เพื่อการกุศล วัตถุมงคลสายพญานาค ปรอทสายวิชาเก่า เครื่องรางหายาก น.สุดท้าย

ในห้อง 'ตลาด พระเครื่องเพื่อการกุศล' ตั้งกระทู้โดย ตันติปาละ, 9 พฤศจิกายน 2010.

  1. jumpahom

    jumpahom เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    1,747
    ค่าพลัง:
    +11,036
    จารย์ตัน จอง คู่ นี้ นะ คะ:boo:
     
  2. jumpahom

    jumpahom เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    1,747
    ค่าพลัง:
    +11,036
    จารย์ตัน เหล็กไหลเขาอึมครึม งอกได้เหมือน เหล็กไหลเกาะล้านป่ะคะ
     
  3. Lek2010

    Lek2010 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    8,925
    ค่าพลัง:
    +42,467
  4. Ton_PB

    Ton_PB เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2009
    โพสต์:
    4,463
    ค่าพลัง:
    +2,005
    สวัสดีครับ ลุง ๆ ป้า ๆ ทุกคน

    แหมเมื่อคนคึกคักกันน่าดูเลยนะครับ
     
  5. jumpahom

    jumpahom เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    1,747
    ค่าพลัง:
    +11,036
    แหมมม คุณเล็กก็(kiss) ก็ถามๆไว้ก่อนเฉยๆ แฮ่แฮ่ เค้าก็จ้อง เหล็กไหลเขาอึมครึม อยู่เด๊ะ ก็รอดูว่าจะมีใครเอาป่ะ ถ้าไม่มีก็เสร็จโจ๋จ้า
     
  6. jumpahom

    jumpahom เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    1,747
    ค่าพลัง:
    +11,036
    ว่าแต่ มีใครได้ข่าว น้องไซ ป่ะคะ เงียบเชียว คิดถึงจังเยยยยยย
     
  7. jumpahom

    jumpahom เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2009
    โพสต์:
    1,747
    ค่าพลัง:
    +11,036
    :cool: จองเจ้าค่ะ
     
  8. Lek2010

    Lek2010 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    8,925
    ค่าพลัง:
    +42,467
    แหมมคุณTon_PB ทักแต่ สว. นะคะ
    แล้วรุ่นใกล้เคียงกะรุ่นน้องมิทักเลยหรือคะ
     
  9. Lek2010

    Lek2010 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    8,925
    ค่าพลัง:
    +42,467
    สงสัยกะลังวุ่นกับการเป็นผู้จัดการคิว
    ขนาดน้องยมยังถูกพี่รักทิ้งเล้ย
    แต่ลองจุดธูปเรียกดูดิคะเผื่อว่างจะได้แว๊บมา
    :boo:
     
  10. kamontad

    kamontad เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 กันยายน 2010
    โพสต์:
    678
    ค่าพลัง:
    +574
    อ่าวโดนพาดพิงซิกส์ๆๆๆๆๆๆๆๆๆ
     
  11. Ton_PB

    Ton_PB เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2009
    โพสต์:
    4,463
    ค่าพลัง:
    +2,005
    ไม่ได้สิ มันเป็นธรรมเนียมต้องไหว้ผู้หลักผู้ใหญ่ก่อน

    แต่ถ้าเทียบกันจริง ๆ ผมว่าทุกท่านน่าจะเป็นพี่ผมหมด เหลือแต่หลวงพี่ (ขอพาดพิง ต้องให้เกียรติเรียกหลวงพี่) ถ้าจำไม่ผิดท่านน่าจะแค่ 29
     
  12. Lek2010

    Lek2010 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    8,925
    ค่าพลัง:
    +42,467

    ยมเอ๊ย
    ถูกพาดพิงดีกว่าถูกพาดคอนะน้องนะ
     
  13. ตันติปาละ

    ตันติปาละ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 สิงหาคม 2005
    โพสต์:
    4,421
    ค่าพลัง:
    +4,649

    งอกได้ครับ:cool:
     
  14. ศิลามณี

    ศิลามณี เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    1,008
    ค่าพลัง:
    +1,321
    คุณตัน..จะแจกน้ำมนต์เมื่อไหร่คะ...รอฟังอยู่นะคะ....จะไม่ได้เข้าเน็ตประมาณ5-6วัน
     
