จริงๆ ก็ไปเอาของจากในรถมาไง [​IMG]
     
  15. พุทธโกมุท

    พุทธโกมุท เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 พฤษภาคม 2007
    โพสต์:
    314
    ค่าพลัง:
    +2,807
    เตรียมเหมาอาหารแห้ง ข้าวสาร 3 ถัง และอาหารกระป๋องไว้แล้วครับ น่าจะอยู่ได้ซักเดือน เมื่อวานก็ไปซื้อน้ำมันเบนซิน มาสำรองไว้ 30 ลิตร โชคดีปั๊มเค้าขายให้ เผื่อฉุกเฉินปั๊มปิดทั่วประเทศ เรายังมีพลังงานสำรองเดินทางออกจากกรุงเทพฯได้

    ตั้งใจจะติดตั้งถึงสำรองน้ำสัก 1000 ลิตรไว้เก็บน้ำประปาที่บ้าน และจะซื้ออุปกรณ์แปลงไฟรถยนต์มาติดไว้บ้าง เผื่อกรณีน้ำไม่ไหลและไฟฟ้าดับ

    ลำดับถัดไปก็จะซื้อ ว. เครื่องแดง (ซะที)
     
  16. pat3112

    pat3112 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 สิงหาคม 2005
    โพสต์:
    373
    ค่าพลัง:
    +2,904
    เห็นด้วยครับผมเตรียมอุปกรณ์ใส่หรับเป้1ชุดพวกมีด อปกรณ์ที่จำเป็น ,อาหาร1เืดือน,
    กะว่าจะเตรียมพวกแก็สชัก3-5ถังไว้ใช้ยามจำเป็น,
    -ใช้ต้มนำ้ฆ่าเชื้อโรค เป็นแสงสว่าง รวมถึงทำอาหาร
    นำ้มันสักสองถังก็พอครับกลัวไม่ได้ใช้
    เตรียมหาเรือเล็กซักลำ วอเเดงด้วย
    อย่าลืมเตรียมจิตเตรียมใจนะครับ ทาน ศีล สมาธิ ปํญญา สมำ่เสมอทุกขณะจิต (โมทนาล่วงวหน้าครับ หลายๆท่านเจริญธรรมกันอย่างมากช่วงนี้)
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 2 มิถุนายน 2008
  17. vijit_j

    vijit_j เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    739
    ค่าพลัง:
    +2,866
    มีคนเคยจัดเป้ไว้ในรถ นานเข้าอาหารประเภทกระป๋องบวมหมด คงเป็นเพราะในรถอากาศร้อนอบตลอดเวลา
     
  18. marine24

    marine24 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 สิงหาคม 2005
    โพสต์:
    2,223
    ค่าพลัง:
    +15,632
    อาจจะเกิดจากอากาศที่ร้อนเพราะภารที่รถจอดตากแดด ทำให้อุณหภูมิในตัวรถสูง อากาศที่อยู่ภายในอาหารกระป๋องเกิดการขยายตัว ควรเป็นประเภทบะหมี่สำเร็จรูป(อาหารแห้ง) ส่วนผมนอกจากเครื่องสนามแล้วมีเวชภัณฑ์แยกเป็น 3 ชุด เก็บสำรอง 1 ชุด ใช้ประจำที่บ้าน 1 ชุด ไว้เดินทางไปทริป ชุดเล็ก 1 ชุด ปลากระป๋อง 1แพ็ค น้ำพริกเผา 1 ขวด น้ำพริกนรก 1 กระปุก ชุดเครื่องครัว 1 ชุด เตาเชื้อเพลิงแข็ง(แบบพกพา) อุปกรณฺแสงสว่างสารพัดแบบ ทั้งขนาดเล็ก แบบสปอร์ตไลท์ แบบตีกบ(แบตเตอรีแห้ง) พลั่วสนาม ขวาน ค้อน มีดเดินป่า
     
  19. Khunkik

    Khunkik เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 กันยายน 2006
    โพสต์:
    2,150
    ค่าพลัง:
    +18,072
    วิชานายระพินทร์


    การตอกทอย


    <CENTER>
    การตอกทอย หรือวิชาตอกทอยนั้นเป็นศาสตร์ชั้นสูงของพรานป่า ซึ่งในเรื่องเพชรพระอุมานั้นได้อธิบายถึงวิธีการ ในการตอกทอยครั้งแรกโดย แงซาย ทั้งนี้ รพินทร์ได้อธิบายวิธีการให้นายจ้างฟังดังนี้




    </CENTER>​
    1. ลูกทอย นั้น ผู้ตอกทอยต้องเป็นผู้ที่เหลาทำขึ้นเอง
    2. การตอกทอยจะตอกเพียงแค่สามครั้ง
    3. ในแต่ละครั้งที่ตอก จะมีคาถากำกับทุกครั้ง
    4. หลังจากที่ใช้งานแล้ว ต้องถอนทอยออกมาให้หมด
    ซึ่งที่รพินทร์อธิบายนั้นเป็นวิธีการแบบของแงซาย ซึ่งแงซายเล่าว่าร่ำเรียนมาจากพระธุดงค์ที่เคยเลี้ยงแงซายมาตั้งแต่เด็กๆ

    <CENTER>
    ในเรื่องเพชรพระอุมานั้นได้กล่าวถึงการตอกทอยนี้มี 4 ครั้ง ดังนี้




    </CENTER>​
    1. แงซาย เป็นผู้ตอกทอยเพื่อปีนหน้าผา หลังออกจากห้วยแม่เลิง เพื่อตัดทางไปสมทบกองเกวียน
    แงซาย เป็นผู้ตอกทอย เพื่อปีนหน้าผา เข้าสู่หมู่บ้านสางเขียว เพื่อเจรจาแลกตัว ลู กับ มาเรีย
    รพินทร์ เป็นผู้ตอกทอย ขึ้นไปช่วยบุญคำลงจากต้นไม้ที่นิทรานคร ซึ่งการตอกทอยครั้งนี้นั้น มีวิธีการต่างจาก ที่รพินทร์เคยอธิบายให้นายจ้างฟัง ในการตอกทอยครั้งแรก นั้นคือ ผู้ตอกทอยไม่ได้เป็นคนเหลาลูกทอยเอง ซึ่งในความเห็นของผมนั้น คิดว่า วิชาตอกทอยที่รพินทร์ร่ำเรียนมาจากครูพราน หนานไพร น่าจะเหนือกว่าวิชาของแงซาย เพราะสามารถนำลูกทอยของคนอื่นมาใช้งานได้

    แงซาย เป็นผู้ตอกทอย ขึ้นไปช่วยรพินทร์ กับมาเรีย ลงมาจากรังของนกโก้ลเด้นอีเกิ้ล ในตอนป่าโลกล้านปี
    นอกจากนี้ยังมีการเล่าถึงการตอกทอยอีก 1 ครั้ง คือ แงซาย เล่าให้ฟังถึงสมัยที่ต้องตอกทอยหนีสางเขียวขึ้นไปนอนบนต้นไม้ ในเขตตะนิ่นตะยี่
    <CENTER>
    ในเรื่องเพชรพระอุมานี้ ตอนที่คุณลุงพนมเทียนได้แต่งถึงตอนตอกทอยครั้งที่ 3 ใน เพชรพระอุมา ฉบับพ็อกเก็ตบุ๊ค นั้นได้มีผู้อ่านเขียนจดหมายถามว่า ปู่ของเขาตอกทอยตั้ง 5- 6 ครั้ง ไม่เห็นตรงกับในเรื่องเลย คุณลุงพนมเทียนได้อธิบายว่า วิชาตอกทอยของแต่ละคนอาจมีรายละเอียดแตกต่างไปบ้าง สำหรับคุณลุงแล้วตอกตั้ง 20 ที ลูกทอยยังหลุดเลย และคุณลุงได้บอกถึงคาถาที่รพินทร์ใช้กำกับการตอกทอย ดังนี้ ตอกลงไปครั้งแรกภาวนาว่า
     
  20. Khunkik

    Khunkik เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 กันยายน 2006
    โพสต์:
    2,150
    ค่าพลัง:
    +18,072
    ศิลปะการก่อกองไฟ<CENTER>
    ศิลปะในการก่อกองไฟ เป็น วิธีการก่อกองไฟแบบต่างๆ ตามวัตถุประสงค์หรือสถานการณ์ต่างๆที่ต้องการใช้ประโยชน์จากกองไฟ ซึ่งในเรื่องเพชรพระอุมานั้น คุณลุงพนมเทียนได้กล่าวถึงศิลปะแขนงนี้พร้อมทั้งได้อธิบายถึงวิธีการก่อกองไฟไว้หลายแบบ โดยในภาคแรกนั้นได้อธิบายผ่านตัวรพินทร์ ไพรวัลย์ที่ได้สอนอธิบายให้กับ เชษฐา ไชยยันต์ ดาริน ฟังในค่ำคืนหนึ่ง หลังจากที่ได้แยกตัวออกจากขบวนเกวียนเพื่อตามล่าไอ้แหว่ง
    แต่อย่างไรก็ตามถึงแม้คุณลุงจะอธิบายเอาไว้ค่อนข้างละเอียด แต่ตัวผมเองก็ยังเกิดความสงสัย และอยากทราบรายละเอียดเพิ่มเติมมากกว่านี้ และตั้งใจว่าเมื่อหาข้อมูลได้ก็จะนำมาให้เพื่อนๆชาวชุมชนเพชรพระอุมาแห่งนี้ได้อ่านกัน และบังเอิญผมไปได้หนังสือเก่ามากเล่มนึง ที่ได้อธิบายถึงเรื่องนี้พร้อมทั้งมีรูปวาดประกอบ(เข้าใจว่าวาดโดยคุณฉลอง ธาราพันธ์) จึงนำมาเรียบเรียงมาให้พวกเราอ่านกัน
    </CENTER>
    ไฟเพื่อการหุงต้มเตรียมอาหาร
    [​IMG]
    ถ้าสามารถควบคุมบังคับความร้อนซึ่งได้จากกองไฟให้พวยพุ่งตรงไปยังจุดเดียวกันน้ำร้อนที่จะต้องการก็จะสำเร็จได้ในไม้ช้า วิธีการบังคับความร้อนให้พุ่งรวมกันดังกล่าวนี้ อยู่ที่ศิลปการวางฟืน ตั้งดุ้นฟืนทั้งหลายให้ปลายพุ่งชันขึ้นไปประจบกัน ไฟก็จะลุกลามไหม้พุ่งความร้อนให้ไปรวมกันได้ตามความปรารถนา ชนิดของฟืนที่เหมาะแก่การใช้ ควรเป็นไม้พันธ์ไผ่หรือพันธ์รวกจึงจะดี เพราะไม้ประเภทนี้ให้ความร้อนสูง
    ส่วนการวางกาหรือหม้อน้ำบนไฟ ใช้วิธีตัดไม้เป็นง่ามปักบนดินช้างกองไฟในระยะพอประมาณ แล้วตัดไม้ยาวเป็นคานเพื่อร้อยหูกาแขวนไว้วางปลายช่างหนึ่งของคานนี้บนง่ามไม้ ส่วนอีกปลายหนึ่งพุ่งลงดิน
    ถ้าปรารถนาจะเจียวไข่ หรือลวกผัดอาหารใดด้วยกระทะใช้ก้อนหินก้อนดิน หรือไม้สดปักเป็น 3 เส้า โน้มปลายรับภาชนะให้พอดี
    ทุกๆครั้งที่ยกภาชนะต่างๆออกจากกองไฟ มิควรวางภาชนะไว้บนดินเพราะดินจะดูดความร้อนได้เร็ว จะทำให้อาหารเย็นชืด หาเปลือกไม้คอยวางรับภาชนะไว้ให้สูงจากพื้น

    ไฟรุ่ง
    [​IMG]
    ศิลปในการประกอบไฟให้ส่งความอุ่นเรื่อยตลอดไปจนจวบรุ่ง ซึ่งได้นิยมแพร่หลายจนได้สมญาว่า
     

แชร์หน้านี้

Loading...