พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. ตั้งจิต

    ตั้งจิต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2005
    โพสต์:
    1,574
    ค่าพลัง:
    +5,485
    ผมเป็นคนที่ไม่อ่านนิยายยาวๆครับ เพราะเสียเวลานอน ในความคิดของผม ตัวละครแต่ละตัวก็เหมือนคนแต่ละคน เราอาจวิเคราะห์คนแต่ละคนได้ต่างกัน เราก็มองตัวละครได้ต่างมุมมอง โดยเฉพาะผู้ประพันธ์ที่ทรงภูมิ มักจะทำให้ตัวละครนั้นเหมือนคน คือใช่ว่าใครจะวิเคราะห์ตัวละครได้เหมือนกัน เช่นนั้นแล้ว หากผู้ใดมองตัวละครไม่เหมือน ก็ใช่ว่าจะไม่มีค่าควรอ่าน
     
  2. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ขอบคุณครับ

    วันนี้ท่านผู้อ่าน ได้ดูสามก๊กแล้วหรือยัง ถ้ายังไปติดตามได้ใน thai pbs นะครับ

    หรือลองไปหาหนังสือสามก๊กมาอ่านดู ผมรับรองว่า นอกจากความบันเทิงที่จะได้ ก็จะได้แนวคิด ,หลักการ และเหตุผลต่างๆ อ่านแล้วคิด อ่านแล้วลองวิเคราะห์ดู ผมคงต้องไปรื้อกลับมาอ่านใหม่แล้ว จะได้มาเสวนากันอีก

    ขอขอบคุณที่เสียเวลามาเสวนานะครับ หวังว่าโอกาสหน้าจะได้มีโอกาสพูดคุยกันอีก

    เกือบลืม บุคคลในดวงใจผมในสามก๊ก ก็คือ "จูล่ง" ครับ
    ท่านใดที่ชอบบุคคลใดในสามก๊ก ในความเห็นผม ลักษณะของความคิด จะออกไปในแนวของบุคคลที่ท่านชื่นชอบในสามก๊กครับ

    โมทนาสาธุครับ
     
  3. khongbeng

    khongbeng เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    234
    ค่าพลัง:
    +657
    จูล่ง คือสุภาพบุรุษจากเสียงสาน ผู้เดินทางมาเพียง

    ...ม้าขาว และเกราะเงิน....

    เป็นอัศวินเพียงคนเดียวที่ตายด้วยโรคชรา...
     
  4. khongbeng

    khongbeng เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    234
    ค่าพลัง:
    +657
    และเป็ํนอัศวินเพียงคนเดียว ที่เมื่อโจโฉรู้ว่าแม่ทัพข้าศึกคือ "จูล่ง"

    จะเร่งสั่งให้ทหารแม่ทัพนายกองทั้งหมดให้ถอยหนี....

    (กลัวจะไม่มีแม่ทัพนายกองเหลือให้ใช้ เดี๋ยวจูล่งฆ่าตายหมด

    ดังเช่นศึกฝ่าทัพรับอาเต๊า)
     
  5. khongbeng

    khongbeng เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    234
    ค่าพลัง:
    +657
    ภาพที่ปรากฏด้านข้างนี้ เป็นรูปจูล่ง ในเกมสามก๊กภาค 11....
     
  6. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    ผมเองก็จำไม่ค่อยได้แล้วว่า เรื่องราวของสามก๊กและการวิเคราะห์เป็นอย่างไร เมื่อสมัยที่ผมเรียนหนังสือ ตั้งแต่ ป.4 คุณพ่อได้ซื้อหนังสือสามก๊ก ซึ่งเขียนโดย ยาขอบ ประมาณ 3 เล่มมาให้อ่าน ผมใช้เวลาเพียงไม่กี่วันอ่านหมด แล้วก็อ่านซ้ำ เนื่องจากว่าสนุกดี

    ต่อมาเมื่อผมเรียนปริญญาตรี ประมาณปี 2528 ผมก็เริ่มซื้อหนังสือเกี่ยวกับสามก๊กมาอ่านทั้งของเจ้าพระยาพระคลัง(หน) ทั้งบทวิเคราะห์ต่างๆเช่นของสำนักพิมพ์ดอกหญ้า นำมาอ่านก็ได้ความรู้ได้ประโยชน์ดีจริงๆ

    ในความเห็นของผมเอง เรื่องของสามก๊ก มีผู้ที่เก่งจริงๆ และเก่งมากๆ มีอยุ่เพียง 3 คนเท่านั้น คือ โจโฉ ,เล่าปี่ ,ซุนกวน

    .
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    อ่า "สุมาอี้"

    อืม "ลุ่มลึกลับ ซับซ้อน"

    .
     
  7. MOUNTAIN

    MOUNTAIN เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    15,035
    ค่าพลัง:
    +132,081
    โตะจายโหมะเลย นึกว่าเข้าผิดกระทู้เสียแล้ว

    [​IMG]
     
  8. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  9. MOUNTAIN

    MOUNTAIN เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    15,035
    ค่าพลัง:
    +132,081
    ขอโทษครับ ไม่ได้เจตนาจริงๆ
    จานคงไม่ว่ากระไรนาคับ
    [​IMG]
     
  10. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  11. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ขอความเมตตาช่วยต่อชีวิตพระเณร บช.ออมทรัพย์ 2030-06304-5 บัญชี รร.พระปริยัติธรรมบ่อเงินบ่อทอง บมจ.ธ.กรุงไทย สาขาพนมสารคาม
    http://palungjit.org/showthread.php?t=21733&page=97

    <TABLE class=tborder id=post1047199 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">วันนี้, 05:47 AM <!-- / status icon and date --></TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #1927 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175>พสภัธ<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1047199", true); </SCRIPT>
    สมาชิก ยอดนิยม
    สมาชิกยอดฮิต

    [​IMG]