  15. kamontad

    kamontad เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 กันยายน 2010
    โพสต์:
    678
    ค่าพลัง:
    +574
    หลวงพี่เขา 23เองเจ้าค่ะ ส่วนหนูนี้ 29 เจ้าค่ะส่วนป้าๆลุงๆเขา +กัน พอพอกับกรุงรัตนโกสินอ่า
     
  16. ตันติปาละ

    ตันติปาละ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 สิงหาคม 2005
    โพสต์:
    4,421
    ค่าพลัง:
    +4,649
    ตอนนี้เหลือ 5 ขวดคิดอยู่ว่าจะแจกแบบใหนครับ คงต้องไปหาขวดเล็กมาแบ่งครับ
     
  17. Lek2010

    Lek2010 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    8,925
    ค่าพลัง:
    +42,467

    ใสเจีย & เสียใจค่า
    หลวงพี่อะ 23-24
    ส่วนน้องยมยังเป็นผู้เยาว์อยู่แม้นหน้าตาจะล้ำหน้าอายุจริงไปมากจนคนอื่นอาจเข้าใจผิดได้ หน้าน้องเค้าไปอัพมาเพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้ลูกค้าเค้านะค่า
    จริงๆยังไร้เดียงสาอยู่เล้ยไม่เชื่อดูดีๆสิคะ (น้องยมเอารูปตอน 6 ขวบขึ้นโพสต์ด่วนเล้ย)
     
  18. Ton_PB

    Ton_PB เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2009
    โพสต์:
    4,463
    ค่าพลัง:
    +2,005
    คุณเล็กเสียใจเรื่องรัยครับ ถ้าผมพูดผิดไป ขอโทษอย่างแรง
     
  19. Lek2010

    Lek2010 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    8,925
    ค่าพลัง:
    +42,467

    อิอิ เสียใจแทนน้องยมที่คุณTon_PBประเมินอายุน้องยมสูงไปนะสิคะ
     
  20. ตันติปาละ

    ตันติปาละ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 สิงหาคม 2005
    โพสต์:
    4,421
    ค่าพลัง:
    +4,649
    <dd>แม่เหล็ก (magnet) เป็น<wbr>สิ่ง<wbr>ที่<wbr>สามารถ<wbr>ดู<wbr>วัสดุ<wbr>บาง<wbr>ชนิด<wbr>ได้ เช่น เหล็ก นิกเกิล โคบอลต์ เป็นต้น การ<wbr>ที่<wbr>แม่เหล็ก<wbr>ดูด<wbr>สาร<wbr>บางอย่าง<wbr>ได้ เนื่องจาก<wbr>มีสนามแม่เหล็ก (magnetic field) ใน<wbr>บริเวณ<wbr>โดย<wbr>รอบ<wbr>แม่เหล็ก เรา<wbr>สามารถ<wbr>ตรวจสอบ<wbr>ว่า<wbr>บริเวณ<wbr>ใด<wbr>มี<wbr>สนามแเม่เหล็ก<wbr>หรือไม่ โดย<wbr>ใช้<wbr>เข็มทิศ แต่<wbr>เรา<wbr>ไม่<wbr>สามารถ<wbr>ทราบ<wbr>ได้<wbr>ว่า<wbr>มี<wbr>ค่า<wbr>เท่าใด นักวิทยาศาสตร์<wbr>พยายาม<wbr>วัด<wbr>สนามแม่เหล็ก<wbr>ด้วย<wbr>วิธีการ<wbr>ต่าง ๆ แต่<wbr>ใน<wbr>ปัจจุบัน<wbr>เรา<wbr>สามารถ<wbr>วัด<wbr>สนามแม่เหล็ก<wbr>ได้<wbr>สะดวก<wbr>และ<wbr>รวดเร็ว<wbr>โดย<wbr>ใช้<wbr>ตัวรับรู้ฮอลล์ (Linear Hall sensor) ซึ่ง<wbr>ทำงาน<wbr>โดย<wbr>อาศัย<wbr>หลักการ<wbr>ของ<wbr>ปรากฏการณ์ฮอลล์ (Hall effect) ตัวรับรู้ฮอลล์<wbr>เป็น<wbr>วงจรรวม<wbr>ที่<wbr>ทำ<wbr>ให้<wbr>เกิด<wbr>ความต่างศักย์<wbr>ซึ่ง<wbr>เป็น<wbr>สัดส่วน<wbr>ตรงกับ<wbr>ความเข้ม<wbr>ของ<wbr>สนามแม่เหล็ก<wbr>ที่<wbr>ผ่าน<wbr>ใน<wbr>แนวดิ่ง เมื่อ<wbr>นำ<wbr>ตัวรับรู้ฮอลล์ไป<wbr>ต่อกับโวลต์มิเตอร์ แล้ว<wbr>นำ<wbr>ไป<wbr>วาง<wbr>ใกล้<wbr>บริเวณ<wbr>ที่<wbr>มีสนามแม่เหล็ก<wbr>ก็<wbr>จะ<wbr>ทำให้<wbr>ทราบ<wbr>ค่า<wbr>ความเข้ม<wbr>ของ<wbr>สนามแม่เหล็ก<wbr>ได้

    [SIZE=+2]ตัวรับรู้ฮอลล์ (Linear Hall sensor)[/SIZE]

    <center>[​IMG]
    รูปที่ 1 ตัวรับรู้ฮอลล์</center>
    </dd><dd>ตัวรับรู้ฮอลล์<wbr>เป็น<wbr>วงจรรวม มี<wbr>ขนาด<wbr>และ<wbr>ลักษณะ<wbr>ดังรูปที่ 1 และ<wbr>มี<wbr>สมบัติ<wbr>ดังนี้ <center><table width="80%"><tbody><tr><td> input voltage 4.5-6V
    offset voltage 2.5 V (ประมาณ)
    sensitivity 13 V/T
    </td></tr></tbody></table></center> </dd><dd>เมื่อ<wbr>ต่อ<wbr>แหล่งจ่ายไฟ<wbr>กระแสตรง<wbr>หรือ<wbr>เซลล์ไฟฟ้า 4.5-6 โวลต์ เข้ากับขา 1 และ<wbr>ขา 2 และ ต่อ<wbr>โวลต์มิเตอร์<wbr>เข้ากับขา 2 และ<wbr>ขา 3 ดังรูปที่ 2 โวลต์มิเตอร์<wbr>จะ<wbr>แสดง<wbr>ค่า<wbr>ประมาณ 2.5 โวลต์ ค่า<wbr>นี้<wbr>เป็น<wbr>ความต่างศักย์<wbr>ขณะ<wbr>ที่<wbr>ไม่<wbr>มี<wbr>สนามแม่เหล็ก เรียกว่า offset voltage ค่า<wbr>นี้<wbr>อาจ<wbr>เปลี่ยนแปลง<wbr>ได้<wbr>เล็กน้อย<wbr>ขึ้นอยู่กับ<wbr>โวลเตจ<wbr>ของ<wbr>แหล่งจ่ายไฟ<wbr>กระแสตรง<wbr>ที่<wbr>ต่อกับ<wbr>ขา 1 และ<wbr>ขา 2 แต่<wbr>จะ<wbr>มี<wbr>ค่า<wbr>ประมาณ<wbr>ครึ่งหนึ่ง<wbr>ของ<wbr>โวลเตจ<wbr>ของ<wbr>แหล่งจ่ายไฟ<wbr>กระแสตรง

    <center>[​IMG]
    รูปที่ 2 การต่อตัวรับรู้ฮอลล์กับแหล่งจ่ายไฟกระแสตรงและโวลต์มิเตอร์

    [​IMG]
    รูปที่ 3 การวัดความเข้มของสนามแม่เหล็ก</center>
    </dd><dd>เมื่อ<wbr>นำ<wbr>แม่เหล็ก<wbr>เข้า<wbr>ใกล้ active area ของ<wbr>ตัวรับรู้ฮอลล์ ความต่างศักย์<wbr>จะ<wbr>มี<wbr>ค่า<wbr>เพิ่ม<wbr>ขึ้น<wbr>หรือ<wbr>ลดลง<wbr>ขึ้นอยู่กับ<wbr>ทิศ<wbr>ของ<wbr>สนามแม่เหล็ก กล่าวคือ<wbr>ถ้า<wbr>นำ<wbr>ขั้วใต้<wbr>เข้า<wbr>ใกล้ ความต่างศักย์<wbr>จะ<wbr>มี<wbr>ค่า<wbr>เพิ่มขึ้น แต่<wbr>ถ้า<wbr>นำ<wbr>ขั้วเหนือ<wbr>เข้า<wbr>ใกล้ ความต่างศักย์<wbr>จะ<wbr>มี<wbr>ค่าลดลง ความต่างศักย์<wbr>ที่<wbr>เปลี่ยนไป<wbr>มี<wbr>ความสัมพันธ์<wbr>กับ<wbr>ความเข้ม<wbr>ของ<wbr>สนามแม่เหล็ก<wbr>หรือ<wbr>ความหนาแน่น<wbr>ฟลักซ์<wbr>แม่เหล็ก (magnetic flux density) ดังนี้ <center><table width="80%"><tbody><tr><td> B = (V<sub>out (B)</sub> - V<sub>out (O) </sub>) S<sup>-1</sup>
    เมื่อ V<sub>out (O)</sub> เป็น<wbr>ความต่างศักย์<wbr>ขณะ<wbr>ไม่มี<wbr>สนามแม่เหล็ก
    V<sub>out (B)</sub> เป็น<wbr>ความต่างศักย์<wbr>ขณะ<wbr>มีสนามแม่เหล็ก
    S เป็น<wbr>สัมประสิทธิ์<wbr>ความไว มี<wbr>หน่วย<wbr>เป็น<wbr>โวลต์ต่อ<wbr>เทสลา (V/T)
    <dd>สำหรับ<wbr>ตัวรับรู้ฮอลล์ที่<wbr>ใช้<wbr>ใน<wbr>บทความ<wbr>นี้ S = 13 V/T
    B เป็น<wbr>ความเข้ม<wbr>ของ<wbr>สนามแม่เหล็ก หรือ<wbr>ความหนาแน่นฟลักซ์แม่เหล็ก มี<wbr>หน่วย<wbr>เป็น<wbr>เทสลา (T)</dd>
    </td></tr></tbody></table></center> </dd><dd>ตัวรับรู้ฮอลล์<wbr>สามารถ<wbr>วัด<wbr>สนามแม่เหล็ก<wbr>ใน<wbr>บริเวณ<wbr>ใกล้<wbr>แม่เหล็กถาวร สนามแม่เหล็ก<wbr>ที่<wbr>เกิด<wbr>ขึ้น<wbr>บริเวณ<wbr>ปลาย<wbr>โซเลนอยด์<wbr>และ<wbr>สนามแม่เหล็ก<wbr>ใกล้<wbr>เส้นลวด<wbr>ตัวนำ<wbr>ที่<wbr>มี<wbr>กระแสไฟฟ้า<wbr>ผ่าน<wbr>ได้

    [SIZE=+2]ปรากฏการณ์ฮอลล์ (Hall Effect)[/SIZE] </dd><dd>ใน ค.ศ. 1879 เอ็ดวิน ฮอลล์ (Edwin Hall) นักศึกษา<wbr>มหาวิทยาลัย<wbr>จอห์น ฮอพคินส์ ซึ่ง<wbr>ใน<wbr>ขณะนั้น<wbr>มี<wbr>อายุ 24 ปี ได้พบว่า เมื่อ<wbr>นำ<wbr>แผ่นตัวนำบาง<wbr>ที่<wbr>มี<wbr>กระแสไฟฟ้า<wbr>ผ่าน<wbr>ไป<wbr>วาง<wbr>ไว้<wbr>ใน<wbr>บริเวณ<wbr>ที่<wbr>มีสนามแม่เหล็ก พาหะ<wbr>ประจุ (charge carriers) ใน<wbr>ตัวนำ<wbr>สามารถ<wbr>เบน<wbr>ไป<wbr>จาก<wbr>แนวทางเดิมได้ และ<wbr>การเบน<wbr>นี้<wbr>มี<wbr>ผล<wbr>ทำ<wbr>ให้<wbr>เกิดสนามไฟฟ้า<wbr>ใน<wbr>ตัวนำบาง<wbr>ใน<wbr>ทิศตั้งฉาก<wbr>กับทั้ง<wbr>กระแสไฟฟ้า<wbr>และ<wbr>สนามแม่เหล็ก การค้นพบ<wbr>นี้<wbr>เรียกว่า ปรากฏการณ์ฮอลล์

    <center>[​IMG]
    รูป 1 ก-ค แสดงการเกิดปรากฏการณ์ฮอลล์</center>
    </dd><dd>การเกิด<wbr>ปรากฏการณ์ฮอลล์<wbr>อาจ<wbr>อธิบาย<wbr>ได้<wbr>โดย<wbr>ใช้<wbr>รูป 1 ก-ค ดังนี้ </dd><dd>รูป 1 ก แสดง<wbr>แผ่นตัวนำบาง<wbr>ที่<wbr>มี<wbr>ความกว้าง d หนา t และ<wbr>มี<wbr>กระแสไฟฟ้า (conventional current) I ผ่าน<wbr>ใน<wbr>ทิศ<wbr>จาก<wbr>ด้านซ้าย<wbr>ไป<wbr>ด้านขวา พาหะ<wbr>ประจุ<wbr>คือ<wbr>อิเล็กตรอน<wbr>เคลื่อนที่ (ด้วย<wbr>อัตราเร็วลอยเลื่อน V<sub>d</sub>) ใน<wbr>ทิศตรงข้าม<wbr>กับกระแสไฟฟ้า I จาก<wbr>ด้านขวา<wbr>ไป<wbr>ด้านซ้าย </dd><dd>รูป 1 ข เมื่อ<wbr>ใส่สนามแม่เหล็ก B ใน<wbr>ทิศ<wbr>พุ่งเข้าหา<wbr>และ<wbr>ตั้งฉาก<wbr>กับ<wbr>ระนาบ<wbr>แผ่นตัวนำบาง<wbr>หรือ<wbr>กระดาษ จะ<wbr>เกิด<wbr>แรงแม่เหล็ก F<sub>B</sub> กระทำ<wbr>กับ<wbr>อิเล็กตรอน ทำ<wbr>ให้<wbr>อิเล็กตรอน<wbr>เบน<wbr>ไป<wbr>ทางขอบด้านบน<wbr>ของ<wbr>แผ่นตัวนำบาง </dd><dd>รูป 1 ค เมื่อ<wbr>เวลา<wbr>ผ่านไป<wbr>จะ<wbr>มี<wbr>อิเล็กตรอน<wbr>ถูก<wbr>ผลัก<wbr>ไป<wbr>ที่<wbr>ขอบด้านบน<wbr>จำนวน<wbr>มาก ส่วน<wbr>ขอบด้านล่าง<wbr>จะ<wbr>เกิด<wbr>ประจุไฟฟ้าบวก<wbr>จำนวน<wbr>มาก<wbr>เช่นกัน การ<wbr>ที่<wbr>มี<wbr>ประจุไฟฟ้า<wbr>ต่างชนิด<wbr>กัน<wbr>ที่<wbr>ขอบ<wbr>ทั้ง<wbr>สอง ทำ<wbr>ให้<wbr>เกิดสนามไฟฟ้า เรียก<wbr>ว่า สนามไฟฟ้าฮอลล์ (hall field) E<sub>H</sub> ใน<wbr>แผ่นตัวนำบาง<wbr>มี<wbr>ทิศ<wbr>จาก<wbr>ขอบ<wbr>ด้านล่าง<wbr>ไป<wbr>ขอบ<wbr>ด้านบน สนามไฟฟ้า<wbr>จะ<wbr>ทำ<wbr>ให้<wbr>เกิด<wbr>แรงไฟฟ้า F<sub>E</sub> กระทำ<wbr>กับ<wbr>อิเล็กตรอน ซึ่ง<wbr>จะ<wbr>ทำ<wbr>ให้<wbr>อิเล็กตรอน<wbr>ถูก<wbr>ผลัก<wbr>ไป<wbr>ทางขอบ<wbr>ด้านล่าง เมื่อ<wbr>แรงไฟฟ้า<wbr>และ<wbr>แรงแม่เหล็ก<wbr>มี<wbr>ขนาด<wbr>เท่ากัน อิเล็กตรอน<wbr>จะ<wbr>เคลื่อนที่<wbr>ใน<wbr>ทิศ<wbr>ไป<wbr>ทางซ้าย<wbr>โดย<wbr>ไม่<wbr>เบน </dd><dd>สนามไฟฟ้า<wbr>ที่<wbr>เกิด<wbr>ใน<wbr>แผ่นตัวนำบาง<wbr>มี<wbr>ความสัมพันธ์กับความต่างศักย์<wbr>หรือ<wbr>โวลเตจ V ดังนี้ </dd><dd>[​IMG] </dd><dd>ความ<wbr>ต่าง<wbr>ศักย์<wbr>หรือ<wbr>โวลเตจที่<wbr>เกิด<wbr>ขึ้น<wbr>นี้<wbr>เรียก<wbr>ว่า ความต่างศักย์ฮอลล์ (hall potential difference หรือ hall voltage) V<sub>H</sub> พบ<wbr>ว่า ความต่างศักย์ฮอลล์<wbr>มี<wbr>ค่า<wbr>มาก<wbr>ที่<wbr>สุด เมื่อ<wbr>แผ่นตัวนำบาง<wbr>ทำ<wbr>จาก<wbr>สารกึ่งตัวนำ เช่น ซิลิกอน และ<wbr>เจอร์เมเนียม ส่วน<wbr>ตัวนำไฟฟ้า<wbr>ที่ดี ความต่างศักย์ฮอลล์<wbr>จะ<wbr>มี<wbr>ค่า<wbr>น้อยกว่า<wbr>มาก (เหตุผล พิจารณา<wbr>ได้<wbr>จาก<wbr>สมการ (7) หรือ<wbr>สมการ (8) ใน<wbr>ตอนท้าย) </dd><dd>จาก<wbr>สมการ (1) จะ<wbr>ได้<wbr>ว่า </dd><dd></dd><dd>[​IMG]

    <center>[​IMG]
    รูป 2 การวัดความต่างศักย์ฮอลล์ V<sub>H</sub> </center>
    </dd><dd>เรา<wbr>สามารถ<wbr>วัด V<sub>H</sub> โดย<wbr>ต่อ มิลลิโวลต์มิเตอร์<wbr>เข้ากับจุด x และ<wbr>จุด y ดังรูป 2 ก </dd><dd>สภาพขั้ว<wbr>ของ V<sub>H</sub> ทราบ<wbr>ได้<wbr>จาก<wbr>เครื่องหมาย<wbr>ที่<wbr>อ่าน<wbr>ได้<wbr>จาก มิลลิโวลต์มิเตอร์ </dd><dd>จากรูป 2 ก พาหะประจุ<wbr>คือ<wbr>อิเล็กตรอน<wbr>จึง<wbr>มี<wbr>ประจุลบ ถ้า<wbr>พาหะประจุ<wbr>มี<wbr>ประจุบวก ทิศ<wbr>ของ V<sub>d</sub> และ E<sub>H</sub> จะ<wbr>ตรงข้าม<wbr>กับ<wbr>ใน<wbr>รูป 2 ก แต่<wbr>ทิศ<wbr>ของ F<sub>B</sub> และ E<sub>E</sub> ยัง<wbr>คงเดิม ดัง<wbr>แสดง<wbr>ใน<wbr>รูป 2 ข ทำ<wbr>ให้<wbr>ประจุบวก<wbr>ถูก<wbr>ผลัก<wbr>ไป<wbr>ที่<wbr>ขอบ<wbr>ด้านขวา ส่วน<wbr>ประจุลบ<wbr>ถูก<wbr>ผลัก<wbr>ไป<wbr>ที่<wbr>ขอบ<wbr>ด้านซ้าย และ<wbr>สภาพ<wbr>ขั้ว<wbr>ของ V<sub>H</sub> จะ<wbr>ตรง<wbr>ข้ามกับกรณี<wbr>ที่<wbr>พาหะ<wbr>ประจุ<wbr>มี<wbr>ประจุลบ </dd><dd>จากรูป 1 ค ขณะ<wbr>ที่<wbr>แรงแม่เหล็ก<wbr>และ<wbr>แรงไฟฟ้า<wbr>มี<wbr>ขนาด<wbr>เท่ากัน เรา<wbr>จะ<wbr>ได้ </dd><dd></dd><dd>[​IMG] </dd><dd>จาก<wbr>สมการ (2) จะ<wbr>ได้ </dd><dd></dd><dd>[​IMG] </dd><dd>เนื่องจาก<wbr>อัตราเร็วลอยเลื่อน V<sub>d</sub> มี<wbr>ค่า </dd><dd></dd><dd>[​IMG] </dd><dd>เมื่อ n คือ<wbr>จำนวน<wbr>พาหะประจุ<wbr>ต่อ<wbr>ลูกบาศก์เมตร (หรือ<wbr>ความหนาแน่น<wbr>ของ<wbr>พาหะประจุ) </dd><dd>และ A คือ<wbr>พื้นที่<wbr>หน้าตัด<wbr>ของ<wbr>แผ่นตัวนำบาง </dd><dd>แทน<wbr>สมการ (5) ลง<wbr>ใน<wbr>สมการ (4) จะ<wbr>ได้ </dd><dd></dd><dd>[​IMG] </dd><dd>เนื่องจาก [​IMG] คือ<wbr>ความหนา<wbr>ของ<wbr>แผ่นตัวนำบาง ดังนั้น </dd><dd></dd><dd>[​IMG] </dd><dd>สมการ (7) เขียน<wbr>ได้<wbr>ใหม่<wbr>เป็น </dd><dd></dd><dd>[​IMG] </dd><dd>ปริมาณ V<sub>H</sub>I และ t ใน<wbr>สมการ (8) หา<wbr>ได้<wbr>จาก<wbr>การวัด ส่วน<wbr>ค่า n ขึ้น<wbr>อยู่กับชนิด<wbr>ของ<wbr>วัสดุ<wbr>ที่<wbr>ใช้<wbr>ทำ<wbr>หัววัด วัสดุ<wbr>ที่<wbr>เป็น<wbr>สารกึ่งตัวนำ<wbr>จะ<wbr>มี<wbr>จำนวน<wbr>พาหะประจุ<wbr>น้อยกว่า<wbr>ตัวนำไฟฟ้า<wbr>ที่<wbr>ดี แต่<wbr>ก็<wbr>ยัง<wbr>มี<wbr>ค่า<wbr>มาก<wbr>พอ<wbr>ที่<wbr>จะ<wbr>ทำ<wbr>ให้<wbr>เกิด<wbr>กระแสไฟฟ้า<wbr>ที่<wbr>สามารถ<wbr>วัด<wbr>ได้ ส่วน<wbr>ฉนวน<wbr>มี<wbr>จำนวน<wbr>พาหะประจุ<wbr>น้อยมาก แต่<wbr>ก็<wbr>ยอม<wbr>ให้<wbr>กระแสไฟฟ้า<wbr>ปริมาณ<wbr>เล็กน้อย<wbr>ผ่าน จาก<wbr>การศึกษา<wbr>พบ<wbr>ว่า สารกึ่งตัวนำ<wbr>ที่<wbr>เจือ<wbr>สิ่ง<wbr>เจือปน<wbr>มี<wbr>ค่า n [​IMG] 10<sup>22</sup>m<sup>-3</sup> และ<wbr>โลหะ<wbr>ทั่วไป<wbr>มี<wbr>ค่า n [​IMG] 10<sup>28</sup>m<sup>-3</sup> ดังนั้น เรา<wbr>จึง<wbr>สามารถ<wbr>หา<wbr>ความเข้ม<wbr>ของ<wbr>สนามแม่เหล็ก<wbr>ที่<wbr>ไม่<wbr>ทราบ<wbr>ค่า<wbr>จาก<wbr>สมการ (8) ได้ </dd><dd>ความเข้ม<wbr>ของ<wbr>สนามแม่เหล็ก<wbr>มี<wbr>หน่วย<wbr>ใน<wbr>ระบบ<wbr>เอสไอ<wbr>เป็น<wbr>เทสลา (tesla) แทน<wbr>ด้วย<wbr>สัญลักษณ์ T หน่วยเดิมของ<wbr>ความเข้ม<wbr>ของ<wbr>สนามแม่เหล็ก<wbr>คือ เกาส์ (gauss) แทน<wbr>ด้วย<wbr>สัญลักษณ์ G โดย<wbr>ที่ 1T = 10<sup>4</sup> G </dd>
     

แชร์หน้านี้

Loading...