    เข้ามาครั้งสุดท้ายเมื่อ: วันนี้ 11:57 AM
    วันที่สมัคร: Nov 2005
    สถานที่: //////////////
    ข้อความ: 3,499 <!-- Start Post Thank You Hack -->
    ได้ให้อนุโมทนา 26 ครั้ง
    ได้รับอนุโมทนา 30,432 ครั้ง ใน 3,345 โพส <!-- End Post Thank You Hack -->
    พลังการให้คะแนน: 3482 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_1047199 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- message -->โต(กุมารน้อย) ขออนุโมทนาบุญในการรับเป็นเจ้าภาพ "บรรพชาสามเณร บวชเรียน" แก่ทุกๆ ท่าน ตอนนี้มีเจ้าภาพจองแล้ว 25 รูป..รูปละ 1,000 บ. เมื่อปีการศึกษาที่ผ่านมา ก็มีหลายท่านด้วยกันที่ รับเป็นเจ้าภาพ บวชสามเณรเพื่อเข้ามาเรียนหนังสือ
    โดยปัจจัย 1,000 บ.ที่รับเป็นเจ้าภาพ ปัจจัยส่วนนี้ก็นำมาใข้จ่าย 1. เป็นค่าเช่ารถ 2. ค่าอาหารเลี้ยงพระเณร 3 ถวายปัจจัยพระเณร 4 บริขารต่างๆ และอีกส่วนหนึ่งนำมาซื้ออุปกรณ์การศึกษา (หนังสือเรียนมัธยม) เพราะในช่วงของการเปิดเทอมต้องใช้ปัจจัยพอสมควร(ประมาณแสนกว่าบาท) ..ฉะนั้นท่านที่ได้ร่วมในงานบุญครั้งนี้ได้อานิสงส์ผลของบุญมากๆ ดังที่ได้กล่าวแล้ว...

    และเด็กๆ เหล่านี้บวชเรียนอยู่เริ่มต้นต้อง 3 ปี ไม่ใช่บวชภาคฤดูร้อน 10-15 วันก็สึก....เป็นการสร้างชาติ..สร้างบุคคล..สืบต่อพระพุทธศาสนา...ให้อนาคตแก่ผู้ยากไร้ ให้โอกาสที่ดีงามยิ่งในการดำรงค์ชีวิต ภายใน 1 ปี อาตมาภาพก็จะขอเชิญชวนทุกๆ ท่านครั้งหนึ่ง...ในการรับเป็น "เจ้าภาพบรรพชาสามเณรบวชเรียน" สาธุ..สาธุ..สาธุ...

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    มาดูเรื่องธรรมะกันสักหน่อยครับ

    http://www.luangta.com/thamma/thamma_talk_text.php?ID=1844&CatID=2

    <TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="98%" align=center border=0><TBODY><TR align=middle><TD>
    ธรรมะเท่านั้นที่จะรั้งจิตใจคนได้
    </TD></TR><TR><TD bgColor=#339900>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR align=middle><TD>
    วันที่ 24 กันยายน 2544 เวลา 18:30 น.

    สถานที่ : สวนแสงธรรม ถ.พุทธมณฑลสาย 3 กทม.
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=0 width="95%" align=center border=0><TBODY><TR><TD>เทศน์อบรมฆราวาส ณ สวนแสงธรรม

    วันจันทร์ที่ ๒๔ กันยายน พุทธศักราช ๒๕๔๔ (ตอนค่ำ)


    ธรรมะเท่านั้นที่จะรั้งจิตใจคนได้<O:p</O:p

    <O:p</O:p

    <O:p</O:p


    ลูกศิษย์ (.รัตนา): อ่านจดหมายของอธิบดีกรมการศาสนาถึงการนำหนังสือหยดน้ำบนใบบัวไปใช้ในการเรียนการสอน
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 19 มีนาคม 2008
  13. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.luangta.com/thamma/thamma...D=1844&CatID=2

    <TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="98%" align=center border=0><TBODY><TR align=middle><TD>ธรรมะเท่านั้นที่จะรั้งจิตใจคนได้
    </TD></TR><TR><TD bgColor=#339900>[​IMG]
    </TD></TR><TR align=middle><TD>วันที่ 24 กันยายน 2544 เวลา 18:30 น.

    สถานที่ : สวนแสงธรรม ถ.พุทธมณฑลสาย 3 กทม.


    </TD></TR></TBODY></TABLE>​

    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=0 width="95%" align=center border=0><TBODY><TR><TD>เทศน์อบรมฆราวาส ณ สวนแสงธรรม

    วันจันทร์ที่ ๒๔ กันยายน พุทธศักราช ๒๕๔๔ (ตอนค่ำ)


    ธรรมะเท่านั้นที่จะรั้งจิตใจคนได้<O:p</O:p


    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    ทีนี้เราจึงมาฝึกใหม่ ตั้งแต่พรรษาที่ ๑๘ เรามาฝึกใหม่ มันเคยชินแล้วมันเป็นของมันเองนะ ดีดเลยทันที พูดจริง ๆ ฝึกจริง ๆ เพราะฉะนั้น พูดถึงเรื่องความพากความเพียร พูดให้ใครฟังไม่อยากเชื่อนะ ก็เขาไม่ได้ทำ เราเป็นคนทำเอง เชื่อไม่เชื่อขึ้นอยู่กับเราคนเดียวผู้ทำ มันก็ลงจุดนี้มันสนใจกับใครเชื่อไม่เชื่อ ความจริงมียังไงเราก็พูดตามหลักความจริงที่เราก็พูดมาอย่างนี้ ๆ อย่างที่เราเคยฝึกมาอย่างนี้ เราก็เคยทำมาอย่างนี้อยู่แล้ว ถ้าว่าอย่างที่นั่งตลอดรุ่งเหมือนกัน ไม่ตลอด ตายก็ตายเลย ที่จะให้ยอมแพ้ลุกขึ้นมา ทั้ง ๆ ที่ยังไม่ตลอดรุ่ง ให้เปลี่ยนสภาพใหม่อย่างนี้ไม่ได้เด็ดขาด คอขาดไปเลย ตายก็ตายถ้าไม่ถึงเวลา เช่น เรานั่งภาวนาตั้งแต่หัวค่ำวันนี้จนกระทั่งวันใหม่สว่างขึ้นมาเป็นวันใหม่เรียบร้อยแล้วนั้นน่ะ เรียกว่าเป็นวันใหม่ถึงจะลุกจากที่ได้ ถ้าสายกว่าไม่มีปัญหาอะไร แต่เช้ากว่านั้นไม่ได้ (ลูกศิษย์ : ขยับได้มั้ยค่ะ) ไม่ขยับอยู่นั้นเลย ไม่เปลี่ยน ไม่มีท่าเปลี่ยนเลย
    อย่างเรานั้นขัดตะหมาด (หลวงตาเมตตานั่งขัดตะหมาดนั่งภาวนาให้ดู) เรื่องขัดตะหมาดนี้เสมอนะ นั่งพับเพียบ เรานั่งพับเพียบมาทางนี้มันหนักมาทางนี้ นั่งพับเพียบมาทางนี้มาหนักทางนี้ ไม่เสมอนะ นั่งนาน ๆมันถึงรู้คุณของการนั่งขัดตะหมาดอย่างนี้ มันเสมอ คือเสมอด้านนี้ ๆ ที่จะให้เปลี่ยนเป็นอย่างอื่น ไม่มี อย่างนี้ตลอดเลยจนกระทั่งลุก ปวดเยี้ยว เยี้ยวเลย ฟังสิเด็ดมั้ย ไม่ต้องไปลุก เมื่อมีข้อแม้แล้วมันจะหาทางออก มันจะปวดหนัก ปวดจะมาเบา หาทางออก ไม่ให้ออก ปวดเบาออกเลย ปวดหนักออกเลย ตั้งแต่เป็นเด็กมันขี้ใส่ตักแม่ เยี้ยวใส่ตักแม่มาเท่าไหร่ มันเอาตักแม่เป็นส้วมเป็นถาน โตขึ้นมาแล้วนี่ เจ้าของขี้ใส่ผ้าเจ้าของ มันไปซักไปล้างไม่ได้ เอาไปฆ่าทิ้งเสีย หนักศาสนา เพราะฉะนั้นจึงไม่ยอม ปวดหนักออกเลย ปวดเบาออกเลย ที่จะให้ลุกไม่มี<O:p</O:p
    นี่เรียกว่าเด็ดขาด แต่มันก็ไม่เคยปวดนะ แปลกอยู่ มันอาจจะโดนกัน ถ้าปวดมันก็โดนจริง ๆ ยังไงก็ซัดกัน ให้ลุกไม่ลุก ขี้ฟาดออกเลย ถึงเวลาแล้วลุกขึ้นไปซักเอง ยากอะไร สำหรับเยี้ยวไม่เยี้ยวล่ะ คือเหงื่อออกหมด จีวรทั้งผืนเปียกหมดเลย มันจะเอาเยี้ยวมาจากไหน ไม่เรียกเหงื่อ เขาเรียกว่ายางตาย มันเลยเหงื่อไปแล้ว จีวรนี่เหมือนซัก พอตอนเช้าเปียกหมดเลย สบง จีวร ถ่ายใหม่หมดเลย ที่จะให้เคลื่อน ไม่ได้เลย ถ้าเคลื่อนแสดงว่าแพ้แล้ว เจ้าของจะเสียใจตลอดวันตาย ถ้าลองได้แพ้ ต้องให้ชนะตลอดไป ว่าเด็ดอย่างนี้แล้ว มาอ่อนให้ทางนั้นเด็ดเราให้ล่มจมแพ้ไปนี้ไม่ได้เลย มันเด็ดขนาดนั้น เอาจริงเอาจังมาก คุณค่าแห่งความเอาจริงเอาจังเห็นประจักษ์ในตัวของเรานะ ผลประโยชน์ที่ได้มากน้อยเพียงไรจากอรรถจากธรรม เป็นความสุข ความสำราญบานใจของเราเป็นลำดับลำดาจากความเด็ดเดี่ยว ความเฉียบขาด ความดัดเจ้าของโดยลำดับ โดยธรรม ๆ<O:p</O:p
    ทีนี้ผลเกิดขึ้นมาก็โดยธรรม ๆ เพราะฉะนั้นเหตุกับผลติดแนบกันไปเลย ตำหนิอะไรไม่ได้ เหตุหนักขนาดไหน ผลก็ได้อย่างเหตุหนัก ๆ ได้อย่างพอใจ ๆ ถ้าอ่อนแอ ผลไม่ค่อยได้ มันก็รู้ล่ะสิ<O:p</O:p
    เมื่อเหตุอ่อนอย่างนี้ ผลไม่ได้ มันเป็นอย่างนี้ เราต้องเร่งทางเหตุเข้าให้เข้มแข็งเข้า ผลจะเป็นอย่างนั้น เร่งทางนั้นส่งผลเป็นดิบเป็นดีขึ้นไปเรื่อย ๆ นั่นแหละเหตุกับผลมันติดกันไปอย่างงั้น จะแยกกันได้ยังไง ทำเหตุไม่มีผลมีเหรอ ผลมันติดแนบกันไป ทุกวันนี้พูดตามความจริงมันเหมือนขอนซุงนะ เราไม่ได้ฝึกอะไรเลยนะ ทุกวันนี้ อยู่ไปอย่างงั้นแหละ อยู่ดูลมหายใจไปอย่างนั้น จะว่าปล่อยตัว<O:p</O:p
    มันก็ไม่เห็นปล่อยนะ มันก็พอดีในสภาพนี้เหมือนกัน จะว่ามันไม่รักษาตัว ไม่ปฏิบัติตัวเอง มันก็ไม่ถูก ถ้าว่าปฏิบัติอย่างที่เคยปฏิบัติมา มันก็ไม่ทำอย่างนั้น เดี๋ยวนี้มันก็ปล่อยสภาพเป็นคนแก่ ธาตุขันธ์อนุโลมไปตามธาตุขันธ์เสีย<O:p</O:p
    พูดถึงเรื่องจิตเรื่องใจก็ไม่มีทางที่จะฝึกมันอีกแล้ว จะฝึกไปไหนอีกมันก็ทุกอย่างแล้ว จะฝึกให้เป็นอะไรอีก ที่ฝึกก็ฝึกเพื่อแก้สิ่งที่บกพร่อง สิ่งที่เป็นภัยแก่ตัวเอง เมื่อฝึกไป แก้ไป ๆ จนกระทั่งมันหมดในตัวของเรา แม้ที่สุดภายในใจก็ไม่มีเหลือ จะแก้อะไร กิริยามารยาท การพูด การจา การไป การมา การทำทุกสิ่งทุกอย่าง เราก็ทำตามหลักธรรมวินัยที่สมมติยอมรับกัน ก็พอดีเพศของพระ เช่น ฉันหนเดียว เราก็เคยฉันมาอย่างงั้น เราก็พอดีกับเรา ที่ว่าต้องการสองหน สามหน หรือนอนหลับมาตีหนึ่ง ตีสองมาฉันอีก มันก็ไม่เคยคิด ฉันหนเดียวก็แล้วไปเลย หมดกังวล ไม่เคยสนใจนะ พวกเราเป็นอย่างนั้นน่ะ พอหมอนหลุดจากหัว เสียงในครัวก็อกแก็ก ตอนตีหนึ่ง ตีสองมันยังไปกินข้าว พวกบ้ากินไม่อิ่มไม่พอ ไม่เคยฝึกตัวเอง<O:p</O:p
    ถ้าฝึกตัวเองแล้ว มันไม่เป็นอารมณ์กับสิ่งเหล่านี้นะ เช่นอย่างฉันหนเดียว พอนี่ปั๊บหายเงียบเลย เรื่องอารมณ์ของอาหารไม่มีเลยนะ ถึงคิดไปมันก็ไม่ได้เรื่อง คิดไปหาอะไร มันก็เลยเป็นนิสัยฝังตัวตายไปเลยนะ ไม่เคยคิดเรื่องอาหาร ตอนเย็น ตอนบ่าย ตอนค่ำ ไม่เคยมีในหัวใจ หายเงียบ เราก็ฝึกมาอย่างนั้นแล้ว เวลามาปฏิบัติเราก็ปฏิบัติมาอย่างนั้น ทุกสิ่งทุกอย่างอยู่ในกรอบของศีลของธรรม ชีวิตจิตใจกับศีลกับธรรมให้กลมกลืนเป็นอันเดียวกัน ตีออกกิเลสอะไรความหยาบช้าลามกที่จะเข้ามากีดมาขวางให้เราทำความชั่วช้าลามก ฝืนธรรมฝืนวินัยตีออก ๆ ๆ จนกระทั่งเป็นความเคยชิน ทีนี้ไม่ทราบว่ารักษาไม่รักษา เดินไปที่ไหนมันก็เป็นปกติ จะว่ารักษามันก็ตั้งหน้าตั้งตาจะรักษาจริง ๆ เหมือนเริ่มบวชทีแรกมันก็ไม่มีนะ ทีแรกตั้งหน้าตั้งตารักษา<O:p</O:p
    พอเวลามันชินไปแล้ว มันรักษาอยู่ในตัวของมันเอง เช่นเดินไป นี่กำลังก้าวลงจะเหยียบ พอดีเห็นมด กำลังก้าวเหยียบลงไป จะเหยียบมดนะ มันโดดผึงเลย ข้ามไปเลย มันเป็นเองนะ มันไม่เหยียบ จะว่าเรารักษาไม่รักษาก็ตาม ไปนั้นไม่เห็นมีเจตนาจะรักษาไม่รักษา แต่พอมองเห็นมดกำลังจะเหยียบลง โดดผึงเลย ไม่เหยียบ มันเป็นของมันเอง เมื่อมันเคยแล้วมันเป็นของมันนั่นล่ะ ถ้าไม่เคยต้องได้ฝึก บวชทีแรกเอาจริงเอาจัง เหมือนติดคุกติดตะราง ระวังจะผิดสิกขาบทวินัยข้อนั้นข้อนี้ ต้องระวังเข้มงวดกวดขันเต็มเม็ดเต็มหน่วย พอพูดอันนี้แล้วก็ทำให้เราระลึกได้ ถ้าจะเป็นภาคอิสานจะรู้ภาษาของเราที่จะนำออกมาพูดตะกี้นี้นะ ถ้าเป็นภาคกลางอาจไม่รู้ได้นะ<O:p</O:p
    พอพูดถึงเรื่องการบวชใหม่ เรามีเพื่อน เพื่อนคนนั้นมีนิสัยตลกนิด ๆ เกิดปีเดียวกันด้วยนะ ตั้งแต่เป็นฆราวาสก็เป็นเพื่อนกัน เวลามาบวช เขาบวชเป็นเณรปีหนึ่ง แล้วต่อไปเขาก็มาบวชเป็นพระอีกปีหนึ่ง เรายังไม่ได้บวช ปีที่สองเราถึงบวช ตกลงเขาได้พรรษาแก่กว่าเราหนึ่งพรรษา เณรหนึ่งพรรษา พระหนึ่งพรรษา เราก็เพิ่งไปบวช ไปบวชกับพวกเดียวกัน ทีนี้พอบวชแล้วก็ ได้โอกาสก็ขึ้นไปกุฏิองค์นี้ล่ะ องค์ที่ท่านบวชก่อน เพื่อนกัน อายุปีเกิดปีเดียวกันด้วยนะ พอไปพระก็สูบบุหรี่เหมือนกัน ขึ้นไปก็คนนั้นก็จุดบุหรี่สูบ เราเห็นเขาสูบเราก็เอามาสูบ พูดแบบหน้าตาเฉยนะ นี่ที่ทำให้เราร้อนมาก มันเหมือนเป็นจริงเป็นจังจริง ๆ นะ พระองค์นั้นก็นั่ง พรรษาเดียวกัน
     
  14. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.luangta.com/thamma/thamma...D=1844&CatID=2



    <TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="98%" align=center border=0><TBODY><TR align=middle><TD>ธรรมะเท่านั้นที่จะรั้งจิตใจคนได้
    </TD></TR><TR><TD bgColor=#339900>[​IMG]
    </TD></TR><TR align=middle><TD>วันที่ 24 กันยายน 2544 เวลา 18:30 น.


    สถานที่ : สวนแสงธรรม ถ.พุทธมณฑลสาย 3 กทม.



    </TD></TR></TBODY></TABLE>


    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=0 width="95%" align=center border=0><TBODY><TR><TD>เทศน์อบรมฆราวาส ณ สวนแสงธรรม

    วันจันทร์ที่ ๒๔ กันยายน พุทธศักราช ๒๕๔๔ (ตอนค่ำ)


    ธรรมะเท่านั้นที่จะรั้งจิตใจคนได้<O:p</O:p

    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    กรมศาสนานี้ส่วนมากมีแต่พวกมหาเปรียญอยู่นั้นเยอะไม่ใช่เหรอ? (อธิบดีกรมการศาสนา:เดี๋ยวนี้มีอยู่บ้างครับ) แต่ก่อนมีเยอะ แต่เวลานี้พอลดลงไปบ้าง (อธิบดีกรมการศาสนา :ลดไปบ้าง แต่ยังมี เปรียญ ๗ ๘ ๙ พวกนักวิชาการดูตำรับตำรา คำสอนต่าง ๆ ครับ) กรมศาสนามันเกี่ยวกับอรรถกับธรรม เพราะงั้นจึงมีมหาเปรียญมากอยู่ในนั้น
    พูดเท่านั้นล่ะ วันนี้เหนื่อย มีธรรมเพียร ธรรมลี นอนอยู่ที่ไหนบ้างน่ะ (ลูกศิษย์ : นอนกุฏิที่เคยนอนครับ) มาในรถเต็มไปหมด แอบมาด้วยวันนี้ขู่เอาบ้าง คงอยากจะไปดูงานนี่ล่ะ (ลูกศิษย์ : อยากเห็นทำเนียบรัฐบาลครับ) ได้เห็นสวรรค์นิพพานรึยัง จึงอยากไปเห็นทำเนียบรัฐบาล ไปถามดูหน่อยนะ ถ้ายังไม่เห็น ทำไมไม่อยากเห็นสวรรค์นิพพานยิ่งกว่าอยากเห็นทำเนียบรัฐบาล ถามจ่อไปนั่นสิ<O:p</O:p
    ในสมัยพุทธเจ้า องค์นี้เป็นที่หนึ่ง (พระสีวลี) ท่านจึงยกเอตทัคคะ คือเลิศในทางความมีอดิเรกลาภ เครื่องสักการะบูชา จตุไทยทานมีมากนะองค์นี้ นี่พระสีวลี องค์หนึ่งเลิศทางหนึ่ง ๆ<O:p</O:p
    อย่างพระสารีบุตรเลิศทางปัญญา ฝนตกเจ็ดวันเจ็ดคืน พระสารีบุตรนับได้ทุกเม็ด สามารถนับได้ องค์อื่นนับไม่ได้ แต่พระสารีบุตรสามารถนับได้ นี่อัตโนมัติ เขาเรียกว่าคอมพิวเตอร์ แต่ว่าคอมพิวเตอร์ของธรรมไม่ได้เหมือนโลก ละเอียดไปกว่านั้น แม้เช่นนั้นยังถูกตำหนิจากพระพุทธเจ้า ไอ้ความรู้ของเธอขี้ปะติ๋ว เราตถาคต ฝนตกตั้งกัปตั้งกัลป์นับได้หมด นั่นล่ะธรรมชาติที่รู้จริง ๆอย่างนั้น ไม่ผิดไม่พลาด นั่นล่ะ พระญาณหยั่งทราบ ทางนี้เขาเรียกคอมพิวเตอร์ นี่คอมพิวเตอร์ของธรรมเป็นอย่างนี้ คอมพิวเตอร์ของพระพุทธเจ้าใช้มากับพระพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์ กับบรรดาสาวกผู้มีความเชี่ยวชาญทางไหนก็เป็นคอมพิวเตอร์ทั้งนั้น ประจำองค์ท่านเป็นประจำอย่างงั้น ทางเราปัจจุบันเขาเรียกคอมพิวเตอร์หรืออะไร คอมพิวเตอร์ของธรรมเป็นอย่างนั้นคิดดูซิฝนตกตั้งกัปตั้งกัลป์นับได้หมดทุกเม็ด ตกมากขนาดไหนนับได้หมดไม่เคลื่อนคลาด<O:p</O:p
    นี่พระสีวลีท่านก็อติเรกลาภมากเหมือนกัน จนพระพุทธเจ้าท่านหาอุบายยกชมเชย คือพระเรวตะ เป็นน้องชายของพระสารีบุตร ท่านชอบอยู่ในป่าในเขาเป็นประจำ ทีนี้พระพุทธเจ้า
     
  15. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อ่า ศิษย์น้องต้องชื่นชอบ "จูล่ง" เช่นกันละซิ ถึงได้นำรูปจูล่ง มาเป็นรูปแทนตัว

    เมื่อกี้นี้ คุยกับน้องเอ ก็ชื่นชอบ "จูล่ง" อีกคนนึง
    (good)

    แต่เอ้ ยังไม่เห็นมีใครชื่นชอบ โจโฉ ,เล่าปี่ ,กวนอู ,เตียวหุย ,ขงเบ้ง ,ซุนกวน ฯลฯ กันเลย มีแต่คุณnongnooo ชื่นชอบ "สุมาอี้"

    คืนนี้ สามก๊ก เวลาประมาณ 22.00-22.30 น.ทางไทยพีบีเอสนะครับ
    http://www.thaipbs.or.th/index.php?option=com_frontpage&Itemid=1&limit=8&limitstart=0
    .
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 19 มีนาคม 2008
  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  17. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.rr10.com/hoi-day.html

    <TABLE borderColorDark=#33cccc bgColor=#ccffff borderColorLight=#33cccc border=1><TBODY><TR vAlign=top><TD width=92>วัน
    </TD><TD vAlign=center width=136 rowSpan=2>อาทิตย์
    </TD><TD vAlign=center width=131 rowSpan=2>จันทร์
    </TD><TD vAlign=center width=129 rowSpan=2>อังคาร
    </TD><TD vAlign=center width=103 rowSpan=2>พุูธ
    </TD><TD vAlign=center width=117 rowSpan=2>พฤหัสบดี
    </TD><TD vAlign=center width=134 rowSpan=2>ศุกร์
    </TD><TD vAlign=center width=132 rowSpan=2>เสาร์

    </TD></TR><TR vAlign=top><TD width=92>ปี
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD width=92 height=65>ชวด







    </TD><TD width=136 height=65>- พระปิดตา
    - พระสีวลี
    - พระสังกัจจายน์

    </TD><TD width=131 height=65>- พระพรหม
    - พระพิคเณศ

    </TD><TD width=129 height=65>- พระปางไสยาสน์
    - พระปางสมาธิ

    </TD><TD width=103 height=65>- ชีวกโกมารทัต
    - พระสร้างจากว่าน
    ขมิ้นเสก, ไพรเสก
    ยาวาสนา

    </TD><TD width=117 height=65>- พระปางป่าเลไลย์์
    - พระราหู

    </TD><TD width=134 height=65>- พระที่มีพระอัครสาวก อยู่ซ้าย-ขวา

    </TD><TD width=132 height=65>- พระปางห้ามสมุทร
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD width=92>ฉลู







    </TD><TD width=136>- พระผงยาวาสนา
    - พระปิดตามหาลาภ
    - พระสีวลี
    - พระสังกัจจายน์
    - พระปางลีลา

    </TD><TD width=131>- พระที่มีหลายองค์ อยู่ในองค์เดียวกัน
    - เนื้อผงที่มีส่วนผสม
    หลายอย่าง

    </TD><TD width=129>- พระมหาอุตม์
    (ปิดทวาร)
    - พญาเต่าเรือน

    </TD><TD width=103>- พระเดี่ยวดำ - เดี่ยวแดง
    - พระพลายคู่ตัดเดี่ยว

    </TD><TD width=117>- พระคง ลำพูน
    - หลวงพ่อคง
    - หลวงพ่อมั่น

    </TD><TD width=134>- พระทุ่งเศรษฐี
    - พระรุ่นที่มีคำว่า
    "มหาเศรษฐี"
    "ขวัญถุงเงินล้าน"

    </TD><TD width=132>- พระที่มียันต์เกราะเพชร
    - พระที่เป็นรูปโล่ห์ฺ
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD width=92>ขาล







    </TD><TD width=136>- พระปางลีลา
    - พระเปิดโลก
    - พระสีวลี

    </TD><TD width=131>- พระปางสมาธิ

    </TD><TD width=129>- พระปิดตา
    - พระสังกัจจายน์
    - พระสีวลี

    </TD><TD width=103>- พระปางถวายเนตร
    - พระปิดตามหาอุตม์

    </TD><TD width=117>- พระกริ่ง~รูปหลุ่อ เนื้อโลหะ

    </TD><TD width=134>- แขวนเครื่องรางรูปเสือ

    </TD><TD width=132>- พระพิมพ์สะดุ้งกลับ
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD width=92>เถาะ







    </TD><TD width=136>- พระผงยาวาสนา
    - พระปิดตามหาลาภ
    - พระสีวลี
    - พระสังกัจจายน์

    </TD><TD width=131>- พระปางลีลา
    - พระยี่สิบห้า
    พุทธศตวรรษ


    </TD><TD width=129>- พระปิดตามหาลาภ
    - พระสังกัจจายน์
    - พระสีวลี

    </TD><TD width=103>- พระปิดตามหาอุตม์ ชนิดเนื้อโลหะ

    </TD><TD width=117>- พระพุทธกวัก
    - เครื่องรางรูปหนุมาน

    </TD><TD width=134>- พระเจ้าห้าพระองค์
    - พระสิบทัศน์
    - พระตรีกาย
    - พระปางปาฏิหาริย์

    </TD><TD width=132>- พระนางพญา
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD width=92 height=64>มะโรง







    </TD><TD width=136 height=64>- พระัชัยวัฒน์

    </TD><TD width=131 height=64>- พระที่มีข้อห้ามเรื่อง
    "สุรา"
    ล.พ, ปาน บางนมโค
    ล.พ, ผาง ขอนแก่น
    ล.พ, จันทร์ วัดศรีเทพ

    </TD><TD width=129 height=64>- พระเนื้อผง
    - พระที่แกะจากอัญมณี, หินหยก

    </TD><TD width=103 height=64>- พระกริ่ง

    </TD><TD width=117 height=64>- พระที่มีพลังเร้นลับ
    - พระหูยาน
    - พระยอดขุนพล
    - พระนาคปรก
    - พระนารายณ์ทรงปืน

    </TD><TD width=134 height=64>- พระเนื้อว่าน
    - พระเนื้อยาผสมว่าน

    </TD><TD width=132 height=64>- พระที่มีเครื่องหมาย
    คณะแพทย์~ผู้พิพากษา
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD width=92 height=16>มะเส็ง







    </TD><TD width=136 height=16>- พระที่มียันต์เกราะเพชร
    - พญาเต่าเรือน

    </TD><TD width=131 height=16>- พระนาคปรก
    - พระที่มีสององค์
    ในพิมพ์เดียว

    </TD><TD width=129 height=16>- พระปางลีลา
    - พระยี่สิบห้าพุทธศตวรรษ

    </TD><TD width=103 height=16>- พระสีวลี
    - พระสังกัจจายน์
    - พระที่ด้านหลังมียันต์ ดวง

    </TD><TD width=117 height=16>- พระเจ้าห้าพระองค์
    - พระสิบทัศน์
    - พระตรีกาย
    - พระปางปาฏิหาริย์
    - พระงบน้ำอ้อย

    </TD><TD width=134 height=16>- พระที่มีส่วนจีวร
    พระติดอยู่

    </TD><TD width=132 height=16>- พระที่เป็นคู่ - สององค์
    ในพิมพ์เดียวกัน
    - พระพลายคู่

    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
     
  18. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.rr10.com/hoi-day.html

    <TABLE borderColorDark=#33cccc bgColor=#ccffff borderColorLight=#33cccc border=1><TBODY><TR vAlign=top><TD width=92 height=113>
    มะเมีย





    </TD><TD width=136 height=113>- พระที่มีคำว่า "โต"
    หลวงพ่อโต บางกะทิง
    - พระองค์ใหญ่
    </TD><TD width=131 height=113>- เครื่องรางรูป
    "ปลาตะเพียน"
    </TD><TD width=129 height=113>- พระปางมารวิชัย
    - พระไพรีพินาศ
    </TD><TD width=103 height=113>- พระนาคปรก
    "ห้ามแขวนพระปางป่าเลไลย์" เด็ดขาด
    </TD><TD width=117 height=113>- พระปิดตายันต์ยุ่ง
    </TD><TD width=134 height=113>- แขวนพระองค์เดียว
    "อย่าแขวนพระเป็นพวง"
    </TD><TD width=132 height=113>- พระปิดทวารทั้งเก้า
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD width=92>
    มะแม





    </TD><TD width=136>- พระปางนาคปรก
    - พระปางซ่อนหา
    </TD><TD width=131>- พระปิดตา
    </TD><TD width=129>- พระปางประทานพร
    - พระปางอุ้มบาตร
    </TD><TD width=103>- พระผง
    พิมพ์สมเด็จ
    พิมพ์ปิดตา
    </TD><TD width=117>- พระปางปฐมเทศนา
    - มีรูปธรรมจักรอยู่
    </TD><TD width=134>- พระปิดตามหาอุตม์
    </TD><TD width=132>- พระที่มียันต์"เกาะเพชร"
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD width=92>
    วอก





    </TD><TD width=136>- พระที่มีพัดยศอยู่ด้วย
    </TD><TD width=131>- พระปางห้ามสมุทร
    </TD><TD width=129>- พระปางซ้อนหา
    (ปางโปรดคถาพรหม)
    </TD><TD width=103>- พระสังกัจจายน์
    - พระสีวลี
    </TD><TD width=117>- พระปางลีลา
    - พระที่อยู่ในซุ้ม
    เรือนแก้ว
    </TD><TD width=134>- พระที่มีรูปนางกวัก
    อยู่ด้านหลัง
    </TD><TD width=132>- พระที่มีสัีญญลักษณ์
    หรือสร้างโดยตุลาการ ตำรวจ
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD width=92 height=112>
    ระกา





    </TD><TD width=136 height=112>- พระมหาอุตม์
    - พระที่มีรัศมีอยู่รอบ
    องค์พระ
    </TD><TD width=131 height=112>- พระสังกัจจายน์
    พิมพ์แบบจีน
    - พระสีวลี
    </TD><TD width=129 height=112>- พระมหาอุตม์
    - พญาเต่าเรือน
    </TD><TD width=103 height=112>- พระปางปฐมเทศนา
    มีรูปธรรมจักรอยู่
    </TD><TD width=117 height=112>- พระองค์ใหญ่
    ชื่อใหญ่ ปางสมาธิ
    "หลวงพ่อโต บางกะทิง"
    </TD><TD width=134 height=112>- พระปิดตามหาลาภ
    - พระฤาษี
    </TD><TD width=132 height=112>- พระพิมพ์ทรงเครื่อง
    - พระที่มีลวดลายสวยงาม
    - พระที่แกะพิมพ์วิจิตร
    พิสดาร
    "พระแก้วมรกต"
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD width=92>
    จอ





    </TD><TD width=136>- พระปางมารวิชัย
    - พระที่มีอัครสาวก
    อยู่ซ้าย - ขวา
    </TD><TD width=131>- แขวนพระที่มีซุ้ม
    ครอบแก้ว ซุ้มเรือนแก้ว
    </TD><TD width=129>- พระปางลีลา
    - พระยี่สิบห้าพุทธศตวรรษ
    </TD><TD width=103>- แขวนพระเป็นพวง
    หลาย ๆ องค์
    </TD><TD width=117>- พระตรีกาย
    - พระปางปาฏิหาริย์
    - พระสิบทัศน์
    - พระงบน้ำอ้อย
    - พระเจ้าห้าพระองค์
    </TD><TD width=134>- พระมหาอุตม์
    </TD><TD width=132>- พระที่มีข้อห้ามเรื่อง "สุรา"
    ล.พ, ปาน บางนมโค
    ล.พ, ผาง ขอนแก่น
    ล.พ, จันทร์ วัดศรีเทพ
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD width=92>
    กุึน





    </TD><TD width=136>- พระสีวลี
    - พระสังกัจจายน์
    </TD><TD width=131>- พระพุทธรูป
    - พระพิคเณศ
    </TD><TD width=129>- พระที่มีอัครสาวก
    อยู่ซ้าย-ขวา
    </TD><TD width=103>- พระสะดุ้งกลับ
    </TD><TD width=117>- พระปางลีลา
    - พระยี่สิบห้าพุทธศตวรรษ
    </TD><TD width=134>- พระไพรีพินาศ
    </TD><TD width=132>- พระที่มีสัญญลักษณ์
    หรือสร้างโดย
    กระทรวงมหาดไทย
    กรมตำรวจ
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  19. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.rr10.com/hoi-rasee.html

    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]

    <TABLE borderColorDark=#ffffff bgColor=#ccffff borderColorLight=#969696 border=1><TBODY><TR vAlign=top><TD width=207>




    ราศีเมษ
    13 เมษายน - 13 พฤษภาคม

    </TD><TD vAlign=center width=227>- พระสมเด็จเนื้อผง

    </TD></TR><TR vAlign=top><TD width=207 height=112>




    ราศีพฤษภ
    14 พฤษภาคม - 15 มิถุนายน

    </TD><TD vAlign=center width=227 height=112>- พระเนื้อโลหะ
    - พระกริ่ง ~ รูปหล่อ
    - เหรียญ ~ เหรียญหล่อ

    </TD></TR><TR vAlign=top><TD width=207 height=80>




    ราศีเมถุน
    16 มิถุนายน - 15 กรกฎาคม

    </TD><TD vAlign=center width=227 height=80>- พระปิดตา มหาอุตม์

    </TD></TR><TR vAlign=top><TD width=207 height=112>




    ราศีกรกฏ
    16 กรกฎาคม - 16 สิงหาคม

    </TD><TD vAlign=center width=227 height=112>- พระสังกัจจายน์

    </TD></TR><TR vAlign=top><TD width=207>




    ราศีสิงห์
    17 สิงหาคม - 16 กันยายน

    </TD><TD vAlign=center width=227>- พระนางพญา พิษณุโลก
    - พระนางกำแพง กำแพงเพชร
    - พระนางพญา
    อื่น ๆ

    </TD></TR><TR vAlign=top><TD width=207>




    ราศีกันย์
    17 กันยายน - 16 ตุลาคม

    </TD><TD vAlign=center width=227>- พระยอดขุนพล

    </TD></TR><TR vAlign=top><TD width=207>




    ราศีตุลย์
    17 ตุลาคม - 15 พฤศจิกายน

    </TD><TD vAlign=center width=227>- พระกรุกำแพงเพชร

    </TD></TR><TR vAlign=top><TD width=207>




    ราศีพิจิก
    16 พฤศจิกายน - 15 ธันวาคม

    </TD><TD vAlign=center width=227>- พระสีวลี
    - พระแก้วมรกต

    </TD></TR><TR vAlign=top><TD width=207>




    ราศีธนู
    16 ธันวาคม - 13 มกราคม

    </TD><TD vAlign=center width=227>- พระสามพี่น้อง

    </TD></TR><TR vAlign=top><TD width=207>




    ราศีมังกร
    14 มกราคม - 12 กุมภาพันธ์

    </TD><TD vAlign=center width=227>- พระปางอุ้มบาตร
    - หลวงพ่อวัดบ้านแหลม จ.สุทรสงคราม

    </TD></TR><TR vAlign=top><TD width=207>




    ราศีกุมภ์
    13 กุมภาพันธ์ - 13 มีนาคม

    </TD><TD vAlign=center width=227>- พระรูปราชามหากษัตริย์

    </TD></TR><TR vAlign=top><TD width=207>




    ราศีมีน
    14 มีนาคม - 12 เมษายน

    </TD><TD vAlign=center width=227>- พระกริ่ง ~ พระชัยวัฒน์

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  20. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://www.rr10.com/hoi-dayy.html

    <TABLE bgColor=#d1dafa border=1><TBODY><TR vAlign=top><TD vAlign=center width=167 bgColor=#ff0000 height=49>
    วันอาทิตย์
    </TD><TD vAlign=center width=168 bgColor=#ff0000 height=49>- พระปางมารวิชัย
    (เนื้อดิน - เนื้อโลหะ)
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD vAlign=center width=167 bgColor=#ffff00 height=50>
    วันจันทร์
    </TD><TD vAlign=center width=168 bgColor=#ffff00 height=50>- พระยอดขุนพล
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD vAlign=center width=167 bgColor=#ff99cc height=46>
    วันอังคาร
    </TD><TD vAlign=center width=168 bgColor=#ff99cc height=46>- พระผงในตระกูลสมเด็จ
    - พระผงคณาจารย์ทั่วไป
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD vAlign=center width=167 bgColor=#99cc00 height=49>
    วันพุธ (กลางวัน)
    </TD><TD vAlign=center width=168 bgColor=#99cc00 height=49>- พระปางลีลา
    - พระ ๒๕ พุทธศตวรรษ
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD vAlign=center width=167 bgColor=#ccffcc height=48>
    วันพุธ (กลางคืน)
    </TD><TD vAlign=center width=168 bgColor=#ccffcc height=48>- วัตถุมงคลรูปเครื่องราง
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD vAlign=center width=167 bgColor=#ff6600 height=54>
    วันพฤหัสบดี
    </TD><TD vAlign=center width=168 bgColor=#ff6600 height=54>- พระปางเปิดโลก
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD vAlign=center width=167 bgColor=#99ccff height=50>
    วันศุกร์
    </TD><TD vAlign=center width=168 bgColor=#99ccff height=50>- พระปิดตา (พระภควัมปติ)
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD vAlign=center width=167 bgColor=#cc99ff height=48>
    วันเสาร์
    </TD><TD vAlign=center width=168 bgColor=#cc99ff height=48>- พระที่ทำจากว่าน
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     

แชร์หน้านี้

Loading